You are on page 1of 6

สรุปคำำบรรยำยจำกกำรถอดเทปวิชำกำรเงินธุรกิจ

ครั้งที่ 1 วันที่ 11 มกรำคม 2546


โดย นำยพรเทพ จรัสศรี x-18

Functions of Financial Management


หน้ำที่ของกำรบริหำรกำรเงิน (ข้อสอบ 1 ข้อ)

1.Financing Decision - กำรตัดสินใจด้ำนกำรจัดหำเงินทุน


หมำยถึง กำรจัดสัดส่วนของเงินทุนประเภทก่อหนี้ (Debt) และจำกผู้ถือหุ้น (Equity) ให้เหมำะสม

2. Investment Decision - กำรตัดสินใจด้ำนกำรลงทุน


หมำยถึง กำรตัดสินใจนำำเงินไปลงทุนในสินทรัพย์ประเภทต่ำงๆ

3. Liquidity Management - กำรบริหำรสภำพคล่อง


หมำยถึง กำรจัดสัดส่วนที่เหมำะสมของสินทรัพย์หมุนเวียน (Current Asset) และ หนี้สินหมุนเวียน (Current
Liability) หรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ กำรบริหำรเงินทุนทำำกำรสุทธิ (Net Working Capital Management)

Goal ที่สูงที่สุดของ Firm คือ Maximize Shareholder's Wealth หรือ Maximize Stock Price หรือ
Maximize Value of the Firm ซึ่งทั้ง 3 อย่ำงนี้เหมือนกัน ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้

1. Maximize Shareholder's Wealth คือกำร Maximize Stock Price เพรำะว่ำ Shareholder's Wealth
ขึ้นอยู่กับ Return ในรูปของเงินปันผลและกำำไรจำกกำรขำยหุ้น (Capital Gain)
ซึ่งกำำไรจำกกำรขำยหุ้นจำกได้มำกหรือน้อยขึ้นอยู่กับ Stock Price
(ถ้ำขำยได้รำคำสูงก็จะได้กำำไรจำกกำรขำยหุ้นมำกด้วย) สำำหรับเงินปันผล Firm ที่ไม่จ่ำยเงินปันผล Wealth
ของผู้ถือหุ้นจะเก็บไว้ใน Stock Price (ตรงนี้อำจำรย์กำำลังจะบอกว่ำ เงินปันผลก็คือ Stock Price นั่นเอง
โดยแตกออกมำจ่ำยให้ผู้ถือหุ้นเป็นเงินสด บริษัทที่จ่ำยเงินปันผลจะทำำให้ Stock Price
ลดลงเท่ำกับเงินปันผลที่จ่ำยออกไป ซึ่งสรุปได้ว่ำ กำรจ่ำยเงินปันผลเป็นกำร Split Shareholder's Wealth จำก St
ock Price ไปอยู่ในรูปของเงินสดปันผลเท่ำนั้น) ดังนั้นจึงสรุปว่ำ กำร Maximize Shareholder's Wealth คือกำร
Maximize Stock
Price ก็ได้

2. กำร Maximize Value of the Firm เป็นกำร Maximize Stock Price ด้วยเพรำะว่ำ จำก Value of the
Firm (Vf) ถ้ำเรำเอำ Value of the Debt (Vd) ไปหักออก จะเป็นส่วนแบ่งของผู้ถือหุ้นหรือที่เรียกว่ำ Value of Eq
uity (Ve) และจำก Value of Equity ถ้ำนำำมำหำรด้วยจำำนวนหุ้น นั่นคือ Stock Price เพรำะฉะนั้นกำร Maximi
ze Value of the Firm คือกำร Maximize Stock Price เพรำะว่ำถ้ำกำำหนดให้ Value of Debt คงที่ ยิ่ง Value
of the Firm สูง ก็จะทำำให้ Value of Equity สูงขึ้นด้วย และทำำให้ Stock Price สูงขึ้นตำมไปด้วย
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่ำ กำร Maximize Value of the Firm คือกำร Maximize Stock Price นั่นเอง

(ข้อสอบ 1 ข้อ)

จำก Goal of Firm คือกำร Maximize Shareholder's Wealth / Maximize Value of Firm และ Maximize
Stock Price ซึงกิจกำรจะ Maximize Stock Price ได้ก็จะต้อง Maximize Cash Flow ซึ่งตำม Sense
ของคนส่วนใหญ่มักจะเข้ำใจกันว่ำ กำร Maximize Stock Price คือกำร Maximize Profit ซึ่งเป็นกำรเข้ำใจผิด
ู ต้องคือ ต้อง Maximize Cash Flow เพรำะว่ำ Profit เป็นเพียงตัวเลขทำงบัญชี (Accounting Profit)
ที่ถก
จำกงบกำำไรขำดทุน ซึ่งใช้เกณฑ์คงค้ำงในกำรบันทึกบัญชี ดังนั้นบำงปีที่กิจกำรมี Profit มำก
แต่กิจกำรขำดสภำพคล่องคือไม่มีเงินสดมำใช้จ่ำยหรือชำำระหนี้ เพรำะว่ำปีนั้นขำยสินค้ำได้มำกแต่ไม่สำมำรถเก็บเงินได้
(มีแต่ตัวเลขยอดขำย-จึงมีตัวเลขกำำไรเกิดขึ้น แต่เก็บเงินสดไม่ได้ มีแต่ยอดลูกหนี้กำรค้ำ)
ในขณะที่ค่ำใช้จ่ำยต่ำงๆนั้นต้องจ่ำยเป็นเงินสดทั้งสิ้น ดังนั้นบริษัทจึงควรให้ควำมสำำคัญกับเงินสดหรือ Cash Flow
มำกกว่ำกำำไรหรือ Profit ซึ่งเป็นเพียงกำำไรทำงบัญชีเท่ำนั้น
นอกจำกนั้น วิธก ี ำรทำงบัญชีที่แตกต่ำงกัน เช่นกำรบันทึกต้นทุนแบบ FIFO แบบ LIFO
หรือกำรใช้วธ ิ ีตัดค่ำเสื่อมแต่ละแบบก็จะทำำให้กำำไรของแต่ละวิธกี ำรทำงบัญชีต่ำงกันด้วย

ข้อสังเกต Accounting Profit ของกิจกำรจะมีทิศทำงตรงข้ำมกับ Cash Flow เช่น


ถ้ำกำำไรมำกก็จะเสียภำษีมำกทำำให้เงินไหลออกมำก Cash Flow จะน้อยกว่ำกิจกำรที่มี Accounting Profit
น้อยซึ่งจะเสียภำษีน้อย ทำำให้เงินไหลออกน้อย
Conflict of Interest
ใน Firm มีอยู่ 3 Party คือ
1.Shareholders-ผูถ ้ ือหุ้น
2.Debtholders-เจ้ำหนี้
3.Managers-ผู้บริหำร
(ผู้บริหำร ถือเป็นตัวแทนหรือ Agent ของผู้ถือหุ้น มีหน้ำที่สร้ำง Wealth ให้กับผู้ถือหุ้น)

ทั้ง 3 ฝ่ำยนี้ต่ำงก็มี Goal หรือ Interest ของตนเอง


Goal ของผู้บริหำร ก็คือ เงินเดือน โบนัส และรำยได้ในรูปแบบอื่นๆ ถ้ำ Firm Generate Cash Flow มำได้เท่ำไร
จะต้องจ่ำยให้ผู้บริหำรก่อนแล้วจึงจ่ำยให้เจ้ำหนี้ จำกนั้นเหลือเท่ำไรจึงจะเป็นส่วนของผู้ถือหุ้น
ถ้ำผู้บริหำรตั้งเงินเดือนให้ตัวเองสูงๆ มีรถประจำำตำำแหน่งรำคำแพงๆ หรือใช้จ่ำยฟุ่มเฟือยอื่นๆ ก็จะทำำให้ Wealth
ของผู้ถือหุ้นลดน้อยลงไป ดังนั้นกำร Maximize Wealth ของผู้บริหำร ก็จะเป็นกำร Minimize Wealth
ของผู้ถือหุ้น เรียกว่ำเป็นเป็น Conflict of Interest ระหว่ำงผู้บริหำรกับผู้ถือหุ้น

เพื่อเป็นกำรป้องกันหรือลดปัญหำ Conflict of Interest นี้ จึงเกิดคำำว่ำ "Agency Cost" ขึ้น


ซึ่งคำำนี้มีควำมหมำยว่ำ ต้นทุนที่เกิดขึ้นเพื่อแก้ปัญหำ Conflict of Interest ระหว่ำงผู้บริหำรกับผู้ถือหุ้น

ตัวอย่ำงของ Agency Cost เช่น


1. Monitoring Cost
เป็นค่ำใช้จ่ำยต่ำงๆที่เกิดขึ้นในกำรสร้ำงมำตรกำรติดตำมเฝ้ำดูหรือควบคุมกำรทำำงำนของผู้บริหำร เช่น มีฝ่ำยตรวจสอบ
(Internal Audit) ฝ่ำยกฎหมำย เป็นต้น
2. Incentive Fee เป็นค่ำใช้จ่ำยที่เกิดขึ้นเพื่อจูงใจให้ผู้บริหำรตั้งใจมุ่งมั่นที่จะสร้ำง Wealth ให้กับผู้ถือหุ้น เช่น
มีกำรให้ Stock Options กับผู้บริหำร (คือกำรมอบหุ้นให้ผู้บริหำร เพื่อให้ผู้บริหำรมีส่วนเป็นเจ้ำของด้วย) หรือกำรจ่ำย
Bonus หรือรำยได้จำกผลประกอบกำร ถ้ำ Performance ดี ก็จะได้รำยได้มำก เป็นต้น

ปัจจัยต่ำงๆที่จูงใจให้ผู้บริหำร Maximize Shareholder's Wealth


(Controlling Devices)

1. ผู้ถือหุ้น เป็นผู้ Vote เลือก กรรมกำร


กรรมกำร เป็นผู้เลือกหรือว่ำจ้ำง ผู้บริหำร
ดังนั้น ผูถ
้ ือหุ้นจึงสำมำรถควบคุมผู้บริหำรได้ โดยกระทำำผ่ำนกรรมกำร ถ้ำผู้บริหำรทำำงำนไม่ถก
ู ใจผู้ถือหุ้น
ผู้ถือหุ้นก็สำมำรถบอกกรรมกำรให้เลิกจ้ำงผู้บริหำรก็ได้

2. ให้ Stock Options หรือ Performance Share


คือให้ผู้บริหำรมีส่วนเป็นเจ้ำของ หรือได้ผลตอบแทนที่ขึ้นอยู่กับผลประกอบกำร
ซึ่งจะจูงใจให้ผู้บริหำรหันมำสนใจสร้ำงหรือทำำให้เกิด Maximize Shareholder's Wealth

3. Threat of being taken over (ผลร้ำยจำกกำรถูกซื้อกิจกำร)


ตัวอย่ำง
ถ้ำรำคำหุ้นของบริษัทที่ trade อยู่ในตลำดหลักทรัพย์ คือ 75 บำทต่อหุ้น (รำคำหุ้นในตลำดหลักทรัพย์
เป็นรำคำที่ได้จำกกำรคำำนวณ
ตำม Concept Going Concern หรือ "หลักกำรดำำรงอยู่ของกิจกำร" กล่ำวคือรำคำหุ้นมำจำก Value of the Firm
ซึ่งเป็นผลมำจำกกำร
คำดคะเนควำมสำมำรถในกำร Generate Cash Flow ในอนำคตของบริษัท
แล้วคำำนวณกลับมำเป็นมูลค่ำปัจจุบันหรือ Present Value)

ในขณะเดียวกัน ถ้ำบริษัทเลิกกิจกำรในวันนี้ มีกำรคำำนวณรำคำหุ้นใน Liquidation Concept เช่นใช้วิธี Net Asset


Value Per Share (NPV per share) โดยกำรประเมินสินทรัพย์ในด้ำนซ้ำยของงบดุล ในรำคำตลำด ได้เท่ำไร
นำำมำหักด้วยมูลค่ำของเจ้ำหนี้ (Value of Debt) ที่เหลือเป็นส่วนแบ่งของผู้ถือหุ้นที่จะได้คืนเมื่อเลิกกิจกำร
จำกนั้นนำำมำหำรด้วนจำำนวนหุ้น ก็จะได้เป็น Stock Price ใน Liquidation Concept สมมุติว่ำคำำนวนได้เท่ำกับ
100 บำทต่อหุ้น
จำกปรำกฏกำรณ์ข้ำงต้นนี้ (รำคำหุ้นในตลำดตำ่ำกว่ำ รำคำหุ้นใน Liquidation Concept)
ก็จะมีกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งคอยจ้องจะเข้ำมำ Take Over กิจกำร โดยเข้ำมำซื้อหุ้นให้เกินสัดส่วน 50 %
จำกนั้นก็จะเรียกประชุมผู้ถือหุ้น Vote
ให้เลิกกิจกำรแล้วเอำสินทรัพย์มำขำยทอดตลำดแล้วเอำเงินมำจ่ำยให้เจ้ำหนี้แล้วที่เหลือมำแบ่งกัน ซึ่งก็ยังกำำไร
เนื่องจำกรำคำหุ้น ใน Liquidation Concept สูงกว่ำรำคำตลำดที่พวกเขำซื้อมำ ผลก็คือ ผู้บริหำรจะตกงำน
ทั้งนี้เนื่องจำกว่ำผู้บริหำรทำำงำนไม่มีประสิทธิภำพ ปล่อยให้รำคำหุ้นตกตำ่ำลงไปจนตำ่ำกว่ำรำคำหุ้นใน Liquidation
จนทำำให้ถูก Take Over และล้มเลิกกิจกำร ซึ่งถือว่ำเป็นผลร้ำยอันหนึ่งของผู้บริหำร หรือ Threat of being taken
over

4. Competition in labor market


ตลำดว่ำจ้ำงผู้บริหำร เป็นตลำดที่ค่อนข้ำงแข่งขันสูง ถ้ำผู้บริหำรคนใดบริหำรงำนไม่ดี
ก็จะรู้กันทั่วไปจนไม่มีกิจกำรใดอยำกจะจ้ำงผู้บริหำรคนนี้มำทำำงำน

สรุปคำำบรรยำยจำกกำรถอดเทปวิชำกำรเงินธุรกิจ
ครั้งที่ 2 วันที่ 18 มกรำคม 2546

Liquidation Stock Price และ Going Concern Stock Price

ตัวอย่ำง
บริษัทมีหนี้สิน 400 ล้ำน มีส่วนของผู้ถือหุ้น 100 ล้ำน
ขอให้เพื่อนๆทรำบว่ำ ต้นทุนของเงินประเภทก่อหนี้ เรียกว่ำ Cost of Debt ใช้ชื่อย่อว่ำ Kd ในกรณีนี้สมมติว่ำเท่ำกับ
10 % และต้นทุนของเงินที่ได้จำกผู้ถือหุ้น เรียกว่ำ Cost of Equity ใช้ชื่อย่อว่ำ Ke ในกรณีนี้สมมุติว่ำเท่ำกับ 20 %
ตัวเลข 20 % นี้ เป็นควำมต้องกำรขั้นตำ่ำสุดของผู้ถือหุ้น ถ้ำผู้บริหำรบริษัททำำได้ตำ่ำกว่ำนี้
นักลงทุนจะขำยหุ้นแล้วไปลงทุนที่บริษัทอื่นที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่ำ

ี ำรคำำนวณต้นทุนถัวเฉลี่ยของเงินทุนของบริษัท (WACC-Weighted Average Cost of Capital)


วิธก

สูตร WACC = [Debt / (Debt + Equity) * Kd ] + [Equity / (Debt + Equity) * Ke ]


ในกรณีตัวอย่ำงนี้ WACC = 400/500 * 0.10 + 100/500 * 0.20 ซึ่งเท่ำกับ 12 %
เป็นต้นทุนถัวเฉลี่ยของเงินทุนของบริษัท

ตอนนี้เรำจะมำดูกันว่ำ ถ้ำผู้บริหำรบริษัทบริหำรงำน(หรือ Generate Cash Flow)


ได้ในกรณีต่ำงๆต่อไปนี้จะเกิดอะไรขึ้นกับ Stock Price
1. กรณี Generate Cash Flow ได้ เท่ำกับ ควำมต้องกำรของเจ้ำหนี้และผู้ถือหุ้นพอดี
2. กรณี Generate Cash Flow ได้น้อยกว่ำควำมต้องกำรของเจ้ำหนี้และผู้ถือหุ้น
3. กรณี Generate Cash Flow ได้มำกกว่ำควำมต้องกำรของผู้ถือหุ้น (สำำหรับเจ้ำหนี้
เรำจะไม่ให้ดอกเบี้ยมำกกว่ำที่เจ้ำหนี้กำำหนด)

คำำว่ำ Stock Price ที่กล่ำวถึงนี้ หมำยถึง Going Concern Stock Price หมำยควำมว่ำ
เป็นรำคำหุ้นที่ซื้อขำยกันในตลำดหลักทรัพย์ ซึ่งได้มำจำกกำรคำำนวณดังนี้
เอำ Value of the Firm ใน Going Concern (ย่อว่ำ Vf- ซึ่งวิธีกำรคำำนวณจะอธิบำยด้ำนล่ำง) หักด้วย Value of
Debt (ย่อว่ำ Vd) ซึ่งจะได้เท่ำกับ Value of Equity (ย่อว่ำ Ve) จำกนั้นเอำจำำนวนหุ้นไปหำรจะได้รำคำหุ้น Stock
Price ใน Concept Going Concern

ส่วนคำำว่ำ Liquidation Stock Price หมำยควำมว่ำรำคำหุ้นในกรณีที่บริษัทเลิกกิจกำรวันนี้


ผู้ถือหุ้นจะได้รับเงินคืนหุ้นละเท่ำไร โดยคำำนวณจำก กำรเอำสินทรัพย์ทั้งหมดไปขำยทอดตลำด
ได้เงินมำเท่ำไรต้องเอำไปชำำระหนี้ให้เจ้ำหนี้ก่อน แล้วจึงนำำมำแบ่งให้ผู้ถือหุ้น
ี ำรคำำนวณหำ Value of the Firm ใน Going Concern
วิธก

ก่อนอื่นเพื่อนๆต้องเข้ำใจก่อนว่ำ Value of Firm ใน Concept Going Concern ก็คือ "มูลค่ำปัจจุบัน (Present


Value) ของ Cash Flow ที่ Firm ควรจะ Generate ได้ในอนำคต"

จำกคำำพูดข้ำงบนนี้เรำต้องทรำบสูตรง่ำยๆที่จะหำมูลค่ำปัจจุบันกรณีเงินแต่ละงวดเท่ำๆกัน(ที่พวกเรำเรียนจำกอำจำรย์ร
วิวัลย์เมื่อเทอมที่แล้ว) สูตรดังกล่ำวคือ = จำำนวนเงินงวดที่เข้ำมำเท่ำๆกันทุกงวด หำรด้วย อัตรำผลตอบแทน

็ ือ Cash Flow ที่ Generate ได้ในแต่ละปีนั่นเอง


จำำนวนเงินงวดที่เข้ำมำเท่ำๆกันทุกงวดในที่นี้กค
ส่วนอัตรำผลตอบแทน ก็คือ WACC นั่นเอง

ดังนั้น กรณีนี้ ถ้ำ Cash Flow ที่ Generate ได้เท่ำกับปีละ 60 ล้ำน และ WACC = 12% จะคำำนวณ Value of
the Firm (ใน Going Concern) ได้เท่ำกับ 60/0.12 = 500 ล้ำน

ทั้งหมดที่กล่ำวมำนี้เป็นควำมรู้พื้นฐำนสำำหรับกำรเรียน Finance ในครั้งต่อๆไปครับ

จำกตอนที่แล้วพูดถึงผลกระทบต่อ Stock Price ใน 3 กรณี ซึ่งจะอธิบำยได้ดังนี้

กรณีที่ 1 ถ้ำ Generate Cash Flow ได้ เท่ำกับ ควำมต้องกำรของเจ้ำหนี้และผู้ถือหุ้นพอดี

ปีที่1 ปีที่2 ปีที่ n


Interest (Kd=10%) 40 40 40
Dividend(Ke=20%) 20 20 20
จำำนวน Cash Flow ที่ควรจะ Generate ได้แต่ละปี 60 60 60
ถ้ำ Firm ทำำได้เท่ำกับ 60 ล้ำนต่อปีพอดี
ก็จะคำำนวณ Value of the Firm = 60/0.12 = 500 ล้ำน
สำมำรถนำำมำคำำนวณ Going Concern Stock Price ได้ดังนี้ (500-400)/10 = หุ้นละ 10
400 คือ Value of Debt ; 10 ที่นำำไปหำรคือจำำนวนหุ้นทั้งหมด

จำกนั้นเรำมำดู Liquidation Stock Price (ใครยังไม่ทรำบว่ำคืออะไรให้ย้อนกลับไปอ่ำนตอนต้นๆข้ำงบนนี้)


พบว่ำ Liquidation Stock Price ก็เท่ำกับ 10 บำทเหมือนกัน (คำำนวนได้จำกเอำ Total Asset ตั้ง หักด้วย Debt
เหลือเท่ำไรเอำไปให้ผู้ถือหุ้นแบ่งกัน ปรำกฎว่ำแบ่งได้หุ้นละ 10 บำทเท่ำกับรำคำหุ้นที่ซื้อขำยกันในตลำด (Going
Concern Stock Price พอดี)
นั่นหมำยควำมว่ำผู้บริหำรยังไม่ได้ Maximized Shareholders' Wealth เพียงแต่ทรงๆเอำไว้ไม่โดยไม่ทำำลำย
Wealth ของผู้ถือหุ้น เพรำะว่ำบริหำรงำนโดยทำำให้รำคำหุ้นในตลำด(Going Concern Stock Price
)เท่ำกับส่วนแบ่งของผู้ถือหุ้นเมื่อเลิกกิจกำร( Liquidation Stock Price)พอดี

กรณีที่ 2 ถ้ำผู้บริหำร Generate Cash Flow ได้น้อยกว่ำควำมต้องกำรของเจ้ำหนี้และผู้ถือหุ้น

้ ือหุ้นต้องกำร 20% แต่ Firm ทำำได้แค่ 15%


เช่น ผูถ

ดังนั้นจำกข้อมูลเดิม (ดูในกรณีที่ 1) Firm นี้สำมำรถ Generate Cash ได้เพียงปีละ 55 ล้ำนเท่ำนั้น


เมื่อนำำมำคำำนวณหำ Vf ใน Going Concern
จะได้เท่ำกับ 55/0.12 เท่ำกับ 458.33 ล้ำน เมื่อนำำมำคำำนวณหำ Going Concern Stock Price จะได้เท่ำกับ
(458.33-400)/จำำนวนหุ้นคือ 10 ล้ำนหุ้น จะได้รำคำหุ้นเท่ำกับ 5.83 บำท แต่ในขณะเดียวกัน Stock Price ใน Li
quidation เท่ำกับ 10 บำทเหมือนเดิม จะเห็นว่ำ ในกรณีที่ 2 นี้ Stock Price ใน Going Concern จะตำ่ำกว่ำ Sto
ck Price ใน Liquidation นี่คือคำำตอบว่ำ "หุ้นในตลำดหลักทรัพย์ ถ้ำบริษัทไหน รำคำที่ trade อยู่ใน
ตลำดหลักทรัพย์ตำ่ำกว่ำรำคำ Liquidation นั่นแสดงว่ำ Time Interest of Return ตำ่ำกว่ำที่ผู้ถือหุ้นต้องกำร"

*** วิธท
ี ี่จะ Maximized Shareholders' Wealth คือ ทำำให้ Time Interest of Return
สูงกว่ำที่ผู้ถือหุ้นต้องกำรนั่นเอง ****
หรือมองในอีกมุมหนึ่ง

บริษัทนี้ เอำเงินเจ้ำหนี้มำ 400 ล้ำน เอำเงินจำกผู้ถือหุ้นมำ 100 ล้ำน มำลงทุนในสินทรัพย์จำำนวน 500 ล้ำน
ต้นทุนถัวเฉลี่ยของเงินทุน (WACC) เท่ำกับ 12%
สมมุติว่ำบริษัทนี้ Generate Cash Flow ปีละ 60 ล้ำน บริษัทนี้ใช้เงินลงทุน 500 ล้ำน
เพรำะฉะนั้นคิดเป็นผลตอบแทนปีละ 60/500*100 = 12% เท่ำกับต้นทุนของเงินทุนพอดี จึงทำำให้ Stock Price
ใน Going Concern เท่ำกับ Stock Price ใน Liquidation

แต่ถ้ำเปลี่ยนตัวเลขว่ำ บริษัทนี้ Generate Cash Flow ได้ปีละ 55 ล้ำน คือผลตอบแทนจำกกำรลงทุนเท่ำกับ


55/500*100 = 11% คือได้ไม่ถึงต้นทุนของเงินทุนคือ 12 % จึงทำำให้รำคำ Stock ที่ซื้อขำยกัน ตำ่ำกว่ำรำคำ Stoc
k เมื่อเลิกกิจกำร

แต่ถ้ำเปลี่ยนตัวเลขเป็น Generate Cash Flow ได้ 70 ล้ำน


คือผลตอบแทนจำกกำรลงทุนจะมำกกว่ำต้นทุนของเงินลงทุน ดังนั้นรำคำ Stock จึงสูงกว่ำรำคำ Liquidation
**นี่คือวิธก
ี ำร Maximized Stock Price **

สรุปได้ว่ำ ** เวลำเรำทำำกำรลงทุนใดๆ Return ของ Project จะต้องสูงกว่ำ Cost of Capital เสมอ **

ข้อควำมต่อไปนี้ เป็นกำรสรุป Keyword สำำคัญๆ ถ้ำเพื่อนๆ x19 อ่ำนตอนเรียนชั่วโมงแรกๆ ก็อำจจะยังไม่เข้ำใจ


เช่นคำำว่ำ “แคปเอ็ม” (CAPM) “ค่ำควำมเสี่ยง” “ค่ำเบต้ำ” “MM Theory” “Free CashFlow” และอื่นๆ
แต่ถ้ำเรียนไปเรื่อยๆ จนถึงชั่วโมงสุดท้ำยเพื่อนๆ จะต้องรู้จักคำำเหล่ำนี้เป็นอย่ำงดีทุกคำำ—ขอให้โชค A …จำกพี่พรเทพ
x-18

WACC คืออะไร

WACC หรือ Weighted Average Cost of Capital ก็คือ ต้นทุนทำงกำรเงินเฉลี่ยของกิจกำรต่ำง ๆ


ซึ่งประกอบไปด้วย ต้นทุนของเงินกู้ยืม (Cost of debt) และต้นทุนส่วนของผู้ถือหุ้น (Cost of equity)

หน้ำที่หลังของผู้บริหำรกำรเงินก็คือ ต้องพยำยำมบริหำร WACC ให้มีค่ำตำ่ำ ที่สุด ซึ่งโดยทั่วไป ต้นทุนของเงินกู้ยืม


จะมีค่ำตำ่ำกว่ำต้นทุนของส่วนของ ผูถ
้ ือหุ้นค่อนข้ำงมำก ดังนั้น
บริษัทใดก็ตำมมีโครงสร้ำงทำงกำรเงินที่สำมำรถกู้ยืมเงินได้ในระดับที่เหมำะสมกับฐำนะกำรเงินย่อมจะทำำให้ WACC
มีค่ำตำ่ำกว่ำบริษัทที่ใช้ equity ทั้งหมด

Cost of Equity

Cost of Equity หรือ Ke นั้น ในทำงทฤษฎีสำมำรถคำำนวณได้จำก CAPM หรือ Capital Asset Pricing Model

CAPM เป็นกำรคำำนวณผลตอบแทนที่ผู้ถือหุ้นคำดหวัง จำกกำรพยำยำมหำค่ำควำมเสี่ยง (Risk premium) โดยใช้ค่ำ


เบต้ำ เป็นตัววัด

ค่ำเบต้ำ มำจำกกำรคำำนวณพฤติกรรมของรำคำหุ้นดังกล่ำวในอดีตระยะเวลำนำน ๆ
ว่ำมีอัตรำกำรเปลี่ยนแปลงของรำคำหุ้นกี่ % เมื่อเทียบจำกอัตรำกำรเปลี่ยนแปลงของตลำดรวม 1%

Ke ตำม CAPM จะ =Rf +(Rm - Rf) x Beta

เนื่องจำกค่ำเบต้ำของหุ้นแต่ละตัวมีค่ำไม่เท่ำกัน ดังนั้น ผลตอบแทนที่ผู้ถือหุ้นคำดหวังในหุ้นแต่ละตัวจึงไม่เท่ำกันด้วย

ปัจจัยที่มีผลกระทบกับค่ำเบต้ำ
ก็คือปัจจัยที่จะส่งผลให้รำคำหุ้นมีกำรเปลี่ยนแปลงไปในทำงที่ดก
ี ว่ำหรือแย่กว่ำตลำดนั่นเอง โดยทั่วไปก็มักจะได้แก่
1. ขนำดของบริษัท
2. ควำมผันผวนของรำยได้ของธุรกิจ
3. อัตรำกำรกู้ยืมของบริษัท
BUSINESS VALUATION

กล่ำวโดยสรุป ปัจจัยหลักที่มีผลกระทบต่อมูลค่ำหุ้น จะประกอบไปด้วย ปัจจัยหลัก 3 กลุ่มด้วยกันคือ


1. ควำมสำมำรถในกำรทำำกำำไร (Profitability) หมำยถึงอัตรำส่วนกำำไรต่อยอดขำย (Net profit margin)
2. กำรบริหำรสินทรัพย์ให้มีประสิทธิภำพ ( Asset management ) หมำยถึงอัตรำส่วนยอดขำยต่อสินทรัพย์รวม
(Asset Turnover)
3. กำรบริหำรต้นทุนทำงกำรเงิน (Cost of capital) หมำยถึงสัดส่วนหนี้สินต่อทุน (Debt to Equity)

สำำหรับในบทต่อๆไป ผมเขียนเป็นชีทไว้ครบทุกชั่วโมงที่อำจำรย์ ดร.นันทพล พงษ์ไพบูลย์ สอน


รวมทั้งวิธใี ช้เครื่องคิดเลข CASIO รุน
่ FC-100 ซึ่งใช้ตรวจคำำตอบกรณีคำำนวณหำ IRR,PV,FV

เพื่อนๆ x-19 สำมำรถขอรับชีทเหล่ำนี้ได้ที่ นำยตรี (ฐิติพัฒน์)

You might also like