You are on page 1of 26

ทีม่ าและจุดจบของรัฐธรรมนูญสยาม-ไทย

2475-2550
เจริญพงศ์ พรหมศร
คลินิกวิจัย คณะวิทยาการจัดการ

24 กรกฎาคม 2552
รัฐธรรมนูญของราชอาณาจักรสยาม/ไทย
ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน 2475 ที่
“พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว”ประกาศใ
ช้เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ จนกระทั่งถึงวันศุกร์ที่ 24
สิงหาคม 2550 ที่ “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย” ได้ถูกประกาศใช้
ประเทศสยาม/ไทย มีรัฐธรรมนูญใช้ประกาศใช้แล้วทั้งสิ้น

18 ฉบับ
รายนามรัฐธรรมนูญ
 1.พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475
 2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475
 3.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
 4.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490
 5.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492
 6.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495
 7.ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502
 8.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511
 9.ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515
 10.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517
 11.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519
 12.ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520
 13.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521
 14.ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534
 15.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
 16.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
 17.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549
 18.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
1.พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินส
ยามชั่วคราว พ.ศ. 2475
 ที่มา
การปฏิวัตเิ พื่อเปลีย่ นแปลงการปกครองของคณะราษฏรในวัน 24 มิถนุ ายน 2475
ประกาศใช้เมือ่ 27 มิถุนายน 2475
 จุดจบ
ยกเลิกเนือ่ งจากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475
เมื่อ 10 ธันวาคม 2475
 หมายเหตุ
ระยะเวลาบังคับใช้ 5 เดือน 13 วัน
2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475
 ที่มา
การตัง้ คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจำานวน 7 คน
เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวรสำาหรับใช้เป็นกติการในการปกครองประเทศ
ประกาศใช้เมือ่ 10 ธันวาคม 2475 โดยการพระราชทานรัฐธรรมนูญ
 จุดจบ
ยกเลิกเมือ่ 9 พฤษภาคม 2489 เนือ่ งจากการปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับสภาพการเมือง
 หมายเหตุ
เปลีย่ นชือ่ เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เมื่อ 3 ตุลาคม 2482 (?)
รวมเวลาบังคับใช้ 13 ปี 5 เดือน
3.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489
 ที่มา
ภายหลังจากการพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 โดยรัฐบาลจอมพล ป.
และการชนะสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเสรีไทย รัฐบาลภายใต้การนำาของนายปรีดี
พนมยงค์ ได้ประกาศรัฐธรรมนูญใหม่
เพื่อเข้ากับสภาพแวดล้อมทางการเมืองของประเทศ เมื่อ 10 พฤษภาคม 2489
 จุดจบ
ถูกฉีกทิ้งโดยคณะรัฐประหาร นำาโดย พลโท ผิน ชุณหะวัณ เมื่อ 8 พฤศจิกายน 2490
 หมายเหตุ
รวมระยะเวลาประกาศใช้ 1 ปี 5 เดือน 28 วัน
4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2490

 ที่มา
คณะรัฐประหารได้นำารัฐธรรมนูญที่เตรียมไว้มาประกาศใช้หลังยึดอำานาจเมือ่ วันที่
8 พฤศจิกายน 2490
 จุดจบ
ยกเลิกเนือ่ งจากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร เมื่อ 23 มีนาคม 2492
 หมายเหตุ
พันเอก กาจ กาจสงคราม ได้เตรียมร่างรัฐธรรมนูญที่บา้ น และแอบไว้ใต้ตุ่มใส่นำ้า
จึงเรียกรัฐธรรมนูญฉบับนี้ว่า “รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตมุ่ ”
รวมระยะเวลาบังคับใช้ 1 ปี 5 เดือน 28 วัน
5.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492
 ที่มา
ภายหลังการใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราว จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร เมือ่ 23 มีนาคม 2492
 จุดจบ
จอมพล ป. มอบให้ พลเอกผิน ชุณหะวัน ผูบ้ ัญชาการทหารบก ทำาการรัฐประหาร
และประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ
ด้วยเหตุผลว่าไม่เหมาะสมกับการบริหารประเทศ เมื่อ 29 พฤศจิกายน 2494
โดยการประกาศวิทยุกระจายเสียง
 หมายเหตุ
เป็นครั้งแรกของการรัฐประหารตัวเอง
6.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495
 ที่มา
ประกาศใช้ในวันที่ 8 มีนาคม 2495 ภายหลังการรัฐประหารตนเองของจอมพล ป.
พิบูลสงคราม เกือบ 5 เดือน
 จุดจบ
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
ผูบ้ ัญชาการทหารสูงสุดและผูบ้ ัญชาการทหารบกทำาการรัฐประหารจอมพล ป.
พิบูลสงคราม เนือ่ งจากประชาชนไม่ยอมรับการเลือกตั้งทีส่ กปรก เมื่อ 20 ตุลาคม
2501
 หมายเหตุ
เป็นครั้งแรกที่ผนู้ ำารัฐประหารใช้กิจกรรมทางการเมืองภาคประชาชนเป็นข้อสนับสนุน
7.ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2502
 ที่มา
ประกาศใช้เมื่อ 20 มกราคม 2502 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว
 จุดจบ
ยกเลิกเมือ่ รัฐธรรมนูญฉบับถาวรประกาศใช้เมือ่ 20 มิถุนายน 2511
 หมายเหตุ
เป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวที่บังคับใช้ยาวนานถึง 9 ปี 4 เดือน 20 วัน
8.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511
 ที่มา
ประกาศใช้แทนรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว เมื่อ 20 มิถุนายน 2511
 จุดจบ
รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร รัฐประหารตัวเอง เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2514
 หมายเหตุ
รวมระยะเวลาบังคับใช้ 3 ปี 4 เดือน 27 วัน (จากที่ร่างมากว่า 9 ปี)
9.ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2515
 ที่มา
หลังจากการปกครองด้วยกฎอัยการศึกกว่า 1 ปี จึงมีรัฐธรรมนูญชั่วคราวออกใช้
เมื่อ 15 ธันวาคม 2515
 จุดจบ
ยกเลิกเมือ่ มีรัฐธรรมนูญฉบับถาวร 7 ตุลาคม 2517
 หมายเหตุ
รวมระยะเวลาบังคับใช้ 1 ปี 9 เดือน 22 วัน
10.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517
 ที่มา
ประกาศใช้แทนรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวเมื่อ 7 ตุลาคม 2517
 จุดจบ
ถูก “ฉีกทิ้ง” เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 โดยการรัฐประหารของ
“คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน” ซึ่งมี พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่
ผูบ้ ัญชาการทหารสูงสุดและผูบ้ ัญชาการทหารเรือ เป็นหัวหน้า
 หมายเหตุ
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เป็นอีกปัจจัยกดดันให้เกิดรัฐธรรมนูญถาวรฉบับนี้
รวมระยะเวลาบังคับใช้ 2 ปี
11.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2519
 ที่มา
คณะรัฐประหารชุดพลเรือเอก สงัด ชลออยู่ ได้บงั คับใช้รัฐธรรมนูญ เมือ่ 20 ตุลาคม
2519 เป็นฉบับถาวร
 จุดจบ
คณะรัฐประหารชุดเดิมได้ยึดอำานาจและยกเลิกรัฐธรรมนูญอีกครั้ง เมื่อ
20 ตุลาคม 2520
 หมายเหตุ
นายกรัฐมนตรีขณะทำารัฐประหารคือ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร ผูน้ ำารัฐบาลหอย
รวมระยะเวลาบังคับใช้ 1 ปี
12.ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2520
 ที่มา
คณะรัฐประหารได้ประกาศใช้เมื่อ 9 พฤศจิกายน 2520
 จุดจบ
ยกเลิกด้วยการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร เมื่อ 22 ธันวาคม 2521
 หมายเหตุ
รวมระยะเวลาบังคับใช้ 1 ปี 13 วัน
13.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2521
 ที่มา
ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2521 โดยข้อกำาหนดรัฐธรรมนูญฉบับชัว่ คราว
พ.ศ. 2520
 จุดจบ
ยกเลิกโดยคณะรัฐประหาร “สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ” (รสช.) เมื่อ
23 กุมภาพันธ์ 2534
 หมายเหตุ
รวมระยะเวลาบังคับใช้ 12 ปี 2 เดือน 1 วัน
14.ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534
 ที่มา
ประกาศใช้เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2534 ภายหลังรัฐประหาร เมือ่ 23 กุมภาพันธ์ 2534
(หนึง่ สัปดาห์ภายใต้กฎอัยการศึกและประกาศคณะปฏิวตั )ิ
 จุดจบ
ยกเลิกเมือ่ ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร เมื่อ 9 ธันวาคม 2534
 หมายเหตุ
รวมระยะเวลาบังคับใช้ 9 เดือน 8 วัน
15.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534
 ที่มา
ประกาศบังคับใช้เมื่อ 9 ธันวาคม 2534 แทนรัฐธรรมนูญฉบับชัว่ คราว
 จุดจบ
ภายหลังจากเสียงเรียกร้องจากภาคประชาชนให้มีการปฏิรูปการเมือง
และการร่างรัฐธรรมนูญเพื่อกำาหนดกติกาการเมืองใหม่
นำาไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่ประกาศใช้เมือ่ 11 ตุลาคม 2540
 หมายเหตุ
ภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ในปี 2535
ได้มีปฏิรูปการเมืองและเป็นที่มาของการตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.)
และนำาไปสู่การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
รวมระยะเวลาบังคับใช้ 5 ปี 10 เดือน 2 วัน
16.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
 ที่มา
สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญมาจากการเลือกตัง้ เป็นจำานวน 99 คน โดย 76
คนเป็นตัวแทนของแต่ละจังหวัด และอีก 23
คนมาจากผูเ้ ชีย่ วชาญหรือผูม้ ปี ระสบการณ์
ร่างรัฐธรรมนูญและเปิดลงคะแนนเสียงจากประชาชนเพือ่ รับหรือไม่รับรัฐธรรมนูญ
ดังกล่าว และประกาศบังคับใช้เมือ่ 11 ตุลาคม 2540
 จุดจบ
คปค ทำาการรัฐประหาร และยกเลิกเมื่อ 19 กันยายน 2549
 หมายเหตุ
ถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
เนื่องจากมีการเลือกตั้งผู้ร่างรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรก
และเปิดโอกาสให้ประชาชนมีโอกาสเลือกที่จะรับหรือไม่รับรัฐธรรมนูญ
17.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549
 ที่มา
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ได้ทำาการรัฐประหาร
และประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นการชัว่ คราว เมื่อ 1 ตุลาคม 2549 และ
คปค. ได้เปลีย่ นรูปเป็น คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติในวันนัน้ เอง
 จุดจบ
ยกเลิกเมือ่ ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร เมื่อ 24 สิงหาคม 2550
 หมายเหตุ
รวมระยะเวลาบังคับใช้ 10 เดือน 23 วัน
18.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
 ที่มา
 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช)
เป็นผูจ้ ัดการสรรหาสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ โดยแต่งตั้งสมัชชาแห่งชาติ 2000
คน แล้วให้สมาชิกสมัชชาแห่งชาติเลือกผูม้ ีสิทธิเป็น สสร. 200, และ คมช. กรอง
สสร. 100 แล้วให้ สสร. กรองกันเองเหลือ 25 คน และ คมช. แต่งตั้งโดยตรงเพิ่มอีก
10 คน รวม สสร. ทั้งสิ้น 35 คน แล้วทำาการยกร่างรัฐธรรมนูญ
หลังจากนัน้ ได้แจกร่างดังกล่าวให้ประชาชนทั่วประเทศได้พจิ าณาเพื่อลงประชามติเ
พือ่ รับหรือไม่รับรัฐธรรมนูญดังกล่าว และได้ประกาศใช้เมื่อ 24 สิงหาคม 2550
 จุดจบ
 ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน
18.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
 หมายเหตุ
 ผลการลงประชามติ รับร้อยละ
57.81 ไม่รับร้อยละ 42.19
75 ปีของการใช้รัฐธรรมนูญ
 มีที่มาจากความต้องการของประชาชน

2540 1
 ปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสถานการณ์บ้านเมืองหรือ

ใช้แทนฉบับชัว่ คราว 9
2475 (2), 2489, 2492, 2495, 2511, 2517, 2521, 2534(2), 2550
 เขียนโดยผู้ปฏิวัติ/ยึดอำานาจ 8
2475 (1), 2490, 2502, 2515, 2519,2520, 2534(1), 2549
รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย ?
 ที่มาของฝ่ายนิติบัญญัติ / สภาผูแ้ ทนราษฏร และ วุฒสิ ภา
 เลือกตั้งทั้งหมด 2
 ฉบับปี 2489, และ 2540

 สรรหา หรือ สรรหาร่วมกับเลือกตั้ง


แต่มีอำานาจเทียบเท่าหรือเหนือกว่า
 ฉบับปี 2475(2), 2490, 2492, 2475 แก้ไขเพิ่มเติม 2495, 2511, 2517,

2521, 2534(2) และ2550


9
 แต่งตั้ง
 ฉบับปี 2475(1), 2502, 2515, 2519, 2520, 2534(1) และ 2549
7
ที่มา
 http://www.thaipoliticsgovernment.org
 http://www.thaiswatch.com/timeline/index.html
 เจริญพงศ์ พรหมศร. เพลงชาติไทยกับการสร้างมโนทัศน์ความเป็นไทย.
บทความเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต เข้าถึงได้ที่ www.scribd.com/doc/12864092
 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. 2538 ประวัตกิ ารเมืองไทย. สำานักพิมพ์ดอกหญ้า. กรุงเทพ
 ลิขิต ธีรเวคิน. 2541. การเมืองการปกครองของไทย.
สำานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพ
ขอขอบคุณ
คำาถามและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เรียน-รู้
จด-จำา
ทำา-เข้าใจอย่างถ่องแท้

You might also like