You are on page 1of 30

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

FIRST AID
การปฐมพยาบาล
• การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ได้รับบาดเจ็บก่อนที่จะนำาส่งโรงพยาบาล
เช่น ในกรณีถกู ของมีคมบาดผู้ป่วยมักจะมีโลหิตไหล
ควรปฐมพยาบาลด้วยการห้ามเลือดก่อน
หลังจากนั้นจึงทำาความสะอาดบาดแผลและทำาแผล ถ้าเป็นแผลใหญ่ ลึก
โลหิตไหลออกมามาก ควรนำาส่งสถานีอนามัยหรือโรงพยาบาลทันที
วัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาล

• เพื่อช่วยชีวิต
• ลดความรุนแรง ภาวะไม่พึงประสงค์ เพื่อป้องกันความพิการ
• บรรเทาความเจ็บปวดทรมานและช่วยให้กลับสู่สภาพเดิม
การปฐมพยาบาล
• การปฐมพยาบาลที่ดี ผู้ช่วยเหลือควรให้การปฐมพยาบาลอย่าง ถูกต้อง
รวดเร็ว นุ่มนวลและต้องคำานึงถึงสภาพจิตใจของผู้บาดเจ็บ
ควรได้รับการปลอบประโลมและให้กำาลังใจเพื่อสร้างความมั่นใจว่าจะไ
ด้รับการ ช่วยเหลือและปลอดภัย
การปฐมพยาบาล
• การปฐมพยาบาลเป็นเพียงการช่วยเหลือเบื้องต้น
• การปฐมพยาบาล ทุกคนสามารถเรียนรู้ที่จะทำาได้
• การปฐมพยาบาล สามารถเกิดความผิดพลาดได้
• หากปฐมพยาบาลไม่ถูกวิธกี ็อาจเกิดอันตรายได้เหมือนกัน
อุปกรณ์ปฐมพยาบาล

• สำาลี
• ผ้ากอซแผ่นชนิดฆ่าเชื้อ ทำาความสะอาด (แอลกอฮอล์)
• คีมสำาหรับบ่งเสี้ยน
• ผ้าสามเหลี่ยม
• ผ้ากอซพันแผลขนาดต่างๆ
• กรรไกรขนาดกลาง
• เข็มกลัดซ่อนปลาย
• แก้วล้างตา
• พลาสเตอร์ม้วน ชิ้น
• ผ้ายืดพันแก้เคล็ดขัดยอก ( Elsatic bandage)
• ผ้ากอซชุลพาราฟินสำาหรับแผลไฟไหม้
การปฏิบัติสำาหรับกรณีฉุกเฉิน

• ตั้งสติให้ได้อย่าตกใจ
• ขอความช่วยเหลือ
• ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
• ช่วยหายใจ ให้อากาศเข้าปอดสะดวก คลายเสื้อผ้าให้หลวม
• ห้ามเลือด
• นอนนิ่งๆ ห่มผ้า คอยสังเกตอาการ จับชีพจรเป็นระยะ
• ถ้ามีกระดูกหักอย่าเคลื่อนย้าย
• ห้ามรับประทานสิง่ ใด (ถ้าไฟลวกรุนแรงให้จิบนำ้าคำาเล็กๆ)
ยาที่ควรมีไว้ในตู้ยาประจำาบ้าน

• ยาแก้ปวดลดไข้ : ยาเม็ดพาราเซตามอล 500 มก.


• ยาแก้แพ้,ลดนำ้ามูก : ยาเม็ดคลอเฟนิรามีน 4 มก. ,2 มก.
• ยาแก้ปวดท้องท้องอืด ท้องเฟ้อ : ยาธาตุนำ้าแดง ,ยาธาตุนำ้าขาว ,
โซดามิ้นท์ , ขมิ้นชันแคปซูล
• ยาโรคกระเพาะ : ยาเม็ดอลูมินาเมกนีเซีย , ไตรซิลิเคท
• ยาแก้ท้องเสีย : ยานำ้าเคาลินเปคติน ผงนำ้าตาลเกลือแร่
• ยาใส่แผล : ทิงเจอร์ใส่แผลสด , ไอโปดีน
• ยาล้างตา : โบริคโซลูชนั่
ยาที่ควรมีไว้ในตู้ยาประจำาบ้าน

• ยาล้างแผล เช็ดแผล : ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ , แอลกอฮอล์เช็ดแผล


• ยาทาแก้แพ้แก้คัน : คาลาไมน์
• ยาทานวด : ขี้ผงึ้ ปวดบวม , ครีมระกำา , GPO บาล์ม
• ยาแก้ไอผู้ใหญ่ : ยาแก้ไอนำ้าดำา , ยาขับเสมหะ
• ยาแก้ไอเด็ก : ยาแก้ไอขับเสมหะ , ยาแก้ไอเด็กเล็ก ,
• ยาระบาย : ยาระบายเม็กนีเซีย , มะขามแขก , ยาเม็ดมะขามแขก
• ยาสูดดม : เหล้าแอมโมเนีย
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
• กระดูกหัก
• วางอวัยวะส่วนนัน้ บนแผ่นไม้หรือหนังสือหนา ๆ
• ใช้ผา้ พันยึดไม้ให้เคลือ่ นไหว
• ถ้าเป็นปลายแขนหรือมือใช้ผา้ คล้องคอ
เลือดกำาเดาไหล
• นัง่ ลง , ก้มศรีษะเล็กน้อย ,บีบจมูกนาน 10 นาที (หายใจทางปาก)
• วางนำ้าแข็งหรือผ้าเย็น ๆบนสันจมูก หน้าผาก ใต้ขากรรไกร
• ถ้าไม่หยุด รีบไปพบแพทย์
กินยาผิด หรือกินยาพิษ
• ถ้าผู้ป่วยยังรู้สึกตัวดี
– พยายามใช้นิ้วล้วงคอ ให้อาเจียนซำ้าๆ.
– ดืม่ นมหรือนำ้าเย็น 4-5 แก้ว หรือกลืนไข่ดิบ 5-10 ฟอง
จะช่วยให้พิษยาถูกดูดซึมได้น้อยลง.
– รีบพาไปหาหมอ พร้อมกับนำายาที่กนิ ไปด้วย
• ถ้าผู้ป่วยหมดสติ
ให้ปฐมพยาบาลแบบอาการหมดสติ ห้ามกรอกยาหรือให้กินอะไรทั้งสิ้น,
แล้วรีบพาไปหาหมอ พร้อมกับนำายาที่กินไปด้วย
ไฟฟ้าช็อต
• รีบปิดสวิตซ์ไฟทันที
• ถ้าไม่สามารถปิดสวิทช์ไฟได้ ห้ามใช้มือจับต้องคนที่กำาลังถูกไฟช็อต
• ให้นำาสิ่งที่ไม่นำาไฟฟ้า เช่น ไม้กวาด ,เก้าอี้ไม้ เขี่ยออกจากสายไฟ
หรือเขี่ยสายไฟออกจากตัวผู้บาดเจ็บ
ไฟฟ้าช็อต
• เมือ่ ผู้ป่วยหลุดออกมาแล้ว รีบปฐมพยาบาล
• ถ้าหยุดหายใจ ให้ทำาการเป่าปากช่วยหายใจ
• ถ้าคลำาชีพจรไม่ได้ ให้นวดหัวใจด้วย
• รีบนำาส่งโรงพยาบาล
ไฟไหม้ นำ้าร้อนลวก
• ฉีกหรือตัดเสื้อผ้าบริเวณที่ถกู นำ้าร้อนลวกออก
• เสื้อผ้าที่ไหม้ไฟและดับแล้ว ถ้าติดที่แผล ไม่ต้องดึงออก
• ถอดเครื่องประดับที่รัดอยู่ เช่นแหวน, เข็มขัด ,นาฬิกา ,รองเท้า
,(เพราะอาจจะบวมทำาให้ถอดยาก)
• ทำาให้บริเวณที่ถกู ไฟไหม้นำ้าร้อนลวกเย็นลงโดยเร็วที่สุด(ทำาอย่างน้อย 10
นาที )
• ใช้ผา้ ก็อซปราศจากเชื้อปิดแผล กรณีแผลใหญ่ ใช้ผา้ ปิดพันด้วยผ้ายืดหลวม ๆ
สุนัขกัด
• ถ้าเลือดออก ห้ามเลือดทันที (ด้วยผ้าก็อซหรือบีบแผล)
• ล้างแผลด้วยนำ้าสะอาด ปิดด้วยผ้าก็อซสะอาด
• รีบไปพบแพทย์ เพื่อฉีดวัคซีน
งูกัด
• ดูรอยแผล ถ้าเป็นงูพิษจะมีรอยเขี้ยว
• ใช้เชือกรัดหรือยาง หรือเข็มขัดรัดเหนือแผลให้แน่นพอควร
• ให้นอนนิ่ง ๆ คอยปลอบใจ
• ห้ามดื่มสุรา ,ยาดองเหล้า ,ยากล่อมประสาท
• ถ้าหยุดหายใจให้ช่วยหายใจทันที
• ควรนำางูไปพบแพทย์ด้วย
แมลงต่อย
• ถ้าถูกต่อยหายตัว หรือต่อยบริเวณหน้า ให้รีบไปพบแพทย์
• พยายามถอนเหล็กไน(โดยใช้หลอดกาแฟเล็ก ๆ แข็ง ๆ
หรือปากกาครอบแล้วกดให้เหล็กในโผล่ แล้วดึงเหล็กไนออก)
• ใช้ยาแก้แพ้ทา หรือราดด้วยนำ้าโซดา หรือประคบด้วยนำ้าแข็ง
(ปกติอาการบวมจะลดลงใน 1 วันถ้าไม่ลดให้พบแพทย์)
• ถ้ามีอาการปวด กินยาแก้ปวด (พาราเซตามอล)
ลมพิษ
สาเหตุ โดนสารที่แพ้,พืช,สารเคมี,แพ้อาหารทะเล,เหล้าเบียร์,ละอองต่าง

การปฐมพยาบาล
• ทายาแก้ผดผื่นคัน ,คาลาไมน์ ,เพรดนิโซโลนครีม
,เบตาเมทธาโซนครีม
• กินยาแก้แพ้ คลอเฟนนิรามีน ขนาด 4 มก. 1 เม็ด
• หาสาเหตุที่แพ้
• ถ้าผื่นไม่ยุบลง และเพิม่ มากขึ้นให้รีบไปพบแพทย์
เป็นลม
ห้ามคนมุงดู พาเข้าที่ร่มในให้อยู่ในที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก
• คลายเสือ้ ผ้าออกให้หลวม
• จัดให้นอนตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่งเพื่อป้องกันในเรื่องทางเดินหาย
ใจอุด ตัน โดยเฉพาะลิ้นของผูป้ ่วยมักจะตกไปทางด้านหลังของลำาคอ
ทำาให้หายใจไม่ออก
• ใช้ผ้าชุบนำ้าเช็ดหน้าผากมือ และเท้า
• ถ้าอาการไม่ดีขึ้น รีบนำาส่งโรงพยาบาล
ท้องเดิน ,ท้องร่วง ,ท้องเสีย
• ในเด็กโตหรือผู้ใหญ่
• งดอาหารรสจัดและย่อยยาก
• เลือกกินอาหารเหลวกินจนกว่าอาการจะดีขึ้น
• ดื่มนำ้าเกลือแร่หรือผสมเอง (เกลือ 1/2 ช้อนชา+นำ้า 1
ขวดแม่โขง)
• ดื่มนำ้าชาแก่ ๆ
• ถ้าถ่ายรุนแรง มีอาเจียน อ่อนเพลียมาก หน้ามืดเป็นลม
และอาการไม่ดีขึ้นภายใน 48 ชัว่ โมงให้รีบไปพบแพทย์
ท้องเดิน ,ท้องร่วง ,ท้องเสีย
• ในเด็กเล็ก เด็กทารก
• งดนมและอาหาร ประมาณ 2-4 ชัว่ โมง ดื่มนำ้าเกลือแร่
• (ทารกใช้เกลือ 1/2ช้อน+นำ้า 1ขวดแม่โขง)
• ถ้าเด็กหิวมากให้นมที่ชงจาง ๆ ทีละน้อย
• ถ้าถ่ายท้องรุนแรง ,อาเจียน ,ดื่มนมหรือนำ้าไม่ได้
ซึม ,ตาโบ๋ ,กระหม่อมบุ๋ม ,หายใจหอบแรง)
ไม่ดีขึ้นใน 24 ชัว่ โมงให้ไปพบแพทย์โดยด่วน
ก้างติดคอ
• กลืนก้อนข้าวสุก หรือขนมปังนิ่ม ๆ
• ถ้ายังไม่หลุด กลืนนำ้าส้มสายชูเจือจางเพื่อให้ก้างอ่อนลง
• ถ้าไม่หลุด ควรไปพบแพทย์
ของเข้าหู
• ตะแคงศีรษะ หันหูข้างที่สิ่งแปลกปลอมเข้าลง ตบศีรษะด้านบนเบาๆ
ให้ของหล่นออกมา
• ถ้าไม่ออก หยอดนำ้ามันพืช 3-4 หยด
เข้าในหูข้างนั้นแล้วทำาข้อ1 ซำ้า
• ถ้าไม่ออก ห้ามแคะ
เพราะของจะยิ่งเข้าลึก,
ควรรีบไปหาหมอ
ของเข้าจมูก
• บีบรูจมูกที่ไม่มีของอยู่ แล้วสั่งข้างที่มีของอยู่แรงๆ ไม่ควรแคะ
เพราะจะดันลึกเข้าไปอีก ถ้าไม่ออก ควรรีบไปหาหมอ
ชัก
• จับนอนตะแคงควำ่า
• ห้าม!! ใช้ด้ามช้อนสอดเข้าไปในปาก
• ห้าม!! งัดปากขณะชัก เพราะจะทำาให้ฟนั หัก
และเกิดอันตรายได้.
• ห้ามกรอกยาขณะชัก
(นอกจากหยุดชักหรือมีสติดี และกลืนได้แล้ว)
เพราะอาจทำาให้สำาลัก และทำาให้ปอดบวมได้.
ชัก
• ถ้าอาการไม่ดีขึ้นหรือไม่เคยเป็นมากก่อน ควรรีบไปหาหมอโดยด่วน.
• ถ้าอาการดีขึ้น และมียากันชักกินอยู่แล้ว
ควรรีบปรึกษาหมอเรื่องการปรับยาใหม่ ไม่ควรเพิ่มยาเอง.
Thank you
For
Your Attention

You might also like