You are on page 1of 18

น้ํามันไบโอดีเซล คืออะไร

ไบโอดีเซลเปนเชื้อเพลิงเหลวที่ผลิตไดจาก น้ํามันพืชและไขมันสัตว เชน ปาลม มะพราว ถั่วเหลือง ทานตะวัน


เมล็ดเรพ (rape seed ) สบูดํา หรือ น้ํามันพืช น้ํามันสัตว ที่ผานการใชงานแลว นํามาทําปฏิกิริยาทางเคมี
transesterification รวมกับเมทานอล หรือ เอทานอลจนเกิดเปนสารเอสเตอรที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับน้ํามัน
ดีเซล เรียกวา ไบโอดีเซล (B100) ซึ่งเมื่อนํามาผสมกับน้ํามันดีเซลเกรดที่ใชกันในปจจุบันในสัดสวนรอยละ 5-
10 (B5-B10) จะสามารถนํามาใชงานในเครื่องยนตดีเซลไดเปนอยางดี โดยไมตองดัดแปลงเครื่องยนต
นอกจากนี้ยังไดกลีเซอรอลและกรดไขมัน เปนผลพลอยได ซึ่งปฏิกิริยาทางเคมีที่เกิดขึ้นสามารถแสดงไดดังนี้

ปฏิกิริยา TRANSESTERIFICATION

วัตถุดบิ ที่ใชผลิตไบโอดีเซล
ไบโอดีเซลเปนเชื้อเพลิงเหลวที่ผลิตไดจาก น้ํามันพืชและไขมันสัตว เชน ปาลม มะพราว ถั่วเหลือง ทานตะวัน
เมล็ดเรพ (rape seed ) สบูดํา หรือ น้ํามันพืช น้ํามันสัตว ที่ใชแลว ซึ่งพืชน้ํามันเหลานีเ้ ปนแหลงทรัพยากร ที่
สามารถผลิตทดแทนไดในธรรมชาติ
เมล็ดเรพ
มีลักษณะเปนเม็ดเล็กๆ เหมือนเมล็ดงา เปนพืชลมลุกประเภทวัชพืชทีพ่ บอยูทั่วไปในทวีปยุโรป มีชอื่
วิทยาศาสตรวา Brassica napus ในป พ.ศ.2525 ไดมีการริเริ่มคิดคนกระบวนการ Trans-Esterification โดยใช
เมล็ดเรพ ที่สถาบัน Institute of Organic Chemistry, Graz, Austria และไดรับการยอมรับจากผูใชรถเปนอยางดี
ปจจุบันเมล็ดเรฟเปนวัตถุดบิ ที่ใชในอุตสาหกรรมการผลิตไบโอดีเซลมากที่สุดในยุโรป คือ มีสวนแบงในการ
ผลิตถึงรอยละ 80 ของวัตถุดบิ อื่นๆ ทั้งหมด ซึ่งประเทศเยอรมันถือไดวาเปนทั้งผูนําในการนําไบโอดีเซลมาใช
แทนน้ํามันดีเซลและเปนผูนําทางดานเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซลโดยใชวัตถุดิบจากเมล็ดเรพ นอกจากนี้ยัง
มีประเทศผรั่งเศส และสเปน ที่ใชเมล็ดเรพและทานตะวันเปนวัตถุดิบเชนกัน

ถั่วเหลือง
เปนพืชน้ํามันที่นิยมใชเปนวัตถุดิบเพื่อผลิตไบโอดีเซลมากที่สุดในสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีปริมาณการผลิตถั่ว
เหลืองสูงถึงกวา 30 ลานตันตอป นอกจากนี้ยังมีประเทศอิตาลีซึ่งนิยมใชถั่วเหลืองในการผลิตไบโอดีเซล
ปาลมน้ํามัน
เปนพืชน้ํามันที่นิยมใชเปนวัตถุดิบหลักในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยขณะนี้ เนื่องจากเปนพืชที่มี
ศักยภาพในการนํามาผลิตเปนเชื้อเพลิงสูงกวาพืชน้ํามันชนิดอื่น คือมีตนทุนการผลิตต่ํา ใหผลผลิตตอพื้นที่สูง
โดยปาลมน้ํามันใหผลผลิตน้ํามันตอไรสูงกวาเมล็ดเรฟ ซึ่งใชเปนวัตถุดบิ หลักในการผลิตไบโอดีเซลใน
ประเทศแถบยุโรปถึง 5 เทา และสูงกวาถัว่ เหลืองที่ใชกันมากในสหรัฐอเมริกาถึง 10 เทา เนื่องจากปาลมน้ํามัน
เปนพืชยืนตน ทนตอผลกระทบจากภัยธรรมชาติ
อีกทั้งสามารถเก็บเกีย่ วผลผลิตไดนานถึง 20 ป จึงทําใหความตองการน้ํามันปาลมดิบในประเทศเพิ่มขึ้นอีก
เปนจํานวนมากในอนาคตอันใกลนี้ ซึ่งประเทศที่มีการปลูกปาลมน้ํามันมากที่สุดคือประเทศมาเลเซีย สําหรับ
ความคุมคาในการเพาะปลูกปาลมน้ํามันนัน้ จากขอมูลของกระทรวงเกษตรและสหกรณการเกษตร พบวาโดย
เฉลี่ยการเพาะปลูกปาลมน้ํามันมีผลตอบแทนกําไรตอไร สูงถึงประมาณ 4,000 บาทตอป จึงมีการสงเสริมให
เกษตรกรมีการปลูกปาลมพันธุดี ทดแทนพืชอื่นๆ ที่มีรายไดต่ํากวา

รัฐไดดําเนินการสํารวจพื้นทีเ่ พาะปลูกปาลมที่เหมาะสมทั้งภาคใตและภาคอีสาน รวมทั้งมีการคัดเลือกเมล็ด


พันธุ และใหความรูเกีย่ วกับเทคโนโลยีการเพาะปลูกแกเกษตรกร โดยพื้นที่เพาะปลูกสวนใหญจะอยูในพืน้ ที่
ภาคใตตั้งแตจงั หวัดประจวบคีรีขันธลงไป ในปจจุบันจังหวัดกระบี่มพี ื้นที่เพาะปลูกปาลมน้ํามันมากที่สุดใน
ประเทศไทย คือ ประมาณ รอยละ40 ของพื้นที่เพาะปลูกปาลมน้ํามันทั้งประเทศ รองลงมาคือ สุราษฎรธานี
และ ชุมพร อยางไรก็ตามไดมีการทดลองปลูกปาลมน้ํามันในภาคกลาง เชน โครงการพัฒนาทุงรังสิต ซึ่ง
พบวาสามารถใหผลผลิตไดเมื่อสวนปาลมมีอายุประมาณ 28 เดือน
สบูดํา
เปนพืชน้ํามันอยางหนึ่งทีภ่ าครัฐมีนโยบายสงเสริมใหปลูกเปนวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลชุมชน เนื่องจาก
เปนพืชที่เพาะปลูกงายไมตองดูแลมาก ทนตอสภาพแลงและน้ําทวมทําใหปลูกไดในพื้นที่ทั่วทุกภาคแมแตใน
พื้นที่ที่ใชประโยชนทางการเกษตรไดนอย สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดภายในหนึ่งปหลังปลูก และมีอายุยืน
กวา 30 ป อีกทั้งปลูกไดในพื้นที่แหงแลง น้ํามันที่บีบจากผลสบูดําสามารถนํามาใชในเครื่องยนตดีเซลรอบต่ํา
สําหรับการเกษตรแทนน้ํามันดีเซลไดทันที ประชาชนสวนใหญอาจไมรูจักสบูดํา ทั้งที่ในความเปนจริงเปน
พืชที่ปลูกในประเทศไทยมานานกวา 200 ปแลว โดยชาวโปรตุเกสนําเขามาเมื่อปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา
เพื่อใหคนไทยปลูก แลวรับซื้อเมล็ดซึ่งมีสีดํากลับไปอัดบีบเปนน้ํามันสําหรับใชทําสบู
ดวยเหตุนี้อาจเปนที่มาของคําวา “สบูดํา” อยางไรก็ตาม คนไทยจะเรียกชื่อพืชชนิดนีแ้ ตกตางกันออกไปในแต
ละทองถิ่น ภาคกลางเรียก สบูดํา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก มะเยา ภาคใตเรียก มะหงเทศ สวนภาคเหนือ
เรียก มะหุงฮัว้ แตชื่อวิทยาศาสตรเรียกวา Jatropha curcas Linn.

สบูดําเปนพืชน้ํามันทางเลือกที่เหมาะสมอีกชนิดหนึ่ง ที่ผูเชี่ยวชาญดานการเกษตรระบุวา หากมีการพัฒนา


เมล็ดพันธุและมีวิธีดูแลการเพาะปลูกที่เหมาะสมแลวจะสามารถใหน้ํามันตอไรไดสงู ถึงปละ 300 ลิตร แตถา
ปลูกตามธรรมชาติจะไดผลผลิตเพียง 100 ลิตรตอไรตอปเทานั้น ขณะทีผ่ ลผลิตปาลมใหน้ํามันปละประมาณ
600 ลิตร แตตองใชเวลาปลูก 3 - 4 ป และขอดีอีกประการหนึ่งจากที่สบูดาํ เปนพืชรับประทานไมไดซึ่ง
แตกตางจากพืชน้ํามันชนิดอืน่ จึงทําใหราคาไมผันผวน โดยราคาเมล็ดสบูดําอยูที่ประมาณ 3 - 4 บาทตอ
กิโลกรัม การสกัดตองใชจํานวนเมล็ดถึง 4 กิโลกรัมจึงจะไดน้ํามัน 1 ลิตร ทําใหตนทุนน้ํามันสบูดําอยูที่ 12 -
16 บาทตอลิตร ซึ่งยังคงต่ํากวาราคาน้ํามันปาลมดิบที่มีราคาคอนขางผันผวนประมาณ 14 - 22 บาทตอลิตร
น้ํามันสบูดําทีส่ กัดไดจะสามารถนําไปใชกบั เครื่องจักรกลทางการเกษตรที่เปนเครื่องยนตดเี ซลรอบต่ําได เชน
เครื่องปนไฟ รถอีแตน รถแทรกเตอร หรือเครื่องสูบน้ําไดโดยไมตองดัดแปลงเครื่องยนต แตมีปญ  หาดาน
คุณภาพบางประการ อาทิ คาความหนืดทีส่ ูงกวาน้ํามันดีเซลถึง10 เทา ทําใหไมสามารถใชกับเครื่องยนตดเี ซล
รอบสูงทั่วไปได จําเปนตองนําไปผานกระบวนการ Transesterification แปลงเปนไบโอดีเซล ( B 100 ) กอน
นําไปผสมกับน้ํามันดีเซลปกติเพื่อใชเปนเชื้อเพลิง
ในตางประเทศสบูดําเปนพืชทองถิ่นที่มีอยูทั่วไปในประเทศเม็กซิโก และไดมกี ารสงเสริมใหเพาะปลูกใน
ประเทศตางๆ ในทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย มานานเกือบ 20 ปแลว โดยเฉพาะประเทศที่มีพนื้ ที่แหงแลง
เปนจํานวนมากซึ่งไมสามารถใชประโยชนทางการเกษตรได เชน ประเทศในทวีปแอฟริกา หรืออินเดีย ซึ่ง
นอกจากจะไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนในประเทศเหลานั้นแลว ยังพบวามีหลายประเทศใน
แถบยุโรป อาทิ ประเทศเยอรมนี ประเทศอังกฤษ ที่เขาไปลงทุนเพาะปลูกสบูดําที่ประเทศอินเดีย และ ประเทศ
มาลิ (Mali) ซึ่งประเทศเหลานี้ไดเขารวมในสนธิสัญญาเกียวโต โดยมีเปาหมายที่จะลดการปลอยกาซเรือน
กระจก เพื่อบรรเทาปญหาภาวะโลกรอน ซึ่งมาตรการหนึง่ ที่จะลดปญหาดังกลาว คือการใชพลังงานทดแทน
จากเชื้อเพลิงชีวภาพโดยมีขอตกลงที่เรียกวา “The EU Biofuel Directive” มีเปาหมายการใช เอทานอล และ
ไบโอดีเซล จากรอยละ 2 ของปริมาณการใชเชื้อเพลิงทั้งหมดในป 2005 เพิ่มเปนรอยละ 5.75 ในป 2010 และ
รอยละ 20 ภายในป 2020 ประเทศในกลุมยุโรปจึงมีการสงเสริมการปลูกตนเรพเพื่อนําเมล็ดเรพไปเปน
วัตถุดิบผลิตไบโอดีเซล แตจากเปาหมายที่กําหนดไวพบวาปริมาณไบโอดีเซลที่จะผลิตไดภายในประเทศมีไม
เพียงพอ จึงตองไปลงทุนปลูกพืชน้ํามันในประเทศอื่นและรับซื้อผลผลิตกลับมายังประเทศของตน นอกจาก
เหตุผลของการนํามาใชเปนพลังงานทดแทนแลว ประโยชนจากการเพาะปลูกสบูดาํ ยังมีไวเพื่อใชเปนพืชคลุม
ดินลดการกัดเซาะหนาดินจาก ลมและน้ํา รวมทั้งชวยปรับปรุงคุณภาพของดินใหสามารถใชเพาะปลูกพืช
เกษตรอื่นได
น้ํามันพืชใชแลว
ในระหวางที่ตอ งรอการขยายพื้นที่เพาะปลูกปาลมใหเพียงพอ วัตถุดิบอีกประเภทหนึ่ง ที่ควรสงเสริมใหนําไป
ผลิตไบโอดีเซล คือ น้ํามันพืชใชแลว ซึ่งนอกจากจะเปนประโยชนดานพลังงานแลว ยังชวยลดปญหาดาน
สิ่งแวดลอมและสาธารณสุข โดยในชวง 20 ปที่ผานมา ทั่วโลกมีอัตราเฉลี่ยในการบริโภคน้ํามันพืชเพิ่มขึ้นถึง
รอยละ 4 ตอป สงผลใหปจจุบันมีการบริโภคน้ํามันพืชสูงกวา 100 ลานตันตอป เพราะวิถีการบริโภคที่หันมา
นิยมอาหารประเภทจานดวน (Fast Food) ที่ปรุงดวยการทอดมากขึ้น ผลที่ตามมา คือ มีน้ํามันพืชใชแลว
จํานวนมากที่เหลือจากการปรุงอาหารซึ่งจําเปนตองหาวิธีจัดการ ไมวาเปนการกําจัด บําบัด หรือนํากลับมาใช
ประโยชนใหม โดยไมกอใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอมและสาธารณสุข

สําหรับประเทศไทยมีการบริโภคน้ํามันพืชกวา 800,000 ตันตอป ประเมินกันวานาจะมีน้ํามันพืชใชแลวเหลือ


มากกวา 100 ลานลิตรตอป ในจํานวนนี้ สวนหนึ่งนําไปใชประโยชนเปนวัตถุดิบในการผลิตสบู หรือใชผสม
เปนอาหารสัตว ขณะที่บางสวนถูกทิ้งออกสูคูคลองสาธารณะซึ่งกอใหเกิดปญหาตอสิง่ แวดลอม บางก็ถูก
ลักลอบนําไปขายในราคาถูกเพื่อใชทอดซ้ํา ซึ่งน้ํามันพืชที่นํากลับมาใชซํา้ จะมีลักษณะที่เสื่อมสภาพทั้งทาง
กายภาพและทางเคมี ทั้งนี้ผูที่บริโภคอาหารที่ปรุงดวยน้ํามันพืชดังกลาวตอเนื่องเปนเวลานาน เซลลตับและไต
จะถูกทําลาย รวมถึงอาจเปนโรคมะเร็งไดอกี ดวย ภาครัฐ ไดตระหนักถึงปญหาดานสุขภาพของประชาชนที่
บริโภคน้ํามันพืชใชแลวโดยไมรูตัว จึงไดออกประกาศ ฉบับที่ 283 ป 2547 โดยกําหนดมาตรฐานน้ํามันพืชที่
นําไปใชประกอบอาหารเพื่อจําหนาย แตประสบกับปญหาการบังคับใชกฎหมาย ประกอบกับภาระตนทุนที่
สูงขึ้นของผูประกอบการในปจจุบัน ทําใหบางรายนําน้ํามันพืชใชแลวมาปรุงอาหารเพื่อลดตนทุน ยังผลให
การรณรงคไมนําน้ํามันพืชใชแลวมาใชซ้ําไมคอยไดผลเทาที่ควร ซึ่งตางจากประเทศที่พัฒนาแลว ไมวาจะเปน
สหรัฐอเมริกา ยุโรป หรือญี่ปุน ที่มีการออกกฎหมายมาควบคุมดูแล และมีวิธีการจัดการกับน้ํามันพืชใชแลว
อยางเขมงวด เพราะถือวาเปนของเสียที่ตองถูกกําจัด หรือบําบัดอยางถูกตองตามกฎหมาย โดยประเทศพัฒนา
แลวตางๆ นิยมนําน้ํามันพืชใชแลวมาใชประโยชนในดานพลังงานดวยการนําไปผลิตเปน “น้ํามันไบโอดีเซล”
ซึ่งมีการดําเนินการอยางเปนรูปธรรม ในป 2550 บริษัทบางจากฯ ไดรเิ ริ่มโครงการรับซื้อน้ํามันพืชใชแลวจาก
ตลาดทั่วไป และรับซื้อผานสถานีบริการน้ํามันกวา 20 แหง เพื่อใชเปนวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลของ
หนวยผลิตไบโอดีเซลบางจาก สุขมุ วิท64 มีกําลังผลิต 50,000 ลิตรตอวัน
ไบโอดีเซลในประเทศไทย
o ป 2528 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ฯ ทรงมีพระราชดําริใหมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร สราง
โรงงานสกัดน้าํ มันปาลมขนาดเล็ก ณ สหกรณนิคมอาวลึก จังหวัดกระบี่ เนื่องจากเปนแหลงที่มีการ
ปลูกปาลมน้ํามันเปนจํานวนมาก ประกอบกับเกิดวิกฤติราคาน้ํามันปาลมดิบตกต่ําเพราะมีผลผลิตลน
ตลาด และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางโรงงานสกัดน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ขนาดเล็กมีกําลังผลิต
วันละ 110 ลิตร ณ ศูนยการศึกษาพัฒนาพิกลุ ทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส
o ป 2543 กองงานสวนพระองคไดทําวิจัยพัฒนา และทดลองนําน้ํามันปาลมบริสุทธิ์หรือปาลมดีเซล มา
ทดลองใชกับรถยนตเครื่องยนตดเี ซลของกองงานสวนพระองค ที่พระราชวังไกลกังวล อําเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ
o จากผลความสําเร็จดังกลาว ในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2544 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ฯ ทรงพระ
กรุณาโปรดเกลาฯ ใหนายอําพล เสนาณรงค องคมนตรี เปนผูแทนพระองค ยื่นจดสิทธิบัตร ณ กรม
ทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย ในพระปรมาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ฯ ชื่อที่
แสดงถึงการประดิษฐคือ “การใชน้ํามันปาลมกลั่นบริสุทธิ์เปนน้ํามันเชือ้ เพลิงเครื่องยนตดีเซล”
สิทธิบัตรเลขที่ 10764
o วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2544 วันพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ มีหนวยงาน 4 หนวยงาน ไดนํา
ผลงานเกี่ยวกับการวิจยั ใชนา้ํ มันปาลมเปนน้ํามันในเครื่องยนตดเี ซลไปจัดนิทรรศการที่สวนจิตรลดา
ไดแก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การปโตรเลียมแหงประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยีพระ
จอมเกลาพระนครเหนือ และบริษัท ยูนิวานิช จํากัด
o ป พ.ศ.2544 สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติไดจัดสงผลงานในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ฯ
ไปรวมแสดงในงานนิทรรศการสิ่งประดิษฐนานาชาติชื่องาน “Brussels Eureka 2001” ณ กรุง
บรัสเซลส ประเทศเบลเยียม ดวยพระอัจฉริยะภาพและพระปรีชาสามารถในการประดิษฐคิดคนของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ฯ สงผลใหผลงานการคิดคน 3 ผลงานของพระองค คือ “ทฤษฎีใหม”
“โครงการฝนหลวง” และ “โครงการน้ํามันไบโอดีเซลสูตรสกัดจากน้าํ มันปาลม” ไดรับเหรียญทอง
ประกาศนียบัตรสดุดีเทิดพระเกียรติคุณ พรอมถวยรางวัล ในงานดังกลาวลวนเปนผลงานการคิดคน
แนวใหมในการพัฒนาประเทศ นํามาซึ่งความปลาบปลื้มปติยินดีแกประชาชนชาวไทยทั้งมวล
ตอมา หนวยงานราชการ ภาคเอกชน เกษตรกร และบริษทั ผูคาน้ํามัน รวมมือกันพัฒนาหนวยผลิต
ตนแบบ ในหลายๆ โครงการ อยางตอเนื่อง จนสามารถผลิตไดในเชิงพาณิชย และเพื่อเปนการ
สงเสริมใหประชาชนไดรูจักและสรางความมั่นใจในการใชน้ํามันไบโอดีเซล ภาครัฐจึงไดมีโครงการ
นํารอง เพื่อสงเสริมการใชนา้ํ มันไบโอดีเซล ดังตอไปนี้
o โครงการทดลองจําหนายน้ํามันไบโอดีเซล B2 ไดเริ่มดําเนินการในชวงปลายป 2547 โดยเปน
โครงการที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) สนับสนุนใหนําไบโอดีเซลมา
ผสมกับน้ํามันดีเซลเพื่อทดแทนสารเพิ่มความหลอลื่นในสัดสวนรอยละ 2 (B2) จําหนายผานสถานี
บริการน้ํามันบางจาก และ ปตท. โดยจําหนายใหรถยนตสองแถวรับจางของจังหวัดเชียงใหมทเี่ ขา
รวมประมาณ 1,300 คัน ในราคาที่ต่ํากวาน้าํ มันดีเซลปกติ 50 สตางคตอลิตร โครงการนี้ถือเปน
โครงการนํารองสนับสนุนใหผูใชรถหันมาใชน้ํามันไบโอดีเซล

o โครงการนํารองของชุมชนสหกรณชาวสวนปาลมน้ํามันกระบี่ ซึ่งมีพื้นที่ปลูกปาลมประมาณ 200,000


ไร มีโรงหีบน้าํ มันที่มีกําลังการผลิต 200,000 ลิตรตอวัน สามารถขยายกําลังการผลิตเพิ่มเปน 400,000
ลิตรตอวันได และมีการลงทุนสรางโรงงานไบโอดีเซล กําลังผลิต 20,000 ลิตรตอวัน โดยใช
เทคโนโลยีการผลิตของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร เปนผูออกแบบ และ
ไดรับการสงเสริมจากภาครัฐ
o โครงการนํารองหวยโมง จังหวัดหนองคาย มีพื้นที่ที่เหมาะสมตอการปลูกน้ํามันปาลมประมาณ
40,000 ไร และไดทดลองปลูกปาลมในพืน้ ที่ดังกลาวประมาณ 30 เดือน ไดผลใกลเคียงกับการทดลอง
ในจังหวัดสุราษฎรธานี ปจจุบันไดมีบริษัทเอกชนกําลังศึกษารายละเอียดเพื่อเขารวมโครงการ
นอกจากนี้ภาครัฐยังมีโครงการอื่นๆ สําหรับศึกษาความเปนไปไดในการผลิตและการใชน้ํามันไบโอ
ดีเซล อาทิ
o โครงการศึกษาความเหมาะสมการผลิตและการใชไบโอดีเซลจากพืชน้ํามันและไขมันสัตว ซึ่งเปน
การทดลองใชงานจริงกับรถยนตราชการ โดยใชไบโอดีเซลผสมกับน้ํามันดีเซลในสัดสวนรอยละ 20
, 40 และ 100 ตามลําดับ แลวนําผลการใชมาเปรียบเทียบสมรรถนะกับรถที่ใชน้ํามันดีเซลปกติ
o โครงการศึกษาออกแบบจัดตั้งโรงงานผลิตไบโอดีเซลนํารองระดับชุมชน โดย กรมพัฒนาพลังงาน
ทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดสงเสริมใหมีการศึกษาพัฒนาเครื่องตนแบบระบบผลิตไบโอ
ดีเซลระดับชุมชนจากน้ํามันปาลมดิบแบบตอเนื่อง ขนาดกําลังการผลิต 50 ลิตรตอวัน
o โครงการศึกษาจัดทําแผนยุทธศาสตรและปฏิบัติการสงเสริมการใชไบโอดีเซลในภาคขนสง เพื่อ
ศึกษาวิจัย พัฒนาและสาธิต การใชงานจริงไบโอดีเซลรวมกับกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงในรถยนตตู
โดยสาร และรถยนตในลักษณะ Dual Fuel โดยใชน้ํามันไบโอดีเซลรอยละ 30 ผสมกับกาซธรรมชาติ
อัด
o โครงการกรุงเทพฟาใสดวยไบโอดีเซล เปนโครงการนํารองของ พพ. เพื่อสงเสริมการจําหนาย
น้ํามันไบโอดีเซล B5 ในเชิงพาณิชย ในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ เพื่อเปนการสงเสริม ประชาสัมพันธและ
สรางความรู ความเขาใจใหกบั ประชาชน
o โครงการหนวยผลิตไบโอดีเซลจากน้ํามันพืชใชแลว ขนาดกําลังผลิต 50,000 ลิตรตอวัน ของบริษัท
บางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) โดยนอมนําแนวพระราชดําริดานพลังงานทดแทน มาขยายผล
และสงเสริมใหประชาชนหันมาใชไบโอดีเซล พรอมเปดจุดรับซื้อน้ํามันพืชใชแลวเพือ่ ผลิตไบโอ
ดีเซล ณ โรงกลั่นน้ํามันบางจาก สุขุมวิท64 และสถานีบริการน้ํามันบางจากอีกกวา 20 แหง ใน กทม.
ปริมณฑล และที่อําเภอศรีประจันต จังหวัดสุพรรณบุรี รวมทั้งไดรณรงครับซื้อน้ํามันพืชใชแลวจาก
ตลาดตางๆ ในเขตกรุงเทพฯ เพื่อเปนวัตถุดบิ ปอนหนวยผลิตไบโอดีเซลที่ตั้งอยูในโรงกลั่นน้ํามันบาง
จาก อีกทั้งไดขยายสถานีบริการน้ํามันบางจากที่จําหนายไบโอดีเซลสูตร B5 ออกไปทั่วประเทศ
มากกวา 300 แหง ในป 2549 และมีแผนจะเพิ่มเปน 500 แหงในป 2550 ซึ่งจะเปนการชวยลดปญหา
ดานสิ่งแวดลอมจากการทิ้งน้าํ มันพืชใชแลวสูสาธารณะและลดผลกระทบตอสุขภาพประชาชนจาก
การนําไปใชซา้ํ
o โครงการไบโอดีเซลเพื่อสังคมไทยสูเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา เปนความรวมมือ
ของ กรุงเทพมหานคร บริษัทบางจากฯ และชุมชน ในการรณรงคเพื่อสิ่งแวดลอมและสุขภาพอนามัย
ที่ดี โดยรวบรวมน้ํามันพืชใชแลวจากชุมชนมาจําหนายใหกับบริษัทบางจากฯ เพื่อผลิตไบโอดีเซล
พรอมนอมนําแนวพระราชดําริและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาขยายผล ใหเขตพระโขนงเปนพื้นที่
นํารอง จากนัน้ จะขยายใหครบทั้ง 50 เขตใน กทม. รวมถึงผลักดันใหรถยนตของหนวยงาน
กรุงเทพมหานคร (กทม.) ใชไบโอดีเซล B5 ซึ่งเปนการสรางความรวมมือในการจัดการสิ่งแวดลอม
ของ กทม. และสรางรายไดใหกับชุมชนและทุกภาคสวนที่เขารวม
โครงการตางๆ เหลานี้มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการใชไบโอดีเซล และมุงสรางความเชื่อมั่นตอ
ประชาชนวาน้าํ มันไบโอดีเซลสามารถใชทดแทนน้ํามันดีเซลปกติได และมีการผลิต-จําหนายไดใน
เชิงพาณิชย
ประวัติความเปนมา

เครื่องยนตดีเซลสันดาปภายใน ไดถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรกในป พ.ศ. 2440 (ค.ศ. 1897) โดยวิศวกรที่ชื่อวา


รูดอลฟ ดีเซล สวนการนําน้ํามันจากพืชมาใชในเครื่องยนตดีเซลเปนครั้งแรกเกิดขึ้นในป พ.ศ. 2455 (ค.ศ.
1912) เมื่อใชไประยะหนึ่งก็ตองหยุดไปเนือ่ งจากมีการคนพบวิธีการผลิตน้ํามันดีเซลจากปโตรเลียมที่มีราคา
ถูกกวา จนกระทั่งป พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) เกิดวิกฤติราคาน้ํามันขึ้นทําใหพลังงานจากพืชไดรับความสนใจอีก
ครั้งหนึ่ง ดังรายละเอียดตอไปนี้

o ไบโอดีเซล มีจุดเริ่มตนมาจากประเทศในแถบยุโรป มีการทดลองกระบวนการ Trans-Esterification


ในป พ.ศ.2525 โดยใชเมล็ดเรฟ ณ สถาบัน Institute of Organic Chemistry, Graz, Austria
o ปจจุบันในสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา มีการผลิตและจําหนายอยางกวางขวางโดยไดรับการ
ยอมรับจากบริษัทผูผลิตรถยนตและผูคาน้ํามัน โดยผสมไบโอดีเซลในสัดสวนรอยละ 2 (B2) ซึ่ง
บังคับใชในมลรัฐมินิโซตา และรอยละ 20 (B20) ตามคําแนะนําใหใชไดตามกฏหมายยานยนต
เชื้อเพลิงทดแทนของสหรัฐอเมริกา
o กวา 28 ประเทศทั่วโลกมีการศึกษาและพัฒนาการผลิตไบโอดีเซลอยางตอเนื่อง และในรอบ 10 ปที่
ผานมา ประเทศที่ผลิตไบโอดีเซลเปนอุตสาหกรรมมากทีส่ ุด 5 อันดับแรก ไดแก เยอรมนี ฝรั่งเศส
อิตาลี สหรัฐอเมริกา และออสเตรีย
o ประเทศสหรัฐอเมริกานิยมใชน้ํามันถั่วเหลือง และน้ํามันใชแลว (Used cooking oil) เปนวัตถุดิบ
o ประเทศที่พัฒนาแลว ใชน้ํามันปาลม น้ํามันลินสีด และไขสัตว เปนวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล
เทคโนโลยี และกระบวนการผลิต
กระบวนการผลิตน้ํามันปาลมดิบ
การผลิตน้ํามันปาลมดิบที่ไดจากโรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบ โดยนําผลปาลมที่ผานกระบวนการนึ่ง มาทําการ
สกัด โดยไดผลผลิต 2 ประเภท คือ น้ํามันปาลมที่ไดจากเนื้อปาลม 15-20% และปาลมเมล็ดในประมาณ 5%

กระบวนการผลิตไบโอดีเซล
ประเภทของกระบวนการผลิตไบโอดีเซล แบงออกเปน 4 ประเภทดวยกัน คือ

1. การผลิตไบโอดีเซลแบบกะ (Batch Technology) เปนการผลิตแบบไมตอเนื่องทําใหผลิตไดคราวละ


ไมมาก และผลผลิตมีคุณภาพไมสม่ําเสมอ แตมีขอดีคือ ใชเงินลงทุนต่ํา
2. แบบตอเนื่อง - ทรานเอสเทอริฟเคชั่น (Continuous Trans-Esterification) เปนกระบวนการผลิตที่ตอง
ใชเงินลงทุนสูงกวาแบบแรก แตใหผลผลิตที่มีคุณภาพดีกวา และมีกําลังการผลิตสูงกวา
3. แบบตอเนื่อง – 2 ขั้นตอน (2 Step Reaction) เปนกระบวนการที่สามารถใชไดกับวัตถุดิบหลายชนิด
รวมถึงน้ํามันที่กรดไขมันอิสระสูง โดยการทําปฏิกิริยาเอสเทอริฟเคชั่นในขั้นแรก และผาน
กระบวนการทรานเอสเทอริฟเคชั่นอีกครั้ง ทําใหไดผลผลิตที่มากกวา 2 ประเภทแรก แตอยางไรก็ตาม
เงินลงทุนก็สูงขึ้นเชนกัน
4. ไมโครเวฟ เทคโนโลยี (Micro Wave Technology) เปนกระบวนการผลิตที่สามารถทําปฏิกิริยาไดเร็ว
ขึ้น ดวยการใชคลื่นไมโครเวฟ และใชพนื้ ที่ในการติดตั้งนอย อยางไรก็ตามปจจุบันยังคงมีเฉพาะ
Pilot Plant และใชเงินลงทุนสูงมาก
กระบวนการผลิตไบโอดีเซล ประกอบดวยขั้นตอนดังนี้
1. Pre-treatment เปนการสกัดยางเหนียว สิ่งสกปรก และน้ํา ออกจากน้ํามันปาลมดิบ
2. Reaction Step เปนกระบวนการทําปฏิกิริยา Transesterification โดยการเติมเมทานอลหรือเอทานอล
พรอมทั้งสารเรงปฏิกิริยา เชน โซเดียมไฮดรอกไซด ภายใตอณุ หภูมิสูง ไดเปน เมทิลเอสเตอร หรือ เอ
ทิวเอสเตอร พรอมทั้งได กลีเซอลีนในสัดสวนประมาณรอยละ 10 ซึ่งจะถูกแยกออกจากไบโอดีเซล
หลังจากที่ปลอยใหเกิดการแยกชัน้
3. Washing เปนการนําเอาไบโอดีเซลที่ไดจากการทําปฏิกิรยิ า Transesterification ไปลางน้ําเพื่อกําจัด
กลีเซอลีน และสารปนเปอนอื่นๆ ที่สามารถละลายน้ําได
4. Methanol Recovery เปนกระบวนการกลัน่ เพื่อดึงเมทานอลที่เหลือจากปฏิกริยากลับมาใชใหม
5. Drying เปนการกําจัดน้ําออกจากไบโอดีเซล
6. Glycerin Evaporation Unit เปนกระบวนการทํากลีเซอลีนใหบริสุทธิ์ที่ 80% (Technical Grade)
7. Glycerin Distillation Unit เปนกระบวนการทํากลีเซอลีนบริสุทธิ์ที่ 99.7% (Pharmaceutical Grade)
สําหรับในประเทศไทยไดมกี ารพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซล มาอยางตอเนือ่ งตั้งแตป 2545 ซึ่งไดแก

o โครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา
o โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิตไบโอดีเซลจากน้ํามันพืชโดยสถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)
o โครงการศึกษาและสาธิตการทดลองผลิตไบโอดีเซลระดับชุมชน
o การพัฒนาระบบผลิตไบโอดีเซลติดตั้งบนรถบรรทุกโดยคณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (มอ.)

ซึ่งเปนการพัฒนาเครื่องตนแบบทั้งในการผลิตแบบตอเนื่องและไมตอ เนื่อง จนถึงระดับที่สามารถผลิตไบโอ


ดีเซลในเชิงพาณิชย เชน หนวยผลิตไบโอดีเซลของบริษัทบางจากฯ และชุมนุมสหกรณชาวสวนปาลมน้ํามัน
กระบี่ ซึ่งไดรับความรวมมือจาก คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในการออกแบบโรงงาน
โดยใชเทคโนโลยีที่ไดจากการวิจัยของทางมหาวิทยาลัยเอง ซึ่งเปนไปตามมาตรฐานยุโรป โดยมีกระบวนการ
ผลิตครบวงจร คือ มีการนํา เมทานอลกลับมาใชใหม เพื่อไมกอใหเกิดมลภาวะ
นโยบายสงเสริม
จากเปาหมายของภาครัฐ ในการสงเสริมการผลิตและใชไบโอดีเซลทดแทนการใชน้ํามันดีเซล เพื่อลดการ
นําเขาน้ํามันจากตางประเทศ เพิ่มความมัน่ คงดานพลังงาน และเปนการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนจากพืช
อันเปนผลผลิตภายในประเทศ รวมทั้งการใชเชื้อเพลิงจากพืชยังชวยลดมลพิษทางอากาศ และพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน

o มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ.2547 เห็นชอบในหลักการจัดตั้งบริษัทจดทะเบียนเพื่อ


ชวยเหลือเกษตรกรในดานการตลาด การเงิน และการจัดการ โดยจัดตั้งบริษัทจํากัด หรือนิติบุคคล
เฉพาะกิจ (Special Purpose Vehicle: SPV) เพื่อสนับสนุนธุรกิจเกษตร
o วันที่ 18 มกราคม 2548 กระทรวงพลังงานรวมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ กําหนดยุทธศาสตร
การพัฒนาและสงเสริมการใชไบโอดีเซลจากปาลมน้ํามัน โดยมีเปาหมายสงเสริมการผลิตและการ
ใชไบโอดีเซล 8.5 ลานลิตร/วัน เพื่อทดแทนการใชน้ํามันดีเซล 10% ในป 2555
o วันที่ 17 พฤษภาคม 2548 กระทรวงพลังงานรวมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ และ
กระทรวงการคลัง จัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาและสงเสริมการใชไบโอดีเซล เพื่อใหเกิดการพัฒนา
ตามยุทธศาสตรฯ อยางเปนรูปธรรม
มาตรการสงเสริม การผลิตและการใช ไบโอดีเซลเชิงพาณิชยของภาครัฐ มีแนวทางดังนี้

1. สนับสนุนการปลูกปาลม 5 ลานไร เพื่อเปนวัตถุดิบสําหรับผลิตไบโอดีเซล


2. สนับสนุนผูประกอบการผลิตไบโอดีเซล ตามสิทธิประโยชนของสํานักงานคณะกรรมการสงเสริม
การลงทุน BOI เชน ยกเวนภาษีนําเขาเครื่องจักร ยกเวนภาษีรายได 8 ป เปนตน
3. สรางตลาดสําหรับไบโอดีเซล โดยใชมาตรการทางภาษี เพื่อใหราคาขายปลีกน้ํามันไบโอดีเซลต่ํากวา
น้ํามันดีเซล
4. ออกประกาศกรมธุรกิจพลังงานฯ เรื่อง กําหนดลักษณะและคุณภาพของไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอ
สเตอรของกรดไขมัน พ.ศ. 2548 เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2548 เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแกผูบริโภค

นอกจากนี้แลว เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2550 คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) ไดมมี ติเห็นชอบ


เกี่ยวกับราคาไบโอดีเซล ดังนี้
1. หลักเกณฑกําหนดราคาไบโอดีเซล B 100
B100 Price = 0.97CPO + 0.15 MetOH + 3.32 บาท/ลิตร
โดย 1. B100 Price คือ ราคา B100 มีหนวยเปน บาท/ลิตร
2. CPO คือ ราคาน้ํามันปาลมดิบ มีหนวยเปน บาท/กิโลกรัม
3. MetOH คือ ราคาเมทานอล มีหนวยเปน บาท/กิโลกรัม
2. กําหนดกองทุนน้ํามันเพื่อจูงใจ ใหราคาขายปลีกน้ํามันดีเซล B5 ต่ํากวาดีเซลปกติเพิ่มใหเปน 1 บาท/ลิตร
เมื่อมี B100 มากเพียงพอ
ประโยชน
สําหรับประเทศไทยซึ่งมีความตองการใชนา้ํ มันดีเซลสูงสุดในบรรดาผลิตภัณฑน้ํามันชนิดตางๆ และมีอัตรา
การขยายตัวสูงมากในแตละป ผลจากราคาน้ํามันดีเซลทีแ่ พงขึ้นสงผลกระทบตอภาคเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ
อยางยิ่งในภาคการขนสง และภาคการเกษตร ซึ่งเกี่ยวของกับประชาชนสวนใหญของประเทศและเปนผูที่มี
รายไดนอยที่ตอ งเผชิญกับคาครองชีพ และตนทุนดานการเกษตรที่สูงขึ้น ดังนั้นประโยชนจากการผลิตไบโอ
ดีเซลเพื่อนํามาใชทดแทนน้าํ มันดีเซล สรุปไดดังนี้

o ลดการสูญเสียเงินตราตางประเทศในการนําเขาน้ํามัน
o แกไขปญหาความยากจนในระดับรากหญาทําใหเกษตรกรมีรายไดดีขึ้น
o เผาไหมไดสมบูรณทําใหลดควันดํา จึงชวยลดการปลอยกาซที่กอใหเกิดภาวะเรือนกระจก
(Greenhouse effect) โดยเฉพาะกาซคารบอนไดออกไซด เพื่อแกปญหาโลกรอน
o ไอเสียยังมีมลพิษต่ํากวาการใชน้ํามันดีเซล คือ ไมมีกํามะถันและสารกอมะเร็งเปนองคประกอบ
o เพิ่มความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ เนื่องจากคุณสมบัติของน้ํามันไบโอดีเซลที่ใชงานกับ
เครื่องยนตดีเซลไดดี เชนเดียวกับน้ํามันดีเซล และยังสามารถสลับกันใชไดโดยไมจําเปนตอง
ปรับแตงเครื่องยนต
o การนําน้ํามันที่ใชแลวมาเปนวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล ยังชวยลดปริมาณน้ํามันทอดซ้ําซึ่งอาจ
เปนอันตรายตอรางกาย กอใหเกิดมะเร็งในเม็ดเลือดขาว หรือเนื้องอกในอวัยวะตางๆ ตอผูบริโภคได
ดวย

บทสรุป
ในอนาคตการใชไบโอดีเซลจะไดรับความนิยมมากขึน้ ตามลําดับ ดวยเหตุผลหลายดานดังกลาว ประการที่
สําคัญที่สุด การพัฒนาโครงการไบโอดีเซลในประเทศถือไดวาเปนการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองตามแนว
ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ฯ อยางแทจริง
ผลทดสอบการใชไบโอดีเซล
ดานสมรรถนะเครื่องยนต, อัตราการสิ้นเปลืองน้าํ มัน, อัตราการปลอยมลพิษ
การตรวจวัดสมรรถนะและการปลอยมลพิษของรถยนตที่ใชไบโอดีเซล
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดวาจางที่ปรึกษา 2 หนวยงาน คือ
กรมอูทหารเรือ และกรมควบคุมมลพิษ เพื่อทดสอบสมรรถนะและการปลอยมลพิษของรถยนตที่
ใชไบโอดีเซล โดยทําการทดสอบการใชไบโอดีเซลในสัดสวนที่แตกตางกัน คือ B2, B5, B20, B40,
B50 และ B100 ผลการทดสอบ ดังนี้
1. สมรรถนะเครื่องยนต
ผลการทดสอบรถยนตของกรมอูทหารเรือ พบวา รถยนตที่ใช B100 เครื่องยนตจะมีกาํ ลัง
มากที่สุดทุกความเร็วรอบ รองลงมา คือ รถยนตที่ใช B40, B20 และ B5 ตามลําดับ สวนน้ํามัน
ดีเซลทําใหเครือ่ งยนตมีกําลังนอยที่สุด กลาวคือ เมื่อใชน้ํามันที่มีสวนผสมของไบโอดีเซลใน
สัดสวนที่เพิ่มขึ้นจะทําใหเครื่องยนตมีกําลังสูงขึ้น ซึ่งผลการทดสอบดังกลาวมีความขัดแยงกับ
ผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษ โดยผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษ ระบุวา หาก
ใชน้ํามันที่มีสว นผสมของไบโอดีเซล จะทําใหเครื่องยนตมีกําลังลดลง โดยน้ํามันที่มีสวนผสม
ของไบโอดีเซลมากขึ้นยิ่งทําใหเครื่องยนตมีกําลังลดลง
2. อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเชือ้ เพลิง
ผลการทดสอบรถยนตของกรมอูทหารเรือ พบวา รถยนตที่ใชน้ํามันดีเซลและน้ํามันดีเซลที่
มีสวนผสมของไบโอดีเซลมีอัตราการสิ้นเปลืองไมแตกตางกัน ประมาณ 12 ลิตรตอกิโลเมตร
ขณะที่ผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษ พบวา น้าํ มันดีเซลที่มีสวนผสมของไบโอดีเซลมี
อัตราการสิ้นเปลืองนอยกวาน้ํามันดีเซล ทําใหรถยนตสามารถวิ่งไดในระยะทางที่เพิม่ ขึ้น
3. การปลอยมลพิษ
ควันดํา
ผลการทดสอบรถยนตของกรมอูทหารเรือ พบวา รถยนตที่ใชน้ํามันดีเซลที่มี
สวนผสมของไบโอดีเซลมีคาของควันดํานอยกวารถยนตที่ใชน้ํามันดีเซล โดยรถยนตที่
ใชไบโอดีเซลในสัดสวนทีเ่ พิ่มขึ้น ยิ่งทําใหคาควันดําลดลง กลาวคือ ควันดําของรถยนตที่
ใช B100 มีคาต่ําที่สุด สอดคลองกับผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษ
กาซจากทอไอเสีย (THC, CO และ CO2)
ผลการทดสอบรถยนตของกรมอูทหารเรือ พบวา รถยนตที่ใชน้ํามันดีเซลที่มี
สวนผสมของไบโอดีเซลมีปริมาณการปลอยกาซสวนที่เปนกาซพิษ คือ CO และ TCH
นอยมาก และต่ํากวาคามาตรฐานที่กรมควบคุมมลพิษกําหนด สวนกาซที่ไมใชกาซพิษ คือ
CO2 มีปริมาณการปลอยกาซสูงกวาน้ํามันดีเซลเล็กนอย สอดคลองกับผลการทดสอบของ
กรมควบคุมมลพิษใช B100 มีคาต่ําที่สดุ สอดคลองกับผลการทดสอบของกรมควบคุม
มลพิษ
กาซจากทอไอเสีย (THC, CO และ CO2)
ผลการทดสอบรถยนตของกรมอูทหารเรือ พบวา รถยนตทใี่ ชน้ํามันดีเซลที่มี
สวนผสมของไบโอดีเซลมีปริมาณการปลอยกาซสวนที่เปนกาซพิษ คือ CO และ TCH
นอยมาก และต่ํากวาคามาตรฐานทีก่ รมควบคุมมลพิษกําหนด สวนกาซที่ไมใชกา ซพิษ
คือ CO2 มีปริมาณการปลอยกาซสูงกวาน้าํ มันดีเซลเล็กนอย สอดคลองกับผลการทดสอบ
ของกรมควบคุมมลพิษ

จัดทําโดยศูนยปฏิบตั ิการเครื่องจักรกลที่ 3 ต.น้ําพอง อ.น้ําพอง จ.ขอนแกน โทร.043-441490

You might also like