You are on page 1of 1

นางสาวกนกทิพย์ พงษ์ศิริยะกุล 09500983

Mission 1
คาโปรแลคตัมจัดอยูใ่ นอุตสาหกรรมปิ โตรเคมีข้นั กลาง ซึ่งมีที่มาดังนี้

ที่ มา : ห้ องสมุดปิ โตรเคมี (www.pttchemical.com)

คาโปรแลคตัมเป็ นวัตถุดิบสำคัญสำหรับการผลิตไนล่อน 6 ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ มากมาย โดย


ประมาณ 60% ของคาโปรแลคตัมจะนำมาผลิตเส้นใยไนล่อน 6 และอีกประมาณ 40% จะนำไปผลิตเป็ นเม็ดพลาสติกไนล่อน 6
และไนล่อน 6 แบบฟิ ล์ม
ไนล่อน 6 มีคุณสมบัติพเิ ศษ โดยเฉพาะความคงทนแข็งแรง ทนความร้อน และมีความยืดหยุน่ สูง ทำให้มีการนำมา
ใช้เพื่อเป็ นวัตถุดิบสำหรับผลิตภัณฑ์คุณภาพชนิดต่างๆ เช่น เสื้ อผ้า ชุดว่ายน้ำ ผ้าร่ ม ผ้าใบ แห อวน พรม (เนื่องจากทำความ
สะอาดได้ง่ายจึงนิยมนำมาทำเป็ นพรม) นอกจากนี้ เม็ดไนล่อน 6 ยังใช้ในการผลิตพลาสติกสำหรับงานวิศวกรรม ชิ้นส่วน
ยานยนต์คุณภาพสูง ทั้งในส่ วนของตัวรถ และส่ วนประกอบของเครื่ องยนต์ เช่น ท่อไอเสี ยของเครื่ องยนต์ กระปุกเก็บน้ำมัน
เบรก ชิ้นส่วนตัวถังรถจักรยานยนต์ ผ้าใบยางรถยนต์ และทำเป็ นฟิ ล์มแบบพิเศษเพื่อใช้เป็ นบรรจุภณั ฑ์สำหรับอาหาร ทำ
สายไฟ และสายเคเบิ้ล ในแต่ละปี ความต้องการเม็ดไนล่อน 6 จะมีเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์ที่มีความ
ต้องการชิ้นส่ วนยานยนต์คุณภาพสูงเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นคาโปรแลคตัมบางส่ วนยังถูกใช้ในการทำ cross-linking ของ
โพลิยรู ี เทน และใช้ในการสังเคราะห์ไลซีน (Lysine)
จากการผลิตคาโปรแลคตัมจะได้สารแอมโมเนียซัลเฟตเป็ นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็ นปุ๋ ยเคมีได้โดยตรง
(สู ตร 21-0-0) หรื อนำไปเป็ นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ยเคมีสูตรอื่นๆ เพื่อใช้ในการเกษตร โดยปั จจุบน ั ประเทศไทยมีความ
ต้องการใช้ปุ๋ยดังกล่าวประมาณปี ละกว่า 7 แสนตันต่อปี
Caprolactam มีการซื ้อขายกันอย่างกว้ างขวางทังในยุ
้ โรปตะวันตก ยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ญี่ปนุ่ และ
สหรัฐอเมริ กา ประเทศที่นำเข้ าเป็ นปริ มาณมากตังแต่ ้ ปี 2008 – ปั จจุบนั ได้ แก่จีน ไต้ หวัน และเกาหลี ซึง่ คิดเป็ นการนำเข้ า
สุ ทธิ 46% ของปริ มาณการใช้ในแถบเอเชีย โดยเฉพาะประเทศจีนที่ตอ้ งการเส้นใยไนล่อน 6 เพิม่ ขึ้นถึง 8%ต่อปี เนื่องจาก
การขยายของอุตสาหกรรมสิ่ งทอ และอีกประเทศนำเข้าที่สำคัญของไทยคืออินเดีย ทั้งนี้เพราะอินเดียเป็ นตลาดศักยภาพ ที่
น่าสนใจเนื่องจากมีจำนวนประชากรมากเป็ นอับดับ 2 ของโลกรองจากประเทศจีน และเป็ นประเทศที่มี ความเจริ ญเติบโต
ทางด้านเศรษฐกิจสูง มีการขยายตัวทางการค้าและการลงทุนสูงมากโดยเฉพาะอย่างยิง่ อุตสาหกรรมสิ่ งทอ และยานยนต์ที่มี
อัตราเติบโตสูง ดังนั้นความต้องการในการนำเข้าสารคาโปรแลคตัมซึ่งเป็ นวัตถุดิบของ อุตสาหกรรมดังกล่าวจึงเพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่องโดยเมื่อปี ที่ผา่ นมา อินเดียนำเข้าสารคาโปรแลคตัมมากกว่า 24,000 ตัน มูลค่าไม่ต ่ำกว่า 2 พันล้านบาททั้งนี้
ประเทศไทยเคยเป็ นผูส้ ่ งออกสารคาโปรแลคตัม รายใหญ่อนั ดับ 2 ของอินเดียโดยมีสดั ส่วนตลาดกว่าร้อยละ 25 แต่หลังจาก
มีการบังคับใช้มาตรการ AD ในปี 2547 ผูส้ ่ งออกไทยจึงไม่สามารถส่ งออกไปยังอินเดียได้อีก ดังนั้นการที่อินเดียไม่ต่ออายุ
มาตรการ AD จึงนับเป็ นโอกาสอันดีที่ผปู้ ระกอบการไทยสามารถส่ งออกไปยังอินเดียและอาจ สามารถกลับไปเป็ นผูส้ ่ งออก
รายใหญ่ของอินเดียได้อีกครั้ง

แผนภูมิวงกลมดัง

You might also like