You are on page 1of 190

สารประกอบอินทรียระเหยงาย (Volatile Organic Compounds)

ความหมายของสารประกอบอินทรียระเหยงาย หรือที่เรียกกันทั่วไปวาสาร VOCs มาจากคําวา Volatile organic


Compounds หมายถึงกลุมสารประกอบอินทรียที่ระเหยเปนไอไดงาย กระจายตัวไปในอากาศไดในอุณหภูมแิ ละความดัน
ปกติ ซึ่งมีองคประกอบหลักของสาร ไดแก อะตอมของธาตุคารบอน ไฮโดรเจน และมีองคประกอบอื่น ๆ ไดแก
ออกซิเจน ฟลูออไรด คลอไรด โบรไมด ซัลเฟอร และไนโตรเจน
สารประกอบอินทรียระเหย งาย(VOCs) ในบรรยากาศจัดเปนอากาศพิษ (Toxic Air) ซึ่งในชีวิตประจําวันเราไดรับ
สาร ชนิดนี้จากผลิตภัณฑหลายอยาง เชน สีทาบาน ควันบุหรี่ น้ํายาฟอกสี สารตัวทําละลายในการพิมพ อูพนสี
รถยนต โรงงานอุตสาหกรรม น้ํายาซักแหง น้ํายาสําหรับยอมผม และดัดผม สารกําจัดศัตรูพืช สารที่เกิดจากการเผา
ไหม และปนเปอนในอากาศ น้ําดื่ม อาหาร และเครื่องดื่ม
การแบงกลุมสาร VOCs สามารถแบงไดเปน 2 กลุม ใหญ ๆ ตามลักษณะของโมเลกุลของสาร คือ
1. กลุม Non-chlorinated VOCs หรือ Non-halogenated Hydrocarbons ไดแก กลุมไฮโดรคารบอนระเหยที่ไมมี
อะตอมของธาตุคลอรีนในโมเลกุล สารกลุมนี้มาจากสิ่งแวดลอม การเผาไหมกองขยะ พลาสติก วัสดุ สารตัวทําละลาย
สีทาวัสดุ ซึ่งทําใหมีผลเสียตอสุขภาพของผูไดรับคือทําใหปวยเปนโรคทางเดินหายใจ ตัวอยางกลุมสารนี้ไดแก
- กลุมสาร Aliphatic Hydrocarbons เชน Fuel oils, Industrial Sovents, Propane, 1,3-Butadiene, Gasoline, Hexane
- กลุมสาร Alcohols, Aldehyde, Ketone เชน Ethyl Alcohol, Methyl Alcohol, Formaldehyde
- กลุมสาร Aromatic Hydrocarbons เชน Toluene, Xylene, Benzene, Naphthalene, Styrene, Phenol
2. กลุม Chlorinated VOCs หรือ Halogenated Hydrocarbons ไดแก กลุมไฮโดรคารบอนระเหยที่มี
อะตอมของธาตุคลอรีนในโมเลกุล ไดแก สารเคมีที่ใชสังเคราะหในอุตสาหกรรม สารกลุมนี้มีความเปนพิษ
มากกวา และเสถียรในสิ่งแวดลอมมากกวาสารในกลุมสาร Non-chlorinated VOCs นั่นคือ สลายตัวไดยากใน
ธรรมชาติ และในทางเคมีจะมีความคงตัวสูง สะสมไดนาน รบกวนการทํางานของสารพันธุกรรม ยับยั้ง
ปฏิกิริยาชีวเคมีในเซลล มีฤทธิ์ในการกอมะเร็ง หรือกระตุนการเกิดมะเร็งได สารในกลุมนี้มีรายชือ่ ดังตอไปนี้
ตัวอยางของสารประกอบอินทรียระเหยงาย ชนิด Halogenated VOCs

- 1,1,1,2- Tetrachloroethane - Bromoform - Glycerol trichlorohydrin


- 1,1,1-Trichloroethane - Bromomethane - Hexachlorobutadiene
- 1,1,2,2,-Tetrachloroethane - Carbon tetrachloride - Hexachlorocyclopentadiene
- 1,1,2-Tetrachloroethane - Chlorodibromomethane - Hexachloroethane
- 1,1-Dichloroethane - Chloroethane - Methylene chloride
- 1,1-Dichloroethylene - Chloroform - Neoprene
- 1,2,2-Trifluoroethane - Chloromethane - Pentachloroethane
(Freon 113)
2

- 1,2-Dichloroethane - Chloropropane - Perchloroethylene


- 1,2-Dichloropropane - Cis-1,2-dichloroethylene - Propylene dichloride
- 1,2-Trans-Dichloroethylene - Cis-1,3-dichloropropane - Trichlorotrifluoroethane
- 1,3-cis-dichlor-1-propane - Dibromochloropropane - Monochlorobenzene
- 1-Chloro-2-propene - Dibromomethane - Tetrachloroethylene
- 2-butylene dichloride - Dichlorobromomethane - Trichloroethylene(TCE)
- Acetylene tetrachloride - Dichloromethane(DCM) - Vinyl chloride
- Bromodichloromethane - Ethylene dibromide - Vinyl trichloride
- 1,3-trans-dichlopropene - Fluorotrichloromethane(Freon11) - Vinylidene chloride

ผลกระทบของสารประกอบอินทรียระเหยงาย (VOCs) ตอสิ่งแวดลอม


สาร VOCs มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมคือมีผลตอชั้นของโอโซนของโลก โดยปกติโอโซนจะอยูในชั้น
บรรยากาศสูง ทําหนาที่กรองแสงอุตราไวโอเลต (UV) แตสาร VOCs มีผลทําใหโอโซนบนชั้นบรรยากาศสูง
เขามาอยูในชัน้ บรรยากาศใกลโลก และโอโซนนี้จะทําใหเกิดอันตรายตอมนุษย เชน ทําใหเจ็บไข ไมสบาย
เจ็บคอ หายใจไมสะดวก ระคายเคืองตา แกวตา จมูก คอ ทรวงอก ไอ ปวดศีรษะ นอกจากนี้โอโซนยังเปน
ตัวทําใหสิ่งกอสรางชํารุด ผลผลิตทางการเกษตรตกต่ํา
ผลของสารประกอบอินทรียระเหยงาย (VOCs) ที่มีตอสุขภาพ
สาร VOCs สามารถเขาสูรางกายได 3 ทางคือ
1. การหายใจ
2. การกิน-ดื่มทางปาก
3. การสัมผัสทางผิวหนัง
เมื่อสาร VOCs เขาสูรางกายแลวจะผานเขาสูตับ ซึ่งจะมีเอนไซมและวิถีทางเมตะบอลิสม
(metabolism)หลากหลายแตกตางกัน สารพิษถูกเปลี่ยนแปลงทางเมตะบอลิสมในตับในระยะแรก โดยอาศัย
เอนไซมในระบบ ชนิดของเอนไซมที่จะใชแตกตางกันแลวแตชนิดของสาร VOCs ที่ไดรับ และในขั้นตอน
สุดทายจะถูกขับทิ้งทางปสสาวะในรูปของกรด เชน สารไตรคลอโรเอทธิลลีน เมื่อถูกขับออกมาในขั้นตอน
สุดทาย จะออกมาในรูปของ กรดไตรคลอโรอะซีติก ซึ่งความเปนพิษตอรางกายจะมากหรือนอยนั้นขึ้นอยูก ับ
ปจจัยดังตอไปนี้
1. ชวงครึ่งชีวติ ของสาร VOCs ในรางกาย ถามีการตรวจวัดสารประกอบอินทรียระเหยงาย (VOCs)
ในเลือดสามารถบอกประวัติการไดรับ หรือการสัมผัส VOCs ในประชากรได
2. สภาวะความสมบูรณของรางกาย ปฏิกิริยาชีวเคมีทางเมตาบอลิสมในตับและเนื้อเยื่อแปรสภาพไปเปนพิษ
มากขึ้นหรือนอยลงได และปริมาณอัลกอฮอลหรือสารเคมีอื่นในกระแสเลือดและเนื้อเยื่อดวย เชน การดื่มเหลาหรือ
เครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอลจะเพิ่มการดูดซึมและเพิ่มระดับของสาร 2-butamone และ acetone ในเลือดของนักดื่ม
เหลา
3

3. ระบบการขับถายของเสีย การขับถายสารพิษทิ้ง สารVOCs ถูกขับโดยตรงผานไตออกมาทางปสสาวะ ทาง


ลมหายใจ และโดยทางออมผานตับ และน้ําดี ถาสารนั้นถูกขับออกไดงาย ความเปนพิษจะนอยลงกวาสารเคมีที่ถูกขับ
ออกทิ้งไดยาก
ผลกระทบของสารประกอบอินทรียระเหยงายตอระบบตาง ๆ มีดังนี้
1. ผลกระทบตอดานภูมิคุมกัน
สารประกอบอินทรียระเหยงายหลายชนิดทําใหระบบภูมิคุมกันถูกรบกวนหรือทําลาย ศักยภาพการ
ปองกันโรคการติดเชื้อจะลดลง เชน จากการศึกษาประชากรโดยการตรวจเลือด และผิวหนังในคนที่อยูใกลที่
ทิ้งขยะสารเคมีมีพิษ (pesticide dump sites) พบวามีสาร Dichloroethane (DCE) ในเลือดมากกวาผูที่อยู
หางไกลกวา ยิ่งอยูในบริเวณนั้นนาน ๆ ยิ่งไดรับมากขึ้นแตกตางกันอยางชัดเจน นอกจากนี้เม็ดเลือดขาวของ
ประชากรที่อยูใกลขยะมีพิษมากกวาจะมีเม็ดเลือดขาวต่ํากวาในกลุมประชากรที่อยูหางไกลออกไป
2. ผลกระทบตอระบบประสาท
การไดรับสารประกอบอินทรียร ะเหยงายจะทําใหเกิดอาการทางการกดประสาทหลายอยาง เชน การงวงนอน
วิงเวียนศีรษะ ซึมเศรา หรือหมดสติได ยิ่งไดรับนาน ๆ จะยิ่งทําใหมีผลมากขึ้น
3. ผลกระทบเสียหายตอสุขภาพดานอื่น ๆ
สารประกอบอินทรียระเหยงาย อาจมีผลกระทบตอสุขภาพระบบอื่น ๆ ไดแก ระบบพันธุกรรม ระบบฮอรโมน
ระบบสืบพันธุ อาจทําใหเกิดโรคมะเร็งบางชนิดได และโรคทางระบบสืบพันธุ เชนเปนหมัน ความพิการของเด็กมีการ
กลายเพศ เปนตน
การปองกันและการแกไขสารประกอบอินทรียระเหยงาย
สารประกอบอิน ทรี ย ร ะเหยง า ย มี ผ ลต อสุ ข ภาพมากหรื อ นอ ยนั้น ขึ้ น อยู กับ คุ ณ สมบัติ ข องสารเคมี
ปริมาณที่ไดรับ สภาวะทางชีวภาพของรางกาย และปจจัยอื่น ๆ สาร VOCs บางชนิดหากไดรับในปริมาณ
มากจะทําใหเกิดการทําลายระบบประสาทสวนกลาง คือไปกดประสาทสวนกลางโดยอาจจะเกิดอาการทันที ทํา
ใหหมดสติได และในกรณีที่ไดรับสาร VOCs ปริมาณนอย เปนเวลานานก็จะทําใหเกิดปญหาเรื้อรัง อาจทําให
เกิดมะเร็ง และเกิดการเสื่อมของเนื้อเยื่ออวัยวะภายในไดดวย การเกิดพิษของสาร VOCs มีกลไกมาจาก
คุณสมบัติทางเคมีของสารที่ทนทานตอการสลายตัวทางชีวภาพ และสามารถรวมตัวกับสารชีวโมเลกุล ดีเอ็นเอ
โปรตี น ไขมัน ได ทํ า ให ป ฏิ กิ ริ ย าทางชี ว เคมีใ นเซลล ถู ก รบกวน และหยุ ด ชะงั ก ซึ่ ง ในการแก ไ ขป ญ หา
สารประกอบอินทรียระเหยงายอาจทําไดโดยการทําลายสาร VOCs เชน ทางเคมีโดยการใชกาซโอโซน
ไฮโดรเจนเปอรออกไซด และสารออกซิไดซอื่น ๆ หรือในทางชีวภาพใหใชจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพในการ
ยอยสลายได สําหรับการรักษาผูปวยนั้นมีความลําบากยุงยากมาก ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดคือการปองกันและควบคุม
4

กลุมตัวอยางสารประกอบอินทรียระเหย งาย(VOCs)ที่ตรวจพบในพื้นที่มาบตาพุดมีรายชือ่ ดังตอไปนี้

เกณฑมาตรฐานความ เกณฑมาตรฐานตาม
ลําดับ สารประกอบอินทรียระเหยงาย(VOCs) ปลอดภัยของ ประกาศ
สหรัฐอเมริกา (ACGIH) กระทรวงมหาดไทย
สวนในลานสวน (ppm) สวนในลานสวน (ppm)
1 Dichlorodifluoromethane(Freon12) 1,000 -
2 Chloromethane 50 -
3 Vinyl chloride 1 1
4 1,3-Butadiene 2 -
5 Bromomethane 1 -
6 Chloroethane - -
7 Trichlorofluoromethane (Freon 11) C 1,000 -
8 trichlorofluoroethane(Freon113) 1,000 -
9 3-Chloropropene 1 -
10 Dichloromethane 50 500
11 1,1-Dichloroethane 100 -
12 Cis-1,2-Dichloroethylene 200 -
13 Chloroform 10 50
14 1,1,1-Trichloroethane 350 -
15 Benzene 0.5 10
16 Acrylonitrile 2 -
17 1,2-Dichloroethane - -
18 Carbon tetrachloride 5 10
19 Trichloroethylene 50 100
20 1,2-Dichloropropane 75 -
21 Cis-1,3 –Dichloropropene 1 -
22 Toluene 50 200
23 1,1,2-Trichloroethane 350 -
24 Tetrachloroethylene 50 100
25 1,2-Dibromoethane - -
26 Chlorobenzene 10 -
27 Ethylbenzene 100 -
28 o,p,m-Xylene 100 100
29 Styrene 20 200
30 1,1,2,2-tetrachloroethane 1 -
31 1,3,5-Trimethylbenzene 25 -
5

32 1,2,4-Trimethylbenzene 25 -
33 Benzyl Chloride 1 -
34 1,4-Dichlorobenzene 75 -
35 1,2-Dichlorobenzene 25 -
36 Hexachloro-1,3-butadiene - -
37 1,3-Dichlorobenzene - -
38 1,2,4-Trichlorobenzene C5 -
39 1-Ethyl-4-methylbenzene - -
40 Freon 114 - -
41 1,1-Dichloroethylene C5 -
42 Trans-1,3-Dichloropropene - -

ตัวอยางสารประกอบอินทรียระเหยงาย (VOCs) ที่เปนสารกอมะเร็ง (Carcinogen) และสารสงเสริมการเกิดเนื้องอก


(tumor promoter) และชนิดของมะเร็งที่พบ
สารเคมี ชนิดของมะเร็งที่พบ
Benzene Acute myeloblastic leukemia
Carbon Tetrachloride hepatoma
1,2-Dichloropropane -
Ethylbenzene -
1,2-Dichloroethane -
Pentachloropheno -
Toluene -
Trichloroethylene -
Dichloromethane -
Vinyl Chloride -
Hexachlorobenzene -
Dibromochloropropane -
Ethylene Dibromide -
Trihalomethanes -
Trichloroacetylene Lung cancer
Halo acetic Acid -
6

สารไดคลอโรไดฟลูออโรมีเทน (ฟรีออน 12)


1. รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : Freon 12 ชื่อทางเคมี: ไดคลอโรไดฟลูออโรมีเทน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : CFC-12 , Freon-12 , Halon 122 ,
Halocarbon -12 , Refrigerant 12 ,
Refrigerant R12,Difluorodichloromethane
Arcton 12 , Frigen 12 ,Genetron 12 ,
Halon , Isotron 2 , R12 , Algofrene type 2
Arcton 6 , Electrp-cf 12 , F12 , FC 12 ,
Eskimon 12 , Freon f-12 , Ledon 12 ,
Propellent 12.
สูตรทางเคมี : CCl2F2
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใช เ ป น สารทํ า ความเย็ น ใช เ ป น สาร-
Blowing agent ใชในการขับเคลื่อน เปน
ตัวทําละลาย เปนสารลางไขมัน ใชเปน
สารโมโนเมอรในการผลิตเรซิน และใช
ในการทําใหสารแข็งตัว
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1028
2.2 CAS No. :75-71-8
2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : ฟลูออโรคารบอน -12
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1,000 ppm
คา LD50 : - mg/ kg
4. ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : -29.8 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -158 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 250 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้าํ (Solubility in water) : 0.028 กรัม/100 มิลลิลิตร ที่ 25 ํซ
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.452
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
7

4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) :ใส ไมมีสี เปนกาซและอาจเปนของเหลวได
ภายใตความดัน กลิ่นฉุน
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
4.9 อื่น ๆ : ละลายไดในแอลกอฮอล อีเธอร กรดอะซีติก
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :ไมเผาไหม
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %
- คาสูงสุด (UEL) : - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : -
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้มีความเสถียร
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะ เช น โซเดี ย ม โพแทสเซี ย ม
อะลูมิเนียม แมงกานีส สังกะสี ทําใหเกิด
การระเบิ ด ได นอกจากนี้ ยั ง มี พ ลาสติ ก
สารเคลือบผิว และสารที่มีอุณหภูมิสูงกวา
260 ํซ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไมมี
(Hazardous Decomposition Products)
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคาย
เคืองตอทางเดินหายใจ จมูก คอ ทํ าให
ปวดศี ร ษะ สั่ น ทํ า ให หั ว ใจเต น เร็ ว
เนื่องจากหัวใจลมเหลว อาจทําใหเสียชีวิต
:การกลื น หรื อ กิ น เข า ไป จะทํ า ให ป วด-
ศีรษะ หมดสติ
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหเกิดอาการชา
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เนื่องจากความเย็น
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคาย
เคืองตอตา มีอาการชาเหมือนน้ําแข็งกัด
: สารนี้ทําใหเลือดจับตัวเปนกอน ทําลายระบบ
หายใจ
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure, Short – term)
8

6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure, Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :1,000 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : -
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :-
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ให เ ลื อ กอุ ป กรณ ที่ เ หมาะสมกั บ ช ว ง
(Respiratory Protection Type) เขมขน เชน สารที่มีชวงความเขมขนไมเกิน
10,000 ppm ใหใชอุปกรณสงอากาศ-
สําหรับหายใจ (Supplied-air respirator)
โดยมีคาAPFเทากับ 10
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ที่เปนของเหลว ใหเคลื่อนยาย
ผูปวยออกจากบริเวณที่มีสารเคมี ใหฉีดลางผิวหนัง
ทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 20 นาที หรือ
จนกว า สารจะออกหมด อย า ถู บ ริ เ วณที่ เ ป อ น
สารเคมี พรอมถอดรองเทา และเสื้อผาที่ปนเปอน
สารเคมีออก นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหเคลื่อนยายผูปวยออกจาก
บริเวณที่มีสารเคมี ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณ
มากๆอยางนอย 20 นาที หรือจนกวาสารจะออก
หมด นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มี
อากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถา
หายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :-
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด เมื่อไมไดใชงาน
- เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น มีการระบายอากาศ
9

เพียงพอ หางจากแหลงติดไฟ หรือแหลงความรอน


- เก็บใหหางจากสารที่เขากันไมได และแยกจากบริเวณการ
ทํางาน
- ทําความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี
- ติดปายเตือนอันตราย และติดฉลากที่ภาชนะ
- เก็บภาชนะบรรจุไวในระดับความสูงที่เหมาะสมกับการ
เคลื่อนยาย
- ภาชนะบรรจุ สารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคาง
อยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอันตรายได
-มี อุ ปกรณ ดั บเพลิ ง แ ละทํ าความสะอาดในบริ เวณเก็ บ
สารเคมี
- ติดปายหามสูบบุหรี่
- อยาใชรวมกับสารที่เขากันไมได
- ตอภาชนะบรรจุลงดิน
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก -อยาเขาไปในบริเวณเพลิงไหมจนกวาจะทํา
(Spill and Leak Procedures) ความสะอาด เสร็จ
- ทําความสะอาดโดยบุคคลที่มีความชํานาญ
- มีอุปกรณดบั เพลิง หรือยายแหลงจุดติดไฟออกไป
- ระบายอากาศเมื่อมีสารหกรั่วไหลเพื่อไมใหกาซ
แพรกระจาย
- ให ห ยุ ด การรั่ ว ไหล ถ า สามารถทํ า ได โ ดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- ป อ งกั น ไม ใ ห ส ารเคมี ห กรั่ ว ไหล ไหลลงสู ท อ
ระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
(Disposal Methods)
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชสารดับเพลิง / วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสําหรับ
สภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

*********************************************
10

สารคลอโรมีเทน (Chloromethane) หรือ เมทธิล คลอไรด (Methyl chloride)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : - ชื่อทางเคมี: คลอโรมีเทน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) :Monochloromethane , Artic , R-40,
Refrigerant R40.
สูตรทางเคมี : CH3Cl
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารตัวกลางในการทําซิลิโคน เปน
ตัวเรงในการละลายยาง การเกษตร การ
ผลิตเมทธิลเซลลูโลส
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1063
2.2 CAS No. :74-87-3
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : คลอโรมีเทน
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm
คา LD50 : 1,800 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : -24 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -98 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 3,722 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.74 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.92
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนกาซเหลว ไมมีสี ไมมีกลิ่น
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -46 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 8.1 %
- คาสูงสุด (UEL) : 17.4 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 632 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
11

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิไดซ เอมีน เอไมด อะลูมิเนียม


แมกนีเซียม โซเดียม และโลหะอัลคาไลด
สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง :เปลวไฟ หรือบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงจะ
กระตุ น ให ส ารเคมี นี้ ส ลายตั ว เนื่ อ งจาก
ความรอน
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซฟอสจีน ไฮโดรเจนคลอไรด
(Hazardous Decomposition Products)
5.7 อื่น ๆ : สารนี้เปนสารไวไฟ ไอระเหยของสารนี้
หนักกวาอากาศ และสามารถแพรกระจาย
ไปยั ง แหล ง จุ ด ไฟ ทํ า ให เ กิ ด ประกายไฟ
ยอนกลับได
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเข า ไป ถ า สั ม ผั ส สารนี้ เ ป น
เวลานานจะทําใหตายได แตถาสัมผัสสาร
ในปริมาณมากเกินไป จะมีผลทําใหระบบ
ประสาทส ว นกลางถู ก กด ทํ า ลายสมอง
อารมณแปรปรวน กระหายน้ํา เวียนศีรษะ
งวงนอน คลื่นไส อาเจียน ทองรวง ชัก
กระตุก และตายได
:การกลื น หรื อ กิ น เข า ไป ไม น า จะเป น
อันตรายเนื่องจากคุณสมบัติทางกายภาพ
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) :การสัมผัสถูกผิวหนัง กาซนี้ไมเปน-
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] อันตรายตอผิวหนัง แตถาสัมผัสสารนี้ที่
เป น ของเหลว จะทํ า ให ผิ ว หนั ง เป น แผล
ไหม เนื่องจากความเย็น และสารนี้ไมดูด
ซึ ม ผ า นผิ ว หนั ง เนื่ อ งจากคุ ณ สมบั ติ ท าง
กายภาพ
:การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารนี้จ ะ
กอใหเกิดการระคายเ คือง ถาสัมผัสสารนี้
ที่ เ ปน ของเหลวจะทําใหต าเปน แผลไหม
เนื่องจากความเย็น หรือฟรอสไบท
12

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : -
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : -
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 50 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงเปลวไฟ หรือบริเวณที่มี
(Fire and Explosion Prevention) อุณหภูมิสูง
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :-
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขน
(Respiratory Protection Type) ที่เกินกวาคามาตรฐานที่ NIOSH แนะนํา
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนัง
ทั น ที ด ว ยน้ํ า ปริ ม าณมากอย า งน อ ย 15
นาที พร อ มถอดเสื้ อ ผ า และรองเท า ที่
ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริมาณมากอยางนอย 15 นาที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุด
หายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดให
ออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :-
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
- เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น และมีการ
ระบายอากาศเพียงพอ
- ห า มเก็ บ ในภาชนะบรรจุ ที่ ทํ าจาก
อะลูมิเนียม
13

- ห า มสู บ บุ ห รี่ ใ นบริ เ วณที่ เ ก็ บ และใน


ระหวางการเคลื่อนยาย
-ให ล า งทํ า ความสะอาดร า งกายให ทั่ ว ถึ ง
ภายหลังที่มีการเคลื่อนยาย
- หามใชความดันอากาศสําหรับเคลื่อนยาย
สารนี้
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก - ปด/ เคลื่อนยายแหลงจุดติดไฟทั้งหมดให
(Spill and Leak Procedures) ออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล
-ใช โ ฟมเพื่ อ ระงั บ การเกิ ด ไอระเหย
จนกระทั่ ง เก็ บ กวาดสารที่ ห กรั่ ว ไหล
เรียบรอยแลว
- ปองกันไมใหสารที่หกรั่วไหล ไหลลงสู
ทอระบายน้ํา ดิน ผิวน้ํา หรือน้ําใตดิน
- ให ส วมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายที่
เหมาะสม
- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไป
ตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี :ให เ ป น ไปตามกฎระเบี ย บที่ ท างราชการ
(Disposal Methods) กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ถาเกิดเพลิงไหมเล็กนอย ควรใชน้ําฉีดเปน
ฝอย ผงเคมี แ ห ง คาร บ อนไดออกไซด
โฟม

************************************************
14

สารไวนิล คลอไรด (Vinyl chloride)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) :- ชื่อทางเคมี: สารไวนิล คลอไรด
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) :Trovidur , Ethylene monochloride,Vinyl C,
Monochloroethylene, Chloroethylene,VC,
VCM,Monochloroethene,Monochloroethylene
Ethylene monochloride,
สูตรทางเคมี : C2H3Cl
1.3 การใชประโยชน(Use) : เปนวัตถุดิบใชผลิตพลาสติก สังเคราะห
สารอินทรีย
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1086
2.2 CAS No. :75-01-4
2.3 สารกอมะเร็ง :เปนสารกอ มะเร็ง ตามบั ญชี ร ายชื่อของ
OSHA,NTP,และ IARC
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : สารไวนิล คลอไรด
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1 ppm
คา LD50 :500 mg/ kg
4. ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : -13 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -154 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 2,515.6 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 21.1 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.3 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.9106
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) :ไมมีสี สถานะกาซ กลิ่นหอมหวาน
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :-78 ํ ซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) -คาต่ําสุด (LEL) : 3.8 % LFL : 3.6 %
-คาสูงสุด (UEL) : 22 % UFL : 33 %
15

5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition.Temperature):472 ํซ


5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :อาจเกิดปฏิกิริยาโพลิเมอร ควรหลีกเลี่ยง
การสัมผัสกับความรอน แสง อากาศ น้ํา
และสารที่เขากันไมได
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะคาไบด โลหะ สารออกซิ ไ ดซ
เปอรออกไซด
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :ฟอสจีน สารประกอบฮาโลเจน
(Hazardous Decomposition Products) ออกไซดของคารบอน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป การสัมผัสเปนเวลาสั้น ๆ
จะก อ ให เ กิ ด การระคายเคื อ ง คลื่ น ไส
หายใจขัด หัวใจเตนชาผิดปกติ ปวดศีรษะ
เซื่องซึม มึนเมา
:การกลืนหรือกินเขาไป ทําใหเนื้อเยื่อตาย
หรือไดรับอันตราย เนื่องจากความเย็นจัด
(Frostbite)
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)]
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : -
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสเปนเวลานาน จะทําใหรูสึก
(Effects of Over Exposure , Long – term) เมื่อยลา หมดแรง ผิวหนังซีดเปนสีน้ําเงิน
ระบบเลือดผิดปกติ ทําลายตับ และทําให
เปนมะเร็ง
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : -
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :-
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศ
(Respiratory Protection Type) ในตั ว (SCBA) พร อ มหน า กากแบบเต็ ม
ใบหนา
16

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -


7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ): -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง หากรูสึกเย็นบริเวณ
ที่ปนเปอนใหใชน้ําอุนลาง ถาหาไมไดให
ใชผาพันปดไว เพื่อใหการไหลเวียนเปน
ปกติ นําสงแพทยทันที
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริ ม าณมากอย า งน อ ย 15 นาที พร อ ม
กระพริบตาถี่ ๆ ขณะทําการลาง นําสงไป
พบแพทยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สู บ ริ เ วณที่ มี อ ากาศบริ สุ ท ธิ์ ใช ถุ ง ที่ มี
ลักษณะคลายหนากาก หรืออุปกรณชวย
หายใจถาตองการ รักษารางกายผูปวยให
อบอุน และอยูนิ่ง นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :-
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่มิดชิด
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแหง และมีการ
ระบาย อากาศเพียงพอ
- เก็บหางจากความรอน และแหลงจุดติด
ไฟทั้งหมด และสารที่เขากันไมได
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) :-ใหปด/เคลื่อนยายแหลงจุดติดไฟ
ทั้งหมด
- กั้นแยกบริเวณที่สารหกรั่วไหล และกัน
บุคคลที่ไมเกี่ยวของและไมสวมใสอุปกรณ
ป อ งกั น ให อ อกห า งจากบริ เ วณที่ ห ก
รั่วไหล
- ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
17

- จัดใหมีการระบายอากาศบริเวณที่สารหก
รั่วไหล
- ใช น้ํ า ฉี ด เป น ฝอย เพื่ อ ป อ งกั น การฟุ ง
กระจายของไอระเหย
- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไป
ตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด ถา
เกิดเพลิงไหมรุนแรงใหใชโฟมที่เหมาะสม
น้ําฉีดที่เปนฝอย

********************************************
18

สาร 1,3 – บิวตะไดอีน (1,3 –Butadiene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) :- ชื่อทางเคมี:1,3-บิวตะไดอีน(1,3-Butadiene)
1.2 ชื่อพองอื่นๆ :Vinyl ethylene, Biethylene, Pyrrolylene,Buta-
1,3diene,Bivinyl,Alpha-gamma-butadiene,
Erythrene, 1,3-Butadiene various grades.
สูตรทางเคมี : C4H6
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชในการผลิตสารเทอรโมพลาสติก ยางไน-
ไตรท ผลิตกาว
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1010
2.2 CAS No. :106-99-0
2.3 สารกอมะเร็ง :เปนสารกอมะเร็งในสัตว และสงสัยวาอาจจะ
เปนสารกอมะเร็งในมนุษยได และนอกจากนี้ยังทํา
ใหเกิดเนื้องอก ทําใหประสาทหลอน มีผลตอหลอด
เลือด ปอด ทรวงอก ตับ และอวัยวะเพศชาย
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : 1,3 –บิวตะไดอีน
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 2 ppm
คา LD50 : 5,480 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :- 4 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) :-109 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 3,309 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 38 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : เล็กนอย
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.627
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) :ไมมีสี เปนกาซเหลว กลิ่นคลายกาซโซลีน
ออน ๆ
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -76 ํซ
19

5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 2 %


- คาสูงสุด (UEL) : 12 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 414 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : อาจเกิดอัน ตรายจากปฏิกิริยาโพลิเมอรขึ้นได
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ อะซิตัลดีไฮด เปอรออกไซด
ทองแดง ทองแดงผสมและอากาศ และสภาวะ
ที่ตองหลีกเลี่ยงคือที่อุณหภูมิสูงเกิน 49 องศา
เซลเซียส
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อเผาไหมจะเกิดกาซคารบอนไดออกไซด
(Hazardous Decomposition Products) และสารไฮโดรคารบอน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคือง
ตอเยื่อบุจมูก ถามีความเขมขนสูงจะกอใหเกิด
อาการไอ เซื่ องซึ ม อ อนเพลี ย ปวดศี รษะ
วิงเวี ยนศี รษะ และอาการอื่ นที่ เกี่ ยวกั บการ
ผิดปกติของเยื่อบุประสาท เปนไข หนาวสั่น ไอ
:การกลื นหรื อกิ นเข าไป อาจเกิ ดแผลไหม
เนื่องจากความเย็นตอเยื่อบุเมือก และระคาย
เคืองตอกระเพาะอาหาร
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองเล็กนอย ถาเปนกาซเหลวอาจทําใหเกิด
แผลไหมเนื่องจากไอเย็น กอใหเกิดผื่นแดง และ
พุพอง และมีอาการปวด
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
เล็กนอย ถาเปนกาซเหลวอาจทําใหเกิดแผลไหม
เนื่องจากความเย็นได ก อใหเกิ ดอาการตาแดง
ปวดตา และทําใหสายตาพรามัวได

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
20

6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure ,Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 2 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : -
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :-
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหสวมใสอุปกรณที่เหมาะสมกับสภาพการ
(Respiratory Protection Type) ทํางาน
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) :-
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหลางผิวหนังทันที
ดวยสบูหรือ น้ําปริมาณมากๆ 15 นาที อยาถู
บริ เวณที่สัมผัสสาร เพื่อปองกันเนื้อเยื่อถูก
ทํ าลาย ถ าเกิ ดการระคายเคื องให รี บไปพบ
แพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาดวยน้ําปริมาณ
มากๆ อยางนอย 15 นาที และกระพริบตาถี่ ๆ
ขณะทําการลาง ถาเกิดการระคายเคืองใหรีบ
ไปพบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจให ช วยผายปอด ถ าหายใจติ ดขั ดให
ออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : สําหรับแผลไฟไหมใหรีบลางดวยน้ําอุน

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) :


8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) -เก็ บในภาชนะบรรจุ ที่ ป ดมิ ดชิ ด ป องกั น
ความเสียหายทางกายภาพ
21

- เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น มีอากาศถายเท


ดี ควรมีการตอสายดิน
- ควรเก็บใหหางประกายไฟและเปลวไฟ หาง
จากน้ํา และทอระบายน้ําเสีย
- ควรใสชุดปองกันตามขอควรระวังของสารที่
ให มา ล างทํ าความสะอาดภายหลั งจากการ
เคลื่อนยายทุกครั้ง
-ไม ควรเจาะถังเก็บ ควรเก็บใหห างจากสาร
หรือสภาวะที่เขากันไมได
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) -ใหอพยพบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของ
ออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล
- ควรหยุ ด การรั่ ว ไหลถ า ทํ า ได และ
ควบคุมการหกรั่วไหลไว
- ป ดแหล งของการจุ ดติ ดไฟทั้งหมด ดูด
ซับดวยสารที่แ หง และเฉื่ อยตอปฏิกิริย า
เชน ทราย ดิน อื่น ๆ
- ปองกันมิใหไหลลงสูแหลงน้ํา ทอระบายน้ํา
- เก็บใสในภาชนะบรรจุดวยอุปกรณที่ไม
กอใหเกิดประกายไฟ
- ให ส วมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายที่
เหมาะสม
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ-
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชผงเคมีแหง โฟม และคารบอนไดออกไซด

*******************************************
22

สารโบรโมมีเทน (bromomethane) หรือ เมทธิล โบรไมด (Methyl bromide)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : - ชื่อทางเคมี:โบรโมมีเทน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) :monobromomethane,Curafume,
Embafume, Haltox, Iscobrome, Terabol,
Brom-O-Sol, Brom-O-Gas, Meth-O-Gas,
Terr-O-Gas, Brom-O-Gaz, Celfume,
Kayafume, MeBr, Halon 1001, Dowfume
mc-2, Dowfume mc-33, EDCO, MB,
MBX, Metafume, Methogas, Profume,
Rotox, Terr-o-gas 100, Zytox , Dowfume
สูตรทางเคมี : CH3Br
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนยาพนควันเพื่อฆาเชื้อโรคในอาหาร
เชน ผลไมแหง แปง ถั่ว ในการเก็บรักษา
เมล็ดพืช และใชงานไดหลายประเภท
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1062
2.2 CAS No. :74-83-9
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : เมทธิล โบรไมด
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 1 ppm
คา LD50 : 214 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 3.56 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -93.66 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 1,515 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.09 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.72
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนกาซ ไมมีสี กลิ่นหวาน
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
23

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 13.5 %
- คาสูงสุด (UEL) : 14.5 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :537 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้สามารถเกิดปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม
และอั ล ลอยด เกิ ด เป น สารประกอบ
อะลูมินัมเมทธิลเลท ซึ่งสามารถลุกติดไฟ
ไดเองเมื่อสัมผัสกับอากาศ
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะผสมของอะลู มิ เ นี ย ม อะลู มิ เ นี ย ม
ยาง และพลาสติก และสภาวะที่อุณหภูมิ
สูง
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :ไฮโดรเจนโบรไมด คารบอนิลโบรไมด
(Hazardous Decomposition Products) และคารบอนมอนนอกไซด
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง
: การหายใจเขาไป การหายใจเอาสารที่มี
ความเขมขนต่ําเขาไป จะกอใหเกิดอาการ
เวียนศีรษะ งวงนอน ปวดศีรษะ สูญเสีย
ก า ร ท ร ง ตั ว ก ล า ม เ นื้ อ ทํ า ง า น ไ ม
ประสานกัน โรคลมบาหมู สายตาพรามัว
สับสน ทําลายปอด และไต
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกตา ทําใหตาแดง และอาจทําให
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เกิดการมองไมเห็นชั่วคราว นอกจากนี้
สารนี้ยังมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง
โรคปอดอักเสบ ทําลายไต เปนอันตราย
ตอทารกในครรภ บุคคลที่มีโรคหัวใจ ตับ
ไมควรทํางานหรือใชสารเคมีนี้

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :มีน้ําในปอด กลามเนื้อออนลา และ


(Effects of Over Exposure ,Short – term) เจ็บปวด การทํางานไมประสานกัน มอง
ไม ชั ด เจน อุ ณ หภู มิ ใ นร า งกายลดลง
24

อาการโคมา ระบบประสาทสวนกลางถูก
กด สัมผัสถูกผิวหนังและตาจะทําใหเปนสี
แดง เจ็ บ และเกิ ด การไหมอ ย า งรุ น แรง
สามารถถูกดูดซึมผานผิวหนัง หากความ
ดั น ลดผ า นวาล ว และท อ อาจทํ า ให เ กิ ด
ความเย็นจัด กัดผิวหนังที่สัมผัสได
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :ระบบประสาทสวนกลางถูกกด จะมี-
(Effects of Over Exposure , Long – term) อาการปวดเมื่อย ระคายเคือง นอนไมหลับ
เนื้อเยื่อสมองเสื่อม งุนงง ทําใหลําบาก
ในการทรงตัว ออนเพลีย ประสาทอักเสบ
ผิวหนังอักเสบ
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่ทําปฏิกิริยาดวย เชน
(Fire and Explosion Prevention) อะลูมิเนียม และอัลลอยด เพราะจะเกิด
เปนสารประกอบอะลูมินัมเมทธิลเลท ซึ่ง
สามารถลุ ก ติ ด ไฟได เ องเมื่ อ สั ม ผั ส กั บ
อากาศ
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :-
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขน
(Respiratory Protection Type) ตามที่NIOSH แนะนํา
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : สวมใสแวนตานิรภัย ติดตั้ง
ฝกบัว และที่ลางตาฉุกเฉิน
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ผิ ว หนั ง ให ฉี ด ล า งผิ ว หนั ง
ทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริมาณมากอยางนอย 15 นาที โดยใชนิ้ว
ถางแยกเปลือกตาออก
25

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก


สู บ ริ เ วณที่ มี อ ากาศบริ สุ ท ธิ์ ให พั ก ผ อ น
อยางนอย 48 ชั่วโมง ใหแพทยสังเกตการ
เกิดน้ําทวมปอด และความผิดปกติของไต
และใหการรักษาตามอาการ สําหรับคนที่
หมดสติใหชวยผายปอด และใหออกซิเจน
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนกินสารนี้เขาไป ใหนําสงแพทย
ทั น ที ถ า ผู ป ว ยหมดสติ อย า ให อ ะไรเข า
ปากผูปวย ถาผูปวยที่มีสติเกิดการอาเจียน
ควรใหกมศีร ษะต่ํา กว าสะโพก เพื่ อชว ย
ปองกันการหายใจ แตถาผูปวยหมดสติให
หันศี รษะไปดานขาง ถ ากลืนหรือกินให
แจงแพทยใหทําการลางทอง
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
-ใชอุปกรณลดความดันเมื่อทําการตอถังที่
มีความดันต่ํา ( < 100 psig)
- เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น และมีการ
ระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บหางจากบริเวณทางเดิน และทางออก
ฉุกเฉิน
- อยาเก็บสารไวที่อุณหภูมิเกิน 52 องศา
เซลเซียส
- ปองกันการทําลายทางกายภาพ
- ภาชนะบรรจุควรวางอยางมั่นคง และตั้ง
ตรง เพื่ อ ป อ งกั น การหล น หรื อ การ
กระแทก
- ภาชนะบรรจุที่เ ต็ม และวางเปลา ควร
วางแยกจากกัน
- ใชระบบ “first in – first out”เพื่อปองกัน
สารหมดอายุ
- ติด ปา ย “หา มสูบ บุห รี ่ห รือ จุด ไฟ”
ในบริเวรที่เก็บสารเคมี
26

- อยาใหความรอนภาชนะบรรจุ เพราะจะ
เปนการเพิ่มอัตราการเกิดประจุ
- ตรวจวาลวเพื่อปองกันอันตรายของสาร
- ปดวาลวเมื่อใชงานเสร็จแลว และภาชนะ
ที่วางเปลา
- อยาลากหรือหมุนถังกาซ ใหใชรถลากที่
เหมาะสม
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures)-ใหเคลื่อนยายออกจากบริเวณที่มีการ
หกรั่วไหล
- ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย
- ถาสารหกเลอะอุปกรณที่ใช ใหฉีดลาง
ดวยกาซเฉื่อยกอนนําไปซอมแซม
- ถ า ภาชนะบรรจุ เ กิ ด การรั่ ว ให ติ ด ต อ
หนวยงานที่เกี่ยวของ
- การพิจารณาการกําจัด ใหปฏิบัติตามกฏ
ระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : น้ํา คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง

************************************
27

สารคลอโรอีเทน (Chloroethane)
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) :- ชื่อทางเคมี:คลอโรอีเทน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Ethyl chloride , Hydrochloric ether,
Muriatic ether, Monochloroethane,
Aethylis , Aethylis chloridum,Chloridum ,
Chloryl, Ether chloratus ,
Ether hydrochloric , Ether muriatic,
Chlorethyl , Kelene , Chelen , Anodynon,
Chloryl anesthetic , Narcotile, Chlorene,
Cloretilo, Dublofix, Ethyl
Chloride(Chloroethane), Hydrochloric
ether kelene, Chlorylanesthetic.
สูตรทางเคมี : C2H5Cl
1.3 การใชประโยชน(Use) :-
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1037
2.2 CAS No. :75-00-3
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :คลอโรอีเทน (chloroethane)
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1,000 ppm
คา LD50 : - mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 12.3 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -138.3 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 1,034 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 21 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : เล็กนอย
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.92
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนกาซ ไมมีสี กลิ่นคลายอีเธอร
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
28

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - 50 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด - (LEL) :3.6 % LFL : 3.6 %
-คาสูงสุด (UEL) : 15.4 % UFL : 15.4 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 519 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิ ไ ดซ โซเดี ย ม โพแทสเซี ย ม
แคลเซี ย ม อลู มิ เ นี ย ม สั ง กะสี และ
แมกนีเซียม
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซฟอสจีน กรดไฮโดรคลอริค
(Hazardous Decomposition Products)
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเข า ไป การสั ม ผั ส สารนี้
ติดตอกันเปนเวลานาน ทํ าใหเกิดอาการ
มึ น เมา เวี ย นศี ร ษะ กล า มเนื้ อ ท อ งเกร็ ง
ระบบย อ ยอาหารทํ า งานไม ป ระสานกั น
อาเจียน ปวดศีรษะ ไอ ทําลายตับและไต
การไดรับสารนี้ที่มีความเขมขนสูง อาจทํา
ใหเกิดการระคายเคืองทางเดินหายใจ เจ็บ
หน า อก ไอ และหั ว ใจล ม เหลว ขาด
ออกซิเจน ทําใหเสียชีวิต
: การกลืนหรือกินเขา สารนี้เปนกาซจึงไม
มี ก า ร กิ น แ ต ทํ า ใ ห เ กิ ด อ า ก า ร บ ว ม
เนื่องจากถูกความเย็นบริเวณริมฝปาก และ
ปาก
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้ดูดซึมผาน
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ผิวหนัง ทําใหเปนอันตรายตอรางกาย
การสัมผัสสารจะมีอาการบวมเนื่องจากถูก
ความย็น
:การสั ม ผั ส ถู ก ตา ก อ ให เ กิ ด การระคาย
เคืองตา
29

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :1,000 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก
(Fire and Explosion Prevention ) แหลงความรอน
: อยาเก็บไวในที่มีอุณภูมิเกิน 50 ํซ
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขน
(Respiratory Protection Type)
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ผิ ว หนั ง ให ฉี ด ล า งผิ ว หนั ง
ทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15
นาที และถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะ
เปอนสารเคมีออก นําสงแพทยทันที ทํา
ความสะอาดเสื้ อ ผ า และรองเท า ก อ น
นํามาใชอีกครั้ง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมนํา
สงไปพบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุด-
หายใจให ช ว ยผายปอด ถ า ผู ป ว ยหายใจ
ลําบาก ควรใหออกซิเจน และนําผูปวยสง
แพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :-
30

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)


8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด ปองกันการ
ทําลาย
- เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศที่ดี
- เก็บใหหางจากความรอนและแหลงจุดติดไฟ
- แยกออกจากสารที่เขากันไมได เชน สาร
ออกซิไดซ และสารรีดิวส
- ตรวจดูภาชนะบรรจุใหมวา เปนภาชนะบรรจุที่
มีการติดฉลากหรือยัง และยังไมตองนําไปทําลาย
- เก็บภาชนะบรรจุในบริเวณที่เหมาะสม ติด ฉลาก
- แยกเก็บภาชนะบรรจุเปลาออกจากบริเวณที่
เก็บสารเคมี
- บริเวณที่เก็บสารเคมีมีการทําความสะอาดโดย
บุคคลที่ไดรับการฝกมา
-เก็บสารหางจากสารไวไฟ และแยกจากบริเวณ
การทํางาน
- มีอุปกรณดับเพลิงหรืออุปกรณทําความสะอาด
กรณีสารหกรั่วไหล
- ดูขอแนะนําในการเก็บจากเอกสารขอมูลความ
ปลอดภัย(MSDS)
- หลีกเลี่ยงการทําใหเกิดฝุน ปองกันฝุนเขาไป
ในบริเวณการทํางาน
-บุคคลที่ใชสารนี้ควรศึกษาอันตรายและการใช
สารกอน
- มีการตอภาชนะลงดิน และมีการระบายอากาศ
- ติดปาย “หามสูบบุหรี่” กําจัดประกายไฟ
เปลวไฟ แหลงจุดติดไฟใหหมด
- อยา เทสารที่ ป นเปอ นกลับ เข า ไปในภาชนะบรรจุ
ใหม
-ใชอุปกรณนําไฟฟาในการขนยายสาร เชน โลหะ
ทอ
- ตอลงดินเมื่อทําการเคลื่อนยายสาร
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
31

8.3 การปองกันการรั่วและการหก - กรณีหกรั่วไหลใหเคลื่อนยายออกจากบริเวณ


(Spill and Leak Procedures) ที่มีการหกรั่วไหล
- ใ ห ส ว ม ใ ส อุ ป ก ร ณ ป อ ง กั น อั ต ต ร า ย ที่
เหมาะสม
- กํ า จั ด สารรั่ ว ไหลที่ ห ลงเหลื อ อยู ใ ส ภ าชนะ
บรรจุ
- ย า ยแหล ง จุ ด ติ ด ไฟ ถ า สามารถทํ า ได โ ดย
ปราศจากการเสี่ยง
- ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อลดการเกิดไอ
- ให ห ยุ ด การรั่ ว ไหล ถ า สามารถทํ า ได โ ดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- ระบายอากาศและเคลื่อนยายภาชนะบรรจุสาร
ออกไปบริเวณที่มีการระบายอากาศ
- ไอที่ ไ วไฟสามารถแพรก ระจายจากบริเ วณ
สารรั่วไหล
- ก อ นที่จะเขาไปในบริเวณสารรั่ วไหล ควร
ตรวจสอบบรรยากาศใหเหมาะสม
- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตาม
กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ําฉีด
เปนฝอย

****************************************
32

สาร Freon 11 หรือ ไตรคลอโรฟลูออโรมีเทน (Trichlorofluoromethane)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : Freon 11 ชื่อทางเคมี :ไตรคลอโรโมโนฟลูออโรมีเทน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Sunonyms) : Fluorotrichloromethane, Fluorocarbon 11,
Trichloromonofluoromethane, F-11,
Halocarbon 11, Freon 11, CFC -11,
Frigen 11, Arcton 9, Genetron 11, Isceon 131,
Isotron 11, Ledon 11, Fluorocarbon no.11,
Aigofrene type 1, Oelectro-cf 11, Eskimon 11,
FC 11 ,Kaltron 11, Flurotrichloromethane,
Trichlorofluoromethane(Monofluorotrichlorome
thane), Halon 11, Propellent 11,Khaladon 11
สูตรทางเคมี : CCl3F
1.3 การใชประโยชน(Use) : สารนี้นํามาใชเปนสารทําความเย็น blowing
agent ทํากระสุนปน ตัวทําละลาย สารละลาย
ไขมัน สารทําความสะอาด และสารดับเพลิง
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1017
2.2 CAS No. :75-69-4
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : ไตรคลอโรฟลูออโรมีเทน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : - ppm
คา LD50 : > 15,000 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 23.7 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -111 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 795 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 25 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.1 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.48
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
33

4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลวที่อุณหภูมิต่ํากวา 23.7 ํ ซ ใส
ไมมีสี ไมมีกลิ่น
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :-
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : -
- คาสูงสุด (UEL) : -
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : - ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะ (โซเดียม โพแทสเซียม ผงอะลูมินัม )
สามารถทําใหเกิดปฏิกิริยารุนแรง ลิเทียมเมื่อ
สัมผัสกับสารนี้ทําใหเกิดการระเบิด
สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อุณหภูมิที่สูงกวา 260 ํซ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว (Hazardous Decomposition Products) : -
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป มีผลตอระบบประสาท ที่มี
ความเขมขนมากกวา 1 % จะกอใหเกิดการ
ระคายเคื องจมู ก คอ และทางเดิ นหายใจ
ส วนบน ทํ าใหมี อาการปวดศี รษะ วิ งเวียน
การทํางานไมประสานกัน ถาอาการรุนแรงทํา
ใหคลื่นไส อาเจียน หัวใจเตนผิดปกติ และ
เสียชีวิตเนื่องจากหัวใจลมเหลว การเกิดเปน
โรคกลามเนื้อหลอดลมอุดตัน เกิดขึ้นถาไดรับ
มากกวา 17,100 ppm
:การกลื นหรื อกิ นเข าไป ทํ าให เนื้ อเยื่ อใน
ชองทองถูกทําลาย สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอนแต
การไดรับสารนี้ผานทางการกลืน ไมมีผลเปน
อันตรายตอปาก คอ และหลอดอาหาร
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ถาสัมผัสถูกสารที่เปน
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ของเหลว ทําใหผิวหนังแหงและแตก เกิด-
การระคายเคืองเปน ผื่นแดง
34

: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
ตา
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสสารติดตอกันเปนเวลานาน จะทํา
(Effects of Over Exposure , Long – term) ใหเลือดจับตัวเปนกอน มีพิษตอหัวใจ และ
ระบบหายใจ ปอด ตับ
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1,000 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก
(Fire and Explosion Prevention) แหลงความรอน และมาตรการอื่นๆ ตามที่
กําหนดไวในการเก็บรักษา
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขน
(Respiratory Protection Type)
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ถาเปนของเหลว ขัดถู
สารเคมีออกอยางรวดเร็ว ใหฉี ดลางผิวหนัง
ทั นที ด วยน้ํ าปริ มาณมากอย างน อย 15 นาที
นํ าส งไปพบแพทย ทั น ที ถ าเป น ก า ซให
เคลื่ อนย ายผู ป วยออกสู บริ เวณที่ มี อากาศ
บริสุทธิ์
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ถาเปนของเหลว ใหฉีดลาง
สารเคมีออกอยางรวดเร็ว ใหฉีดลางตาทันที
ดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที โดยให
น้ําไหลผานหรือจนสารเคมีออกหมด ใชนิ้ว
ถางเปลือกตาออก นําสงไปพบแพทยทันที ถา
35

สั มผั สถู กก าซให เคลื่ อนย ายผู ป วยออกสู


บริเวณที่อากาศบริสุทธิ์
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจ
ใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจน
ชวย นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนหรือกินเขาไป หามมิใหสิ่งใดเขาปาก
สําหรับผูปวยที่หมดสติ แตถาผูปวยยังมีสติ
อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ํา
240-300 มิลลิลิตร ถาผูปวยหยุดหายใจให
ชวยผายปอด ถ าหายใจลําบากใหออกซิเจน
แลวนําสงแพทยทันที
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) -เก็ บในภาชนะบรรจุ ที่ ป ดมิ ดชิ ด ป องกั นการ
ทําลาย
- เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศที่ดี
- เก็บใหหางจากความรอนและแหลงจุดติดไฟ
- แยกออกจากสารที่เขากันไมได เชน สาร
ออกซิไดซ และสารรีดิวซ
- แยกเก็บภาชนะบรรจุเปลาออกจากบริเวณที่เก็บ
สารเคมี
- การเก็บจะสะดวกขึ้นถาใชวัสดุที่ตานทานไฟ
- มีการตอสายดินกับภาชนะบรรจุ
- บริเวณที่เก็บสารเคมีมีการทําความสะอาดโดย
บุคคลที่ไดรับการฝกมา
- เก็บสารหางจากสารไวไฟ และแยกจากบริเวณการ
ทํางาน
- มีอุปกรณดับเพลิงหรืออุปกรณทําความสะอาด
กรณีสารหกรั่วไหล
-ตรวจดูภาชนะบรรจุใหมวาเปนภาชนะบรรจุที่มี
การติดฉลากหรือยัง
-เก็บภาชนะบรรจุในบริเวณทีเ่ หมาะสม ติดฉลาก
36

-บุคคลที่ใชสารนี้ควรศึกษาอันตรายและการใช
สารกอน
- หลีกเลี่ยงการทําใหเกิดฝุน ปองกันฝุนเขาไปใน
บริเวณการทํางาน
- ติดปาย “หามสูบบุหรี่” กําจัดประกายไฟ เปลว
ไฟ แหลงจุดติดไฟใหหมด
- ใชอุปกรณนําไฟฟาในการขนยายสาร เชน
โลหะ ทอ
- ตอลงดินเมื่อทําการเคลื่อนยายสาร
- อยาเทสารที่ปนเปอนกลับเขาไปในภาชนะบรรจุ
ใหม
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - หามเขาไปในบริเวณสารรั่วไหลจนกวาจะทํา
ความสะอาดเสร็จ
- ทําความสะอาดโดยบุคคลที่ไดรับการฝกมา
เทานั้น
- ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล
- อยาสัมผัสสารที่หก
- ปองกันไมใหสารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู
ทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ
- ให หยุ ดการรั่ วไหล ถ าสามารถทํ าได โดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- ให ดู ดซั บส วนที่ หกรั่ วไหลด วยทราย ดิ น
หรือวัสดุดูดซับอื่น ๆ
- เก็บสวนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปด
มิ ดชิ ดเพื่ อนํ าไปกํ าจั ด ป ดฉลากที่ ภาชนะ
บรรจุ
- วัสดุที่ดูดซับสารที่หกมีอันตรายเชนเดียวกับ
สารที่หกรั่วไหล
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เ ป นไปตามกฎระเบี ย บที่ ทางราชการ
กําหนด
37

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง


วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสําหรับสภาพการ
เกิดเพลิงโดยรอบ

*******************************************************
38

สาร Freon 113 หรือ ไตรคลอโรฟลูออโรอีเทน (Trichlorofluoroethane)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : Freon 113 ชื่อทางเคมี : ไตรคลอโรฟลูออโรอีเทน
1.2 ชื่อพอง อื่นๆ (Synonyms) : Freon 113 / 1,1,2-Trichlorotrifluoroethane,
Halocarbon 113, Refrigerant 113, FC 133,
CFC-113, Diflon S-3, Freon TF(113), Freon TF,
Trichloro 1,2,2-trifluoroethane;
1,1,2-Trifluorotrichloroethane, Frigen 113 tr-t,
Chlorinated fluorocarbon;
1,2,2-Trichlorotrifluoroethane, Genetron 113;
Trichloro-1,2,2-trifluoroethane, 1,1,2-;
สูตรทางเคมี : C2Cl3F3
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสาร degreasing agent เปนสารตัวกลาง
ในการผลิตโพลิเมอร เปนสารดับเพลิง สารทํา
ความเย็น ตัวทําละลาย ตัวทําใหสารแหง และ
ใชเปน blowing agent หรือสารทําใหเกิดฟอง
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1078
2.2 CAS No. :76-13-1
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :ไตรคลอโรฟลูออโรอีเทน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1,000 ppm
คา LD50 : 43,000 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :47.7 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -35 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 284 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.0017 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.5635
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนกาซ ไมมีสี กลิ่นเหมือนอีเธอร
39

4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-


5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : ไมเผาไหม
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่าํ สุด (LEL) : -
- คาสูงสุด (UEL) : -
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 680 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะ เชน แคลเซียม ผงอะลูมิเนียม สังกะสี
แมกนีเซียม เบอริลเลี่ยม ซาแมเรียม ลิเทียม
แบเรียม ทําใหเกิดการระเบิดได
สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อุณหภูมิมากกวา 260 ํซ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว (Hazardous Decomposition Products) : ไมมีรายงาน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเอาสารนี้เขาไปถามีความเขมขน
สูงจะมีผลตอระบบประสาท ทําใหเกิดอาการ
วิงเวียน ปวดศีรษะ อาจทําใหหมดสติ และ
เสียชีวิต
: การกลืนหรือกินเขาไป ทําใหเกิดอาการ
วิ งเวี ยนศี รษะ ปวดศี รษะ มี ผลต อระบบ
ประสาทอาจทําใหหมดสติ และเสียชีวิต
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ถารับสารติดตอกันเปน
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เวลานานทําใหผิวหนังแหง และแตก
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคืองตา
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : -
(Effects of Over Exposure, Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1,000 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)


7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก
(Fire and Explosion Prevention) แหลงความรอน และมาตรการอื่นๆ ตามที่
40

กําหนดไวในการเก็บรักษา
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 2,000 ppm ให
(Respiratory Protection Type) ใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว
(SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ที่มีคา
APF. = 50
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที หรือ
จนสารเคมีออกหมด นําสงพบแพทยถายังมี
อาการระคายเคือง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ า สั ม ผั ส ถู กตา ให ฉี ดล างตาทั นที ด วยน้ํ า
ปริมาณมากอยางนอย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ
หรือจนสารเคมีออกหมด นําสงแพทยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนหรือกินเขาไป หามมิใหสิ่งใดเขา
ปากผู ป วยที่ หมดสติ อยากระตุ นใหเกิ ดการ
อาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ํา 240-300 มิลลิลิตร
เพื่อเจือจางสารเคมีในทอง นําสงแพทยทันที
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
- เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศที่ดี
-ภาชนะบรรจุควรมีการติดฉลากและปองกันการถูกทําลาย
- มีอุปกรณดับเพลิงหรืออุปกรณทําความสะอาดในบริเวณ
ที่ใชสารเคมี
-ภาชนะที่วาง เปลา ควรแยกออกจากบริเวณ เก็บสารเคมี
-ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวัง
- หลีกเลี่ยงการขนยายสารที่อุณหภูมิสูงกวา 260 ํซ
41

- หลีกเลี่ยงการตัด เชื่อม ขุดหรือมีความรอน บริเวณใกล


สารเคมี
- อยาเก็บไวใกลสารที่เขากันไมได
- หลีกเลี่ยงการเกิดฝุน และไอระเหย
- อยาเก็บสารที่ใชแลวเขาไปในภาชนะบรรจุใหม
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก(Spill and Leak Procedures) - อยาเขาไปในบริเวณสารรั่วไหลจนกวาจะทํา
ความสะอาดเสร็จ
- ทําความสะอาดโดยบุคคลที่มีความชํานาญ
เทานั้น
- ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล
- ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสม
- ให หยุ ดการรั่ วไหล ถ าสามารถทํ าได โดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- ใหดูดซับสารที่หกรั่วไหลดวยทราย หรือวัสดุ
ดูดซับที่เฉื่อย
- เก็บสวนที่รั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
เพื่อนําไปกําจัด
- ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูก
เก็บกวาดเรียบรอยแลว
- ติดฉลากที่ภาชนะบรรจุสําหรับนําไปกําจัด
- การพิ จารณาการกํ าจั ด ปฏิ บั ติ ให เป นไปตาม
กฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิง่ ปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :กรณี เ กิ ด เพลิ ง ไหม ให เลื อกใช สารดั บเพลิ งที่
เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ
42

สาร 3– คลอโรโพรพีน (3-Chloropropene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : - ชื่อทางเคมี : 3- คลอโรโพรพีน
1.2 ชื่อพองอื่นๆ (Synonyms) :3-Chloropropene,Chloroallylene,
Chloropropene,3-Chloropropylene,
Alpha-chloropropylene, 3-Chloroprene,
1-Chloro propene-2; 3-Chloropropene-1;
3-Chloro-1-propylene,2-Propenyl chloride,
Allyl chloride.
สูตรทางเคมี : C3H5Cl
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารตัวกลางในการผลิต เรซิน และ
โพลิเมอร
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1100
2.2 CAS No. :107-05-1
2.3 สารกอมะเร็ง : เปนสารกอมะเร็ง มีผลตอปอด ทรวงอก
หรือระบบหายใจ และระบบยอยอาหาร
ถารูสึกไมสบายใหไปพบแพทยทันที และ
สารนี้ มี ผ ลทํ า ลายปอด ตั บ ไต ดวงตา
และผิวหนัง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :3-คลอโรโพรพีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1 ppm
คา LD50 :460 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 43-45 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -130 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 295.2 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.36 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.935
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นฉุน
43

4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-


5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -32 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ- (Flammable Limits) -คาต่ําสุด (LEL) : 3.2 %
-คาสูงสุด (UEL) : 11.2 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature): 390 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : กรด ดาง สารออกซิไดซ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :ฟูม/กาซที่เปนพิษของไฮโดรเจนคลอไรด
(Hazardous Decomposition Products) และกาซฟอสจีน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเอาสารนี้เขาไป จะไปทําลาย
เยื่ อ บุ เ มื อ กจมู ก ทางเดิ น หายใจส ว นบน
ทําใหเปนโรคปอดบวมเนื่องจากสารเคมี
หายใจถี่เร็ว ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน
: การกลืนหรือกินเขาไป จะมีผลแสบไหม
บริเวณลําคอ หลอดลม ทําใหไอ วิงเวียน
ศีรษะ
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้จะซึมผาน
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ผิวหนังอยางรวดเร็ว
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคาย
เคืองตา ทําใหน้ําตาไหล
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : -
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : -
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1,000 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)


7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก
(Fire and Explosion Prevention) แหลงความรอน และมาตรการอื่นๆ ตามที่
44

กําหนดไวในการเก็บรักษา
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 25 ppm
(Respiratory Protection Type) ใหใช อุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใช
การสงอากาศสําหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตรา
การไหลของอากาศอยางตอเนื่อง โดยมีคา
APF. = 25
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนัง
ทั น ที ด ว ยน้ํ า ปริ ม าณมากอย า งน อ ย 15
นาที พร อ มทั้ ง ถอดรองเท า และเสื้ อ ผ า ที่
เปอนสารเคมีออก
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริมาณมากอยางนอย 15 นาที ใชนิ้วถาง
แยกเปลือกตาออกใหกวางเพื่อใหมั่นใจวา
ลางน้ําออกอยางทั่วถึง
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุด
หายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดให
ออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนหรือกินเขาไป หามมิใหสิ่งใดเขา
ปากผูปวยที่หมดสติ อยากระตุนใหเกิดการ
อาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ํา 240-300 มิลลิลิตร
เพื่ อเจื อ จางสารเคมี ใ นทอ ง นําสง แพทย
ทันที
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
- เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศ
ที่ดี
45

- เก็บหางจากแหลงความรอน ประกายไฟ
และเปลวไฟ
- ใชในตูดูดควันสําหรับสารเคมีเทานั้น
- อยาหายใจเอาไอสารระเหยเขาไป
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) -ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- ใหอพยพบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของออก
จากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล
- สวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศ
ในตัว (SCBA) รองเทาบูท ถุงมือยาง
- ดูดซับสารที่หกรั่วดวยวัสดุดูดซับสารที่หก
และเก็บใสในภาชนะบรรจุที่มิดชิดสําหรับ
นําไปกําจัดตอไป
- ระบายอากาศในพื้นที่ที่หกรั่วไหลและลาง
ทําความสะอาดบริเวณที่หกรั่วไหลภายหลัง
จากการเก็บกวาดเรียบรอยแลว
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods):ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง โฟม

*************************************
46

สารไดคลอโรมีเทน (Dichloromethane) หรือ สารเมทธิลลีน คลอไรด (Methylene chloride))


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี:ไดคลอโรมีเทน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) :Methylene dichloride,Methane dichloride,
R 30, Aerothene MM , Refrigerant 30 ,
Freon 30 , DCM , Narkotil , Solaesthin ,
Solmethine, Plastisolve, Methylene chloride
Dichloromethane, F 30 (chlorocarbon) ,
HCC30,Khladon 30,Methylene bichloride,
Narkotil,NCI-C50102, RCRA waste
number U080,Solaesthin , Soleana VDA,
Solmethine
สูตรทางเคมี : CH2Cl2
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารเคลือบฟน
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number : 1593
2.2 CAS No. : 75-09-2
2.3 สารกอมะเร็ง :สารนี้ อ าจเป น สารก อ มะเร็ ง จากการ
ทดสอบในห อ งปฏิ บั ติ ก าร และสารนี้
ทําลายปอด ระบบประสาท ทําใหเกิดเนื้อ
งอก อาจเป น สารที่ ก อ ให เ กิ ด การกลาย
พันธุอยางออนในสัตวที่เลี้ยงลูกดวยนม
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :ไดคลอโรมีเทน หรือ เมทธิลลีนคลอไรด
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm
คา LD50 : 1,600 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 39.8 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง :-97 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 340 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 2 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.326
47

4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-


4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นคลายอีเธอร
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด - (LEL): 13 %
- คาสูงสุด (UEL): 23 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature): 640 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สวนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถ
ทําใหเกิดการระเบิด
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :ด า ง สารออกซิ ไ ดซ โลหะอั ล คาไลน
อลูมิเนียม ผงแมกนีเซียม โซเดียม ลิเธียม
โปแตสเซียม
สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : การสัมผัสกับเปลวไฟ การเชื่อมไฟฟา
และวัสดุผิวรอน
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คลอรีน กรดเกลือ และกาซฟอสจีน
(Hazardous Decomposition Products)
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคาย
เ คื อ ง แ ล ะ ถ า ไ ด รั บ ป ริ ม า ณ ม า ก จ ะ
กอใหเกิดอาการมึนงง ปวดศีรษะ งวงซึม
หัวใจเตนผิดปกติ หมดสติ และตายได
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคือง อาจทําใหเปนโรคมะเร็งได
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคาย
เคือง ทําใหตาเจ็บ
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : -
(Effects of Over Exposure ,Short – term)

6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure ,Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 50 ppm
48

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)


7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสวนผสมไอระเหยกับอากาศ
(Fire and Explosion Prevention) อาจเกิดการระเบิดได หลีกเลี่ยงจากแหล
ความรอน แหลงจุดติดไฟ เปลวไฟ การ
เชื่อมไฟฟา และวัสดุผิวรอน
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :-
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : เลือกหนากากที่ปองกันความเขมขน
(Respiratory Protection Type) ในชวง ที่เหมาะสม และมีตัวดูดซับที่
เหมาะสมในการกรอง
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหลางออกดวยสบู
และน้ํา
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีโดยให
น้ําไหลผานอยางนอย 15 นาที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเ วณที่มี อากาศบริสุทธิ์ ถาผูป วยหยุด
หายใจ ใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัด
ใหออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : การกลืนหรือกินเขาไป จะกอใหเกิดการ
ระคายเคือ งต อ กระเพาะอาหาร อาเจี ย น
ถาหายใจเอาสารนี้เขาไปขณะที่อาเจียน จะ
ทํ า ให เ ป น โรคปอดบวม และมี ผ ลต อ
รางกาย และถามีสารนี้ปริมาณมากจะมีผล
ต อ เลื อ ด ตั บ ไต และระบบประสาท
สวนกลาง
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
-เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น และมีการ
ระบายอากาศเพียงพอ
49

-เก็ บ ห า งจากแหล ง ความร อ น เปลวไฟ


ประกายไฟ
-ในระหวางการเคลื่อนยายอยาหายใจเอา
ไอระเหยหรือละอองเขาไป อยาใหเขาตา
ผิวหนัง หรือปนเปอนเสื้อผา
- ภาชนะบรรจุ ที่ เ ป น ถั ง เปล า แต มี ก าก
สารเคมี ต กค างอยู เช น ไอระเหย
ของเหลว อาจเปนอันตรายได
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) -วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหล
ใหอพยพคนที่ไมเกี่ยวของออกจากพื้นที่
- ขจั ด แหล ง ที่ จ ะเกิ ด การจุ ด ติ ด ไฟ
จนกระทั่งพื้นที่ดังกลาวปลอดภัยจากการ
ระเบิดหรืออันตรายจากอัคคีภัย
-ใหสวมใสอุปกรณป องกันอันตรายสว น
บุคคลที่เหมาะสม
- ควบคุ ม ส ว นที่ ห กรั่ ว ไหลและแยกออก
จากแหล ง สารเคมี นั้ น ถ า สามารถทํ า ได
โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- เก็บสวนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่
ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด
และน้ําฉีดเปนฝอย

*************************************
50

สาร 1,1-ไดคลอโรอีเทน (1,1-Dichloroethane)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) :- ชื่อทางเคมี : 1,1-ไดคลอโรอีเทน
1.2 ชือ่ พองอื่น ๆ (Synonyms) :Ethylidene dichloride; 1,1-Ethylidene
dichloride,Chlorinated hydrochloric ether
สูตรทางเคมี : C6H4Cl2
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชในการผลิตโพลีไวนิลคลอไรด (PVC)
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :2362
2.2 CAS No. :75-34-3
2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้เปนสารกอมะเร็ง ประเภท 4 A ไม
จัดวาเปนสารกอมะเร็งในคน แตเปนสาร
ที่เปนหวงวาอาจจะเกิดมะเร็งในคน แตไม
สามารสรุปไดเนื่องจากขาดขอมูล
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :1,1 ไดคลอโรอีเทน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :100 ppm
คา LD50 :725 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 57 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -97 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) :180 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.5 กรัม / 100 มิลลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.174
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น :ของเหลว เปนน้ํามัน ไมมีสี กลิ่น
(Appearance colour and Odor) เฉพาะตัวคลายคลอโรฟอรม
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -17 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :5.4 % (LFL) :5.4 %
51

- คาสูงสุด (UEL):11.4 % (UFL) :11.4 %


5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature):660 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้เปนสารไวไฟมาก สามารถลุกติด
ไฟที่อุณหภูมิหอง และไอระเหยของสารนี้
หนั ก กว าอากาศ จึงทํา ให สามารถติด ไฟ
ย อ นกลั บ ได แ ละสารนี้ จ ะทํ า ปฏิ กิ ริ ย า
รุ น แรงกั บ สารอั ล คาไลด เ อิ ร ท และ
โลหะอัลคาไลด
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะอัลคาไลด สารอัลคาไลดเอิรท และ
พลาสติ ก เนื่ อ งจากสารนี้ จ ะกั ด กร อ น
พลาสติก
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซคารบอนมอนนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products) กาซคารบอนไดออกไซด กาซไฮโดรเจน
คลอไรด กาซฟอสจีน
5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : แหลงที่เกิดประกายไฟ เปลวไฟ ความ
รอน และแหลงจุดติดไฟ
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเอาสารนี้เขาไป จะกอใหเกิด
การระคายเคือง ตอทางเดินหายใจ
:การกลืนกินเขาไป ทําใหเกิดอันตรายได
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสทางผิวหนังเปนเวลานาน ๆ จะ
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนัง
: การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกิดการระคายเคือง
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
( Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : สารนี้มีผลทําลาย ตับ และ ไต ทําให
( Effects of Over Exposure ,Long – term) เปลี่ ย นแปลงกรรมพั น ธุ ระบบประสาท
สวนกลางอาจถูกทําลาย สารนี้จะทําลาย
ตับ ไต ระบบประสาท
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :100 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
52

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงการสัมผัส แหลงความรอน


(Fire and Explosion Prevention) ประกายไฟ เปลวไฟ และแหล ง จุ ด ติ ด
ไฟอ ื่น ๆ
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขน
(Respiratory Protection Type) ของสาร
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ผิ ว หนั ง ให ฉี ด ล า งผิ ว หนั ง
ทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15
นาที
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที
นําสงแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจ
ให ช ว ยผายปอด ถ า หายใจติ ด ขั ด ให
ออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :-
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ –เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศ
(Handling and Storing) เพียงพอ
- เก็บในภาชนะที่ปดมิดชิด
- เก็บหางจากแหลงจุดติดไฟ ประกายไฟ
และแหลงความรอนอื่น ๆ
- เก็บในที่แหง และเย็น
- หามสูบบุหรี่ในสถานที่เก็บ
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก - อพยพบุคคลที่ไมเกี่ยวของออกจากพื้นที่
(Spill and Leak Procedures) ที่หกรั่วไหล
53

- สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว น


บุคคล (PPD/ PPE) ใหเหมาะสม
- ดู ด ซั บ สารที่ ห กรั่ ว ไหลด ว ยวั ส ดุ เ ฉื่ อ ย
ประเภททรายแหง หินแรเวอรไมคิวไลท
(VERMICULITE) และเก็บใสในภาชนะ
บรรจุเพื่อนําไปกําจัดตอไป
- ระบายอากาศและล า งทํ า ความสะอาด
ภายหลั ง จากสารที่ รั่ ว ไหลเก็ บ กวาด
เรียบรอย
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชแอลกอฮอลโฟม

****************************************
54

สาร ซีส - 1,2 – ไดคลอโรเอทธิลลีน (Cis - 1,2- Dichloroethylene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) :- ชื่อทางเคมี : ซีส - 1,2- ไดคลอโรเอทธิลลีน
1.2 ชือ่ พองอื่นๆ (Synonyms) : (Z) -,2-dichloroethane; Ethene, 1,2
dichloro-,(Z)- (9cl); R1130c; Hcc 1130 c;
1,2 –Dichloroethylene(cis) ;
(Z)-1,2- dichloroethene; Cis 1,2-dce;
Cis-dichloroethylene;
(Z)-1,2-dichloroethylene; Cis-Acetylene
dichloride; Cis-1,1-Dichloroethane;
Dichloroethylene, 1,2 –cis
สูตรทางเคมี : C2H2Cl2
1.3 การใชประโยชน(Use) :-
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :-
2.2 CAS No. :156-59-2
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :ซีส - 1,2- ไดคลอโรเอทธิลลีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :-
คา LD50 :-
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 60-61 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -80.5 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 400 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 41 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) :-
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.291
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นฉุน
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
55

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 4 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด - (LEL): 9.7 %
- คาสูงสุด (UEL): 12.8 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature): -
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้เปนของเหลวไวไฟ ไอระเหยของ
สารนี้สามารถไหลแพรกระจายไปสูแหลง
จุ ด ติ ด ไฟ และเกิ ด ติ ด ไฟย อ นกลั บ มาได
และสารนี้จะสลายตัวเมื่อสัมผัสถูกอากาศ
ความชื้น และแสง
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ ดาง
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ทําใหเกิดฟูม /กาซพิษของไฮโดรเจนคลอ ไรด
(Hazardous Decomposition Products) คาร บอนมอนนอกไซด คาร บอนไดออกไซด
ฟอสจีน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการระคาย
เคืองตอเยื่อบุทางเดินหายใจสวนบน และ
อาจเปนอันตรายได
: การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเกิดการ
ระคายเคือง
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการ
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนัง และอาจไดรับ
อันตรายได ถาสารนี้ถูกดูดซึมผานผิวหนัง
เขาสูรางกาย
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคาย
เคือง ตาแดง
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :-
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
56

7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)


7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ เบส เก็บในที่
(Fire and Explosion Prevention) แหงและเย็น มีการระบายอากาศเพียงพอ
หางจากแหลงจุดติดไฟ และเก็บในภาชนะที่
ปดมิดชิด
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขน
(Respiratory Protection Type) ของสาร
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : เลือกใชถุงมือที่ทําจากวัสดุที่เหมาะสม
(Hand Protection)
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ): ใชแวนตาที่เหมาะสม
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ผิ ว หนั ง ให ฉี ด ล า งผิ ว หนั ง
ทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15
นาที พรอมทั้งถอดเสื้อผา และรองเทาที่
ปนเป อ นสารเคมี อ อก ล า งและทํ า ความ
สะอาดกอนนําไปใชอีกครั้ง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ตา ให ล า งตาทั น ที ด ว ยน้ํ า
ปริมาณมาก ๆ ทันที อยางนอย 15 นาที
นําสงไปพบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุด
หายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดให
ออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย
: ถากินหรือกลืนเขาไป และผูปวยยังมีสติ
อยู ใหบวนลางปากดวยน้ําสะอาด นําไป
สงพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :-
8. ขอปฏิบัตทิ ี่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมดิ ชิด
- เก็บในที่แหง และเย็น
57

- เก็บในที่ที่มกี ารระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บใหหางจากแหลงจุดติดไฟ
- หลีกเลี่ยงการหายใจเอาสารนี้เขาไป การ
สัมผัสถูกตา ผิวหนัง และเสื้อผา
- หามสูบบุหรีบ่ ริเวณที่เก็บสารเคมี
- ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึง
ภายหลังการเคลื่อนยาย
- ติดตั้งที่อาบน้ํา และที่ฉีดลางตาฉุกเฉิน
- ใชเฉพาะในบริเวณที่มีตดู ดู ควันสารเคมี
เทานั้น
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - อพยพบุคคลที่ไมเกี่ยวของออกจาก
บริเวณทีห่ กรัว่ ไหล
- ปดกัน้ ของแหลงการจุดติดไฟทั้งหมด
- สวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถัง
อากาศในตัว(SCBA) รองเทาบูท และถุง
มือยาง
- ดูดซับสารที่หกรั่วไหลดวยทราย หรือ
หินแรเวอรมิควิ ไลท และเก็บใสในภาชนะ
บรรจุที่ปดมิดชิด สําหรับนําไปกําจัด
ตอไป
- ระบายอากาศและลางทําความสะอาด
หลังจากเก็บกวาดสารที่หกรัว่ ไหล
เรียบรอยแลว
- การกําจัด ใหเผาในเตาเผาสารเคมีที่มี
เตาเผาขั้นที่สอง และระบบกําจัดมลพิษ
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชน้ําฉีดเปนฝอย ผงเคมีแหง
คารบอนไดออกไซด หรือโฟมที่เหมาะสม

****************************************
58

คลอโรฟอรม (chloroform)
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : - ชื่อทางเคมี: คลอโรฟอรม
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Methyl trichloride; Chloroform; Refrigerant R20;
Formyl trichloride; Methane trichloride; Methenyl
trichloride; Trichloroform; R20; R20(refrigerant);
Chloroform;Trichloromethane;NCI-C02686;
RCRA waste number U044
สูตรทางเคมี : CHCl3
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนตัวทําละลาย สกัดสารเปนตัวทําละลายสาร
โพลีคารบอเนต และสารอื่น ๆ
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1888
2.2 CAS No. :67-66-3
2.3 สารกอมะเร็ง :ผลกระทบจากการสั ม ผั สกั บ ของเหลว จะทํ า ให
ไขมันถูกทําลาย อาจทําใหผิวหนังมีการระคายเคือง
เรื้อรัง ทําใหผิวหนังแหง และเกิดผิวหนังอักเสบ
ได สารคลอโรฟอรมนี้ถูกสงสัยวาจะเปนสารกอ
มะเร็งตอมนุษย
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : คลอโรฟอรม
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :10 ppm
คา LD50 : 908 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 62 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -63.5 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 160 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.8 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.48
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) :เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นอีเทอร
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
59

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %
- คาสูงสุด (UEL): - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature): - ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : เมื่อเปดทิ้งไวในที่ที่มีแสง เปนระยะเวลา
นาน ทําให pH ลดลง เนื่องจากการเกิด
สารไฮโดรคลอลิก (HCl)
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารที่ มี ค วามกั ด กร อ นอย า งรุ น แรงและ
สารเคมีทีมี ความวองไว เชน อลูมิเนีย ม
ผ ง แ ม ก นี เ ซี ย ม โ ซ เ ดี ย ม ห รื อ
โพแทสเซี ย ม อะซี โ ตน ฟู โ อลี น เมทธา
นอล โซเดียมเมททอกไซด ไดไนโตรเจน
เตตอกไซด เทรท-บิวทอกไซด
สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน แสง อากาศ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด ฟอสจีน
(Hazardous Decomposition Products) ไฮโดรเจน คลอไรด คารบอนไดออกไซด
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเข า ไป ทํ า ให ร า งกายหมด
ความรู สึ ก หรื อ สลบได ทํ า ให เ กิ ด การ
ระคายเคื อ งต อ ระบบการหายใจ และมี
ผลกระทบตอระบบประสาทสวนกลาง มี
อาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ถาหายใจเอา
สารที่ มี ค วามเข ม ข น สู ง เข า ไป จะทํ า ให
หมดสติ และถึงตายได ทําใหไตถูกทําลาย
เกิ ด ความผิ ด ปกติ ข องระบบเลื อ ด การ
สัมผัสเปนเวลานาน จะนําไปสูความตาย
ได ทํ า ให ก ารเต น ของหั ว ใจผิ ด ปกติ ตั บ
และไตผิดปกติ
:การกลืนหรือกินเขาไป จะทําใหเกิดแผล
ไหมบริเวณปาก ลําคอ ทําใหเกิดอาการ
เจ็บหนาอก และอาเจียนได การกลืนเขา
60

ไปปริมาณมาก จะกอให เกิดอาการคลาย


กับการหายใจเขาไป
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหระคายเคือง
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ตอผิวหนัง มีผื่นแดงและมีอาการเจ็บปวด
ทําลายน้ํามันธรรมชาติในรางกาย สารนี้
สามารถซึมผานผิวหนังได
: การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารนี้จะ
ทําใหเกิดการเจ็บปวด และระคายเคืองตอ
ตา ถาสารเคมีกระเด็นเขาตา จะทําใหเกิด
การระคายเคืองตอตาอยางรุนแรง และอาจ
ทําใหตาบอดได
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : -
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ถาสัมผัสไอระเหยของสารนี้เปนเวลา-
(Effects of Over Exposure , Long – term) นานหรือสัมผัสถูกสารเคมีบอย ๆ อาจจะ
ทําใหระบบประสาทสวนกลาง หัวใจ ตับ
และไต ถูกทําลายได
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 10 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : -
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :-
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขน
(Respiratory Protection Type) ตามที่ NIOSH แนะนํา
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ใชถุงมือที่ทําจากวัสดุประเภท Supported
(Hand Protection) Polyvinyl Alcohol ซึ่งควรจะมีระยะเวลา
ที่จ ะทําใหเ กิ ดการซึมผานผนังของถุ งมือ
มากกว า 360นาที และควรมี อั ต ราการ
เสื่อมสภาพของถุงมืออยูในระดับดีมาก
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ): -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
61

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)


7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนัง
ทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15
นาที และถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะ
เปอนสารเคมีออก ทําความสะอาดเสื้อผา
และรองเทากอนนํามาใชอีกครั้ง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริ ม าณมากอย า งน อ ย 15 นาที พร อ ม
กระพริบตาถี่ ๆ ขณะทําการลาง นําสงไป
พบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุด
หายใจให ช ว ยผายปอด ถ า ผู ป ว ยหายใจ
ลําบาก ควรใหออกซิเจน และนําผูปวยสง
แพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากลืนกินสารนี้เขาไป อยากระตุนใหเกิด
การอาเจียน ควรใหน้ําปริมาณมาก ๆ ถา
ผู ป ว ยหมดสติ ห า มมิ ใ ห สิ่ ง ใดเข า ปาก
และใหอยูในความดูแลของแพทยโดยทันที
เมื่ อ นํ า ผู ป ว ยส ง โรงพยาบาล ควรแจ ง
อาการใหแพทย เนื่องจากผูปวยควรไดรับ
การรัก ษาภายใน 24-48 ชั่ ว โมง เพราะ
อาจทําใหมีผลกระทบตอ ไต และตับได
ของเหลวที่ อยูภายในไต ไม สามารถชว ย
ปองกันสารเคมีได ขอสังเกตไดจากการนํา
น้ํ า ป ส สาวะของผู ป ว ยมาวิ เ คราะห แ ละ
ทดสอบกลู โ คสที่ อ ยู ใ นเลื อ ด เอกซเรย
หนาอก และตรวจสอบสถานะของไหล
อิเล็กโตรไลท ไดฟลฟรัม ซึ่งอยูในเมตา
บ อ ลิ ซึ ม แ ล ะ อ า ห า ร ข อ ง ผู ป ว ย ที่ มี
คารโบไฮเดรตสูง จะสามารถปองกันและ
ตอตานสารพิษจากคลอโรฟอรมไดโดยที่
ไมจําเปนตองใหน้ําเกลือ
62

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)


8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด ไมถูก
แสงแดด
- เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศที่ดี
- ปองกันความเสียหายทางกายภาพ
- แยกออกจากสารที่เขากันไมได
- ภาชนะบรรจุ ส ารนี้ อ าจเกิ ด อั น ตรายได
เมื่ อ เป น ถั ง ว า งเปล า เนื่ อ งจากสารเคมี ที่
ตกค า งทั้ ง ไอระเหยและของเหลว ให
สังเกตปายเตือนและขอความระมัดระวัง
สําหรับสารนี้ทั้งหมด
- ชื่ อ ทางการขนส ง คื อ คลอโรฟอร ม
(Chloroform)
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก -วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ใหระบบ
(Spill and Leak Procedures) อากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล
- สวมใสอุปกรณปองกันสวนตัวที่เหมาะสม
- ใหกั้นพื้นที่ที่มีอันตรายออก
- ไมจําเปนตองควบคุมและปกปองบุคคลที่
จะเขาไป
- ใหเก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใชใหม
ถาเปนไปได
- เก็ บ รวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุ ที่
เหมาะสมหรือดูดซับดวยวัสดุเฉื่อยในการดูด
ซั บ สาร เช น แร หิ น ทราย (vermiculite)
ทรายแหง คิน (earth) และเก็บใสในภาชนะ
บรรจุกากของเสียจากสารเคมี อยาใชวัสดุติด
ไฟไดเชน ขี้เลื่อย
- อย า ฉี ด ล า งลงท อ ระบายน้ํ า ให มี ก าร
รายงานการหกรั่ ว ไหลลงสู ดิ น น้ํ า และ
อากาศมากเกินกวาปริมาณที่ตองรายงาน
- การพิจารณาการกําจัดไมวาสารอะไรก็ตาม
จะไม ส ามารถทํ า ได อ ย า งปลอดภั ย ในการ
63

นํ า เอากลั บ คื น มาใช ใ หม จ ะต อ งจั ด การ


เชนเดียวกับกากของเสียและสงใหผูซึ่งไดรับ
อนุ ญ าตในการกํ าจั ดซึ่ งต องปฏิ บั ติ ตามกฏ
ระเบียบขอบังคับของทางราชการ
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชวิธีการทีเหมาะสมสําหรับการดับเพลิง
โดยรอบ

*******************************************
64

สาร 1,1,1- ไตรคลอโรอีเทน (1,1,1,- Trichloroethane)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) :- ชื่อทางเคมี: 1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน
1.2 ชือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Trichloroethane, Methyl trichloromethane,
Methyl Chloroform, Chlorothene NU,
Chlorothene VG, Chlorothene, Alpha-
trichloroethane, 111-Tce, Aerothene tt,
Sovent111, Chloroetene,Tri-ethane;
1,1,1-Trichloroethane(Methyl Chloroform) .
สูตรทางเคมี : C2H3Cl3
1.3 การใชประโยชน(Use) : สารซักแหง ทํากาวและสารยึดเกาะ
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number : 2831
2.2 CAS No. :71-55-6
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : 1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :350 ppm
คา LD50 : 9,600 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 74 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง :-32 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 100 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้าํ (Solubility in water) : 0.13 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.34
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : ของเหลว ไมมีสี กลิ่นคลายคลอโรฟอรม
ออน ๆ
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :-
65

5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด(LEL) :7.5 %


- คาสูงสุด (UEL) :12.5 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :500 ํ ซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาโพลิเมอร จะ
เกิดขึ้นเมื่อสัมผัสกับสารอลูมิเนียมไตรคลอไรด
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : ออกซิเจน ออกซิเจนเหลว โซเดียม
โซเดียมไฮดรอกไซด โลหะผสมโซเดียม-
โพแทสเซียม อัลคาไลด สารออกซิไดซ
อลูมิเนียม ไนโตรเจนเตทริกไซด
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ทําใหเกิดกาซคารบอนมอนนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products) คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรด
และฟอสจีน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคาย
เคื อ งต อ ทางเดิ น หายใจ มี ผ ลต อ ระบบ
ประสาทสวนกลาง ทําใหปวดศีรษะ เวียน
ศี ร ษะ อ อ นเพลี ย คลื่ น ไส ถ า สั ม ผั ส ที่
ความเขมขนสูงกวา 500 ppm อาจทําให
การเตนของหัวใจผิดปกติ ตับ และไต ถูก
ทําลาย ความดันโลหิตลดต่ําลง หมดสติ
และอาจเสียชีวิตได
:การกลื นหรื อกิ นเข าไป จะทํ าให เกิ ดการ
ระคายเคือง คลื่นไส อาเจียน และเกิดอาการ
เชนเดียวกับการหายใจเขาไป
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหเกิดการระคาย-
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองเล็กนอย ผื่นแดง ถาสัมผัสถูกสารนี้นาน ๆ
จะทําใหผิวหนังแหงและตกสะเก็ด
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
ตอตา น้ําตาไหล ตาแดง เจ็บตา
:สารนี้ มี ผลทํ าลายระบบประสาทส วนกลาง
ตับ ไต
66

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure, Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 350 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : ปองกันไมใหไอระเหยของสารนี้ไหล
(Fire and Explosion Prevention) แพรกระจายไปบนพื้นสูแหลงจุดติดไฟ เกิด
ติดไฟยอนกลับมาได
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : เก็บในบริเวณที่เย็น และแหง เก็บในบริเวณ
ที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหเลือกอุปกรณที่เหมาะสมกับชวงความ
(Respiratory Protection Type) เขมขน เชน สารที่มีชวงความเขมขนไมเกิน
700 ppm ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับ
หายใจ (Supplied-air respirator) โดยมีคา
APF. = 10 หรือชนิดอื่นที่มีความเหมาะสม
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางดวยสบู และ
น้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอม
ถอดเสื้ อผ าและรองเท าที่ เป อนสารเคมี ออก
ลางและทําความสะอาดกอนนําไปใชอีกครั้ง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาดวยน้ําปริมาณ
มาก ๆอยางนอย 15 นาที หรือจนกวาสารจะ
ออกหมด นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถ าหายใจเข าไปให เคลื่ อนย ายผู ป วยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจให ช วยผายปอด ถ าหายใจติ ดขั ดให
ออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :-
67

8. ขอปฏิบตั ิทสี่ ําคัญ ( Special Instructions)


8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
- เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น มีการระบาย
อากาศเพียงพอ
- ปองกันความเสียหายทางกายภาพ
- แยกเก็บหางจากแหลงความรอน และแหลง
จุดติดไฟ
- ภาชนะบรรจุของสารที่เปนถังเปลา แตมีกาก
สารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว
อาจเปนอันตรายได
- อย าใช อุ ปกรณ หรื อภาชนะบรรจุ ที่ ทํ าจาก
วัสดุอลูมิเนียม การสัมผัสกับอลูมิเนียมภายใต
ของเหลวอั ดความดั นจะทํ าให เกิ ดปฏิ กิ ริ ยา
อยางรุนแรง
- ลางและทําความสะอาดใหทั่วภายหลังจาก
การเคลื่อนยาย
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : เก็บสารนี้ในสารยับยั้ง เพื่อปองกันการกัด
กรอนโลหะ
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ระบายอากาศบริเวณทีห่ กรัว่ ไหล
- เคลื่อนยายแหลงของการจุดติดไฟออกให
หมด
- สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
ที่เหมาะสม
- กั้นแยกพื้นทีอ่ ันตราย
- ควบคุมบุคคลที่ไมมีหนาทีจ่ ําเปนและไมมี
อุปกรณปองกันอันตรายเขาไป
- ใชเครื่องมือ และอุปกรณที่ไมกอใหเกิด
ประกายไฟ
- เก็บของเหลวใสในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม
หรือดูดซับดวยวัสดุเฉื่อย เชน หินแรเวอรไม
คิวไรท ทรายแหง ดิน และเก็บในภาชนะ
บรรจุกากของเสียของสารเคมี หามใชสารที่
ติดไฟได เชน ขี้เลื่อย
68

- อยาฉีดลางลงไปในทอระบายน้ํา
- อยาใชภาชนะบรรจุที่ทําจากวัสดุอลูมิเนียม
แมกนีเซียม หรือโลหะสังกะสี
8.4 การกําจัดสิง่ ปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : น้ํา ผงเคมีแหง โฟมที่เหมาะสม
Carbon dioxide

********************************************
69

สารเบนซีน (Benzene)
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : - ชื่อทางเคมี : เบนซีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Phenyl hydride, Coal naphtha, Benzol,
Benzine, Benzolene, Phene, (6)annulene,
Bicarburet of hydrogen, Carbon oil, Mineral
naphtha, Motor benzol, Nitration benzene,
Pyrobenzol, Benzene, Cyclohexatriene.
สูตรทางเคมี : C6H6
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชใ นกระบวนการผลิต เอทธิล เบนซีน
คูมีน ไซโคลเฮกเซน ไนโตรเบนซีน
ดีเทอเจนอัลคีเลท คลอโรเบนซีน และมาลีอิก
แอนไฮไดร เบนซีนจะถูกใชเปนสารตัวทําละลาย
และสารทําปฏิกิริยาในหองปฏิบัติการ
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1114
2.2 CAS No. :71-43-2
2.3 สารกอมะเร็ง - สารนี้ จั ดเป นสารก อมะเร็ งตามบั ญชี รายชื่ อ
IARC NTP ACGIH
- เบนซีนจะกอใหเกิดมะเร็งตอระบบน้ําเหลือง
ปอด กระเพาะปสสาวะ
- สารนี้สามารถแพรผานรกได แตจะไมกอใหเกิด
ผลกระทบตอตัวออนในครรภ
- การสั มผั สเบนซี นที่ มี ความเข มข นสู ง อาจ
ก อให เกิ ดผลกระทบต อระบบสื บพั นธุ และมี
ผลกระทบตอประจําเดือนในเพศหญิงได
- สารนี้ สามารถก อให เกิ ดการเปลี่ ยนแปลง
ก อให เกิดความผิดปกติ ของโครโมโซมในเม็ ด
เลือดขาว กอใหเกิดการทําลาย DNA ในเซลลเม็ด
เลือดได
- จากทดลองในสัตวพบวาการสัมผัสจะกอใหเกิด
การเพิ่มขึ้นของ เอทธานอลในระบบเลือดได
70

- เบนซี นสามารถดู ดซึ มเข าสู ร างกายได อย าง


รวดเร็วโดยทางการหายใจ และการกลืนกินและ
กระจาย สู สวนต าง ๆ ของรางกายอย างรวดเร็ ว
โดยเฉพาะในเนื้อเยื่อไขมัน และเบนซีน
จะเกิดเมตาโบลิซึมขั้นแรกที่ตับ และผาน
เขาสูไขกระดูก และทําใหมีความเปนพิษ
ขึ้น ในมนุษยคาครึ่งชีวิตของเบนซีน คือ
1-2 วัน และสารนี้ไมมีแนวโนมที่จะเกิด
การสะสม โดยสารนี้ จ ะถูก ปลอยออกมา
พรอมกับลมหายใจออกผานทางปอด และ
พบขับออกมาพรอมกับปสสาวะ
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : เบนซีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 0.5 ppm
คา LD50 : 930 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 80 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : 5.5 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 75 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.18 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.877
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมีสี กลิ่นเฉพาะตัว
อะโรมาติกไฮโดรคารบอน
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - 11 ํซ

5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด(LEL) : 1.3 %


- คาสูงสุด : 7.1 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 498 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
71

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โซเดียมเปอรออกไซด โพแทสเซียมเปอร


ออกไซด โครมิกแอนไฮไดร ไนตริกแอซิค
โอโซน ไดโบแรม อิน เตอรฮ าโลเจน
ไดฟลู อ อไรด เตตระฟลู อ อโรบอเรต
เปอรแมงกานิกแอซิค เมทัลเปอรคลอเรต
ไนตริลเปอรคลอเรต
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products) อัลดีไฮด และคีโตน
5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :ประจุไฟฟาสถิต ประกายไฟ ความรอน
และแหลงจุดติดไฟ
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเอาสารนี้เขาไป ผลกระทบของการ
สัมผัสสารนี้ จะไปกดระบบประสาทสวนกลาง
กอใหเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ งวงซึม ปวด
ศี รษะ คลื่ น ไส เกิ ด ภาวะการทํ า งานไม
ประสานกัน มึนงง และทําใหหมดสติได การ
สัมผัสสารนี้ที่ความเขมขน 25 ppm คาดวาจะ
ไมกอใหเกิดอันตราย การสัมผัสสารนี้ที่ความ
เขมขน 50-150 ppm จะกอใหเกิดอาการปวด
ศี รษะ และออนเพลี ย ก อให เกิ ดการระคาย
เคืองตอจมูก และลําคอ อาจจะมีอาการเวียน
ศี รษะ เป นอาการนํ าก อนเกิ ดอาการอื่ น ๆ
ตามมา การสั มผั สสารนี้ ที่ มี ความเข มข น
ประมาณ 20,000 ppm จะทําใหเสียชีวิต สาร
นี้ ก อให เกิ ดผลกระทบต อระบบเลื อดและ
ระบบภูมิคุมกันจากการทดลองในสัตวทดลอง
แตยังไมยืนยันวาสามารถกอใหเกิดผลกระทบ
ตอมนุษยในการสัมผัสสารในระยะสั้น
: การกลืนหรือกินเขา สารนี้จะเกิดการดูดซึม
อย างรวดเร็ วและมี ฤทธิ์ กดระบบประสาท
สวนกลาง กอใหเกิดอาการคลายหายใจเขาไป
พบวาสารนี้สามารถกอใหเกิดผลกระทบตอ
72

ระบบเลื อ ด และระบบภู มิ คุ ม กั น ได ใ น


สั ต ว ท ดลอง แต ยั ง ไม มี ร ายงานยื น ยั น
ผลกระทบดังกลาวในมนุษย
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จากการทดลองในสัตว
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] พบวาการสัมผัสสารนี้จะกอใหเกิดการระคาย
เคืองตอผิวหนังเล็กนอย จากการศึกษาใน
มนุ ษย พบว าสารนี้ สามารถดู ดซึ มผ านเข าสู
รางกายได ทําใหผิวหนังแหง
: การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารกอใหเกิด
การการระคายเคืองตอตา
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ทําใหเกิดผื่นแดง ผิวหนังแหง อักเสบ
(Effects of Over Exposure , Long – term) และทํ า ให เ กิ ด การสู ญ เสี ย / ทํ า ลายชั้ น
ไขมั น ของผิ ว หนั ง สารนี้ ก อ ให เ กิ ด การ
ลดลงของจํานวนเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือด
ขาวและเกล็ดเลือด แตในระยะเวลานาน
จะกอใหเกิดภาวะโลหิตจางและเกิดความ
ผิ ด ป ก ติ ต อ เ ม็ ด เ ลื อ ด ข า ว ( leukemia)
เนื่องจากเบนซีนจะไปทําลายไขกระดูกซึ่ง
มีหนาที่ในการผลิตเม็ดเลือด จึงทําใหเกิด
ภาวะโลหิตจาง และเกิดความผิดปกติของ
เม็ ด เลื อ ดขาว(leukemia)ขึ้ น รวมทั้ ง จะ
ก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ระบบภู มิ คุ ม กั น
น อ ก จ า ก นั้ น พ บ ว า เ บ น ซี น ส า ม า ร ถ
กอใหเกิดผลกระทบตอปลายประสาทและ
ไขสั น หลั ง ทํ า ให เ กิ ด อาการปวดศี ร ษะ
ปวดเมื่ อ ย เมื่ อ ยล า นอนไม ห ลั บ และ
ความจําเลอะเลือน
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย (TLV) : 0.5 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก
73

(Fire and Explosion Prevention) แหลงความรอน และมาตรการอื่นๆ ตามที่


กําหนดไวในการเก็บรักษา (ตามขอ 8)
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ระบบระบายอากาศที่ใชจะตองเปนระบบ
ที่ปองกันการเกิดประกายไฟ และอุปกรณ
เครื่ อ งมื อ ไฟฟ า ที่ ใ ช จ ะต อ งป อ งกั น การ
ระเบิด
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขน
(Respiratory Protection Type) ของสาร
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection): -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ): -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนัง
ทั น ที ด ว ยน้ํ า อุ น เป น เวลาอย า งน อ ย 20
นาที หรื อ จนกว า สารจะหลุ ด ออกหมด
พร อ มทั้ ง ถอดรองเท า และเสื้ อ ผ า ที่ เ ป อ น
สารเคมีออก
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวย
น้ําอุ น เป น เวลาอยา งน อ ย 20 นาที หรื อ
จนกว า สารจะหลุ ด ออกหมด ใช นิ้ ว ถ า ง
แยกเปลือกตาออก ขณะทําการลาง และ
ใหระวังอยาใหน้ําจากการลางตาไหลเขาสู
ตาอีกขางหนึ่ง นําสงแพทยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุด
หายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดให
ออกซิเจนชวย หากผูปวยหัวใจหยุดเตนให
ทําการกระตุนหัวใจทันที (CPR) นําสงไป
พบแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนหรือกินเขาไป หามมิใหสิ่งใดเขา
ปากผูปวยที่หมดสติ หารผูปวยยังมีสติอยู
ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ําอยากระตุน
ใหเ กิดการอาเจียน ใหผูปว ยดื่มน้ํา 240-
74

300 ml (8-10 ออนซ) เพื่อเจือจางสารเคมี


ในกระเพาะอาหาร หากผู ป ว ยเกิ ด การ
อาเจียนขึ้นเองใหเอียงศีรษะต่ํา และอยา
หายใจเอาไอของสารที่เกิดจากการอาเจียน
เข า ไป และให ผู ป ว ยดื่ ม น้ํ า ตามมาก ๆ
นําสงแพทยทันที
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด ปองกัน
การสัมผัสกับแสงโดยตรง
-เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศที่ดี
-เก็บหางจากแหลงความรอน แหลงจุดติด
ไฟ พื้นผิวที่รอน สารออกซิไดซ สาร
กัดกรอน สารที่เขากันไมได ประกายไฟ
และเปลวไฟ
-เก็บในบริเวณที่หามสูบบุหรี่
-บริ เ วณที่ เ ก็ บ สารจะต อ งไม มี ส ารที่
สามารถลุกติดไฟได
- ในบริเวณที่เก็บจะตองมีอุปกรณดับเพลิง
และอุ ป กรณ สํ า หรั บ เก็ บ กวาดสารที่ ห ก
รั่วไหล
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures)-ใหกั้นแยกพื้นที่ที่เกิดอุบัติเหตุหกรั่วไหล
- ให ส วมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายที่
เหมาะสม
- จัดใหมีการระบายอากาศในบริเวณที่เกิด
การหกรั่วไหล และใหเคลื่อนยายแหลงจุด
ติดไฟทั้งหมดออกไป
- ให ห ยุ ด การรั่ ว ไหลหากสามารถทํ า ได
อยางปลอดภัย
- ใหดูดซับสวนที่หกรัว่ ไหลดวยทราย ดิน
และวัสดุดูดซับที่ไมเกิดปฏิกิรยิ ากับสารเคมี
- กรณีการหกรัว่ ไหลเล็กนอย ใหดดู ซับสวนที่
หกรั่วไหลดวยวัสดุดูดซับที่ไมเกิดปฏิกิริยา
75

กับสาร และเก็บใสในภาชนะที่เหมาะสม ทํา


การติดฉลากภาชนะบรรจุ แลวลางบริเวณสาร
หกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาด
เรียบรอยแลว
- วัสดุดดู ซับสารที่เปรอะเปอนจะตองไดรับ
การกําจัดเชนเดียวกับของเสีย
- กรณีหกรั่วไหลรุนแรง ใหทําการติดตอ
หนวยฉุกเฉิน และหนวยบริการดับเพลิง
- การทําความสะอาดอยาสัมผัสกับสารที่หก
รั่วไหล
- ปองกันไมใหสารเคมีท่หี กรั่วไหล ไหลลงสู
ทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ และ
บริเวณที่อับอากาศ
8.4 การกําจัดสิง่ ปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบยี บทีท่ างราชการกําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชชนิดเดียวกับที่ใชกับของเหลวไวไฟ

***********************************
76

สารอะครีโลไนไตร (Acrylonitrile)
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : - ชื่อทางเคมี : อะครีโลไนไตร
ชื่อพองอื่นๆ (Synonyms) :Propenenitrile;Cyanoethylene;ACN;
Fumigrain;Propenonitrile;AN;Miller's
fumigrain; TL 314; VCN; Propenitrile;
Acrylonitrile
สูตรทางเคมี :CH2 :CHCN
1.2 การใชประโยชน(Use) :สารนี้ใชในการผลิตสาร ABS ใชเปนสาร
รมควัน ใชในการ grafting แปง ใชในการแยกสาร
ดวยไฟฟา
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1093
2.2 CAS No. :107-13-1
2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้สงสัยวาเปนสารกอมะเร็งตอมนุษย
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :อะครีโลไนไตร
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 2 ppm
คา LD50 :78 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boilling Point) :77.3 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -82 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 83 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) :7 กรัม/100 มิลลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.806
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว เหลืองใส กลิ่นฉุน
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :7.5 ที่ 20 ํซ
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :-1.11 ํC
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด - (LEL) :3.0 %
77

คาสูงสุด (UEL) :17 %


5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :481 ํC
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :จะเกิ ดปฏิ กิ ริ ยาโพลิ เมอร อย างรุ นแรงใน
สารอัลคาไลดเขมขน อาจทําใหเกิดปฏิกิริยาที่
รุนแรง และปฏิกิริยาเมื่อสัมผัสออกซิเจนหรือ
แสง
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิ ไ ดซ กรด เบส อั ล คาไลด
โบรมี น ทองแดง และโลหะผสมทองแดง
และสภาวะที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน เชน การ
เกิ ดปฏิ กิ ริ ยาโพลิ เมอร เซชั่ น เมื่ อสั มผั สกั บ
ออกซิเจน แสง ความรอน และแหลงที่เกิด
ประกายไฟ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :ไฮโดรเจน ไซยาไนด ไนโตรเจนไดออกไซด
(Hazardous Decomposition Products) และออกไซดของคารบอน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) :ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดอาการ เวียน
ศี รษะ ปวดศี รษะ น้ํ าตาไหล จาม เจ็ บคอ
หายใจติดขัด คลื่นไส รูสึกออนเพลีย หมด
สติ และอาจถึงตายได
:การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเกิดอันตราย
ได มีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ น้ําตาไหล
จาม คลื่นไส ออนเพลีย หมดสติ และอาจถึง
ตายได
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) :การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองตอผิวหนัง เกิดผื่นแดง สารนี้ดูดซึมผาน
ผิวหนังไดดี
:การสัมผัสถูกตา ทําใหเกิดการระคายเคืองตอ
ตา น้ําตาไหล
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure, Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure , Long – term)
78

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 2 ppm


7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ อัลคาไลด
(Fire and Explosion Prevention) ปฏิกิริยาโพลิเมอร ออกซิเจน หรือแสง ความ
รอน และแหลงที่ทําใหเกิดประกายไฟ
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ
(Respiratory Protection Type): ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ
สาร โดยสอบถามจากบริษัทหรือตัวแทน
จําหนาย
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ําปริมาณมาก ๆ
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ตา ให ล างตาทั นที โดยให น้ํ า
ไหลผานตาอยางนอย 15 นาที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจให ช ว ยผายปอด และถ าผู ป ว ยยั ง
สามารถหายใจไดควรใหเอมิลไนไตรท โดย
การหายใจเปนเวลา 3 นาที
:ถากินหรือกลืนเขาไป หากผูปวยยังมีสติอยู
ใหดื่มน้ํา และกระตุนทําใหอาเจียนโดยทันที
พรอมนําสงแพทย ถาผูปวยหมดสติ หามมิ
ใหสิ่งใดเขาปากผูปวย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมิดชิด
- เก็บในที่เย็น และที่มีการระบายอากาศไดดี
79

- เก็ บห างจาก เปลวไฟ ความร อน สารอั ลคาไลด หรื อสาร


ออกซิไดซ
- อยาเก็บในลักษณะไมมีสารยับยั้งอยู
- แนะนําใหใชอุปกรณทําความเย็นชนิดปองกันการระเบิดได
สําหรับการเก็บ
- อุปกรณทั้งหมดควรตอลงดิน(Groung)เมื่อมีการขนถายสารนี้
- ภาชนะบรรจุของสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคาง
อยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอันตรายได
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : -ใหอพยพคนที่ไมเกี่ยวของทั้งหมดออก
-ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสม
-ขจัดแหลงการจุดติดไฟใดๆ จนกระทั่งพื้นที่
ดั ง กล า วปราศจากอั น ตรายจากการระเบิ ด และ
อัคคีภัย
-เก็บบรรจุสวนที่หกรั่วไหลและแยกออกจากแหลง
สารเคมี นั้ น ถ า สามารถทํ า ได โ ดยปราศจากความ
เสี่ยงอันตราย
-เก็บและบรรจุเพื่อการนําไปกําจัดอยางเหมาะสม
การกําจัดใหพิจารณาจากรหัสของเสีย EPA U009
D001 การบําบัดใชเทคโนโลยีที่เฉพาะเจาะจง
เตาเผาควรอยูในที่ต่ํากวาระดับ TCA วิเคราะห
องคประกอบทั้งหมด ซึ่งตองปฏิบัติตามระเบียบ
ขอบังคับของทางราชการอยางเครงครัด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด แอลกอฮอล โฟม

******************************************
80

สาร 1,2 –ไดคลอโรอีเทน (1,2-Dichloroethane)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : - ชื่อทางเคมี : 1,2-ไดคลอโรอีเทน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) :1,2-bichloroethane,dichloroethylene,
ethylene dichloride, ethane dichloride,
1,2-ethylene dichloride, glycol dichloride,
EDC, NCI-C00511, sym-dichloroethane,
alpha, beta- dichloroethane, borer sol,
brocide, destruxol,dichloremulsion, dutch
oil, di-chlor-mulsion, dutch liquid, Freon
150, NU-G00511; Freon 150
สูตรทางเคมี : C2H4 Cl2
1.3 การใชประโยชน(Use) : ใชในกระบวนการผลิตไวนิลคลอไรด
ซึ่ ง ใช ใ นการทํ า พลาสติ ก ต า ง ๆ และ
ผลผลิตของไวนิล รวมทั้งโพลีไวนิลคลอไรด
เฟอรนิเจอร และเครื่องตกแตงบาน เชน
โมบายด สิ่งปกคลุมพนัง กําแพง เครื่อง
ต ก แ ต ง บ า น แ ล ะ ชิ้ น ส ว น โ ม บ า ย ด
นอกจากนี้ ยั ง ใช เ ป น สารตั ว ทํ า ละลายใน
การล า งไขมั น และลอกสี และเป น
ตัวกลางของสารประกอบอินทรียอื่น ๆ
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1184
2.2 CAS No. :107-06-2
2.3 สารกอมะเร็ง : สงสัยเปนสารกอมะเร็งในมนุษย เปน
สาเหตุทําลายตับ จากการทดลองเปนสาร
กอมะเร็งผานทางรก ทําใหหมดความรูสึก
ระคายเคืองผิว
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : 1,2-ไดคลอโรอีเทน
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm
คา LD50 : 670 mg/ kg
81

4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)


4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 83.5-84.0 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : - 35 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) :387 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 25 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.87 กรัม/100 มิลลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.253
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส รสหวาน กลิ่นคลาย
คลอโรฟอรม
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 15 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 6.2 %
-คาสูงสุด (UEL) : 15.6 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature): 775 ํF
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิ ไ ดซ อั ล คาไลด ที่ แ รง ด า ง
เขมขน แมกนีเซียม โซเดียม โพแทสเซียม
เอมีนที่วองไว แอมโมเนีย เหล็ก สังกะสี
กรดไนตริก อลูมิเนียม อากาศ และแสง
และแหลงความรอนสูง
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products) คลอไรด และคลอรีน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป ในปริมาณมาก ๆ จะทํา
ใหระบบประสาทสวนกลางไมทํางาน มี
ผลทําใหปวยเปนโรคตับ และไต และมีผล
ตอปอด
: การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหระบบ
ประสาทส ว นกลางไม สั่ ง การ เกิ ด การ
ทําลายไต และตับ และมีผลตอปอด
82

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการ


[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนัง
: การสัมผัสถูกตา ทําใหระคายเคืองตา
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ทําลายตับ เปนสารกอมะเร็งและสามารถ
(Effects of Over Exposure ,Long – term) สูผานทารกได หมดความรูสึก
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 25 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ ดางเขมขน
(Fire and Explosion Prevention) โลหะแมกนีเซียม โซเดียม โพแทสเซียม
แสง และแหลงติดไฟ
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขน
(Respiratory Protection Type) ของสาร โดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปน
ตัวดูดซับในการกรอง ใหใชอุปกรณที่มีคา
APF. = 50
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบกอกเกิ้ลกันสารเคมี
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ผิ ว หนั ง ให ฉี ด ล า งผิ ว หนั ง
ทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15
นาที และนําสงไปพบแพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ตา ให ล า งตาทั น ที ด ว ยน้ํ า
ปริมาณมาก ๆ
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุด
หายใจใหชวยผายปอด นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :-
83

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)


8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมิดชิด ใชในที่มี
การระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บในที่เย็น และแหง
- เก็บหางจากเปลวไฟ ความรอน
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures): วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหล
ใหเคลื่อนยายออกจากบริเวณที่หกรั่วไหล
และกั น บุ ค คลที่ ไ ม เ กี่ ย วข อ งให อ อกจาก
บริเวณที่สารหกรั่วไหล
- ปดแหลงจุดติดไฟทั้งหมด
- ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- ถาหกรั่วไหลเล็กนอยใหทําการเก็บสวนที่
หกรั่วไหล และทําความสะอาดโดยใหอยู
ในดานเหนือลม
-การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไป
ตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง
โฟม

******************************************
84

สาร คารบอนเตตราคลอไรด (Carbon tetrachloride)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) : - ชื่อทางเคมี: คารบอนเตตราคลอไรด
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Carbon tet , Methane tetrachloride ,
Perchloromethane ,Refrigerant R10 ,Necatorina ,
Benzinoform , Carbon chloride ,
Tetrachlorocarbon, Carbona, Flukoids,
Necatorine, R10, Tetrafinol, Tetraform, Tetrasol,
Univerm, vermoestricid, R 10(refrigerant),
Carbon tetrachloride.
สูตรทางเคมี : CCL4
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารเคมีในหองปฏิบัติการ ใชในการ
ผลิตแร ในการหลอโลหะผสมทองแดง และ
การเตรียมคลอรีน
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1846
2.2 CAS No. :56-23-5
2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้ อาจเป นสารก อให เกิ ดมะเร็ ง เป น
อันตรายตอระบบสืบพันธุ และอาจทําใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงทางกรรมพันธุ
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : คารบอนเตตราคลอไรด
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :5 ppm
คา LD50 :1,500 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :76.5 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -23 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 98 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 70 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.08 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.59
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นอีเธอร
85

4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-


5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : -
-คาสูงสุด (UEL) : -
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 1,000 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะอัลคาไลด โลหะที่เปนผงละเอียด
สารออกซิไดซ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซฟอสจีน คารบอนมอนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products) คารบอนไดออกไซด
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคือง
ระบบหายใจ ทําใหปวดศีรษะ มึนงง มีฤทธิ์
กดระบบประสาทสวนกลาง ทําใหหมดสติ
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองเล็กนอย ถาสัมผัสสารเปนเวลานาน ทําให
ผิวหนังแหง เปนโรคผิวหนัง สารนี้สามารถดูด
ซึมผานผิวหนัง ทําใหเปนอันตราย
:การสั มผั สถู กตา จะก อใหเกิดการระคายเคื อง
เล็กนอย ปวดตา ตาแดง
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 5 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : -
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :-
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขนตามที่
(Respiratory Protection Type) NIOSH แนะนํา
86

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : เลือกถุงมือที่ทําจากวัสดุประเภท Nitrile ที่มี


(Hand Protection) ระยะเวลาการซึมผานผนังของถุงมือ 150 นาที
หรือดีกวา และอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ
อยูในระดับดี
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอม
ถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ าสั มผั สถู กตา ให ฉี ดล างตาทั นที ด วยน้ํ า
ปริมาณมากอยางนอย 15 นาที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถ าหายใจเข าไป ให เคลื่ อนย ายผู ป วยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจให ช วยผายปอด ถ าหายใจติ ดขั ดให
ออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : การกลืนหรือกินเขาไป จะมีอาการเหมือนหายใจ
เขาไป มีอาการคลื่นไส อาเจียน วิงเวียนศีรษะ
ปวดทอง ทองเสีย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
-เก็ บในบริ เวณที่ แห ง และเย็ น และมี การ
ระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บหางจากอาหาร และบริเวณที่เก็บอาหาร
- ลางใหสะอาดภายหลังการใชสารเคมี
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - อพยพออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล
- ให ดู ดซั บส วนที่ หกรั่ วไหลด วยทรายหรื อ
วัสดุดูดซับที่เฉื่อย
- เก็บสวนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปด
มิดชิดเพื่อนําไปกําจัด
- ปองกันไมใหสารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู
ทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ
87

- ให ส วมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายที่


เหมาะสม
- พิจารณาการกําจัด โดยปฏิบัติใหเปนไปตาม
กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เ ป นไปตามกฎระเบี ย บที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : น้ํา คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง
หรือโฟมที่เหมาะสม

********************************************
88

สารไตรคลอโรเอทธิลลีน(Trichloroethylene)
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) :- ชื่อทางเคมี :ไตรคลอโรเอทธิลลีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) :Ethinyl trichloride; Acetylene trichloride;
Ethylene trichloride; Triciene; 1,1,2-
Trichloroethylene;Tri;TCE;Tri-Clene;
Trielene;Trilene;Trichloran;Trichloren;
Algylen;Trimar;Triline;Trethylene;
Westrosol;Chlorylen;Gemalgene;
Germalgene; 1,1,2-Trichloroethene;
1-Chloro-2,2-dichloroethylene;
1,1-Dichloro-2-chloroethylene;
1,2,2-Trichloroethylene;Anamenth;
Benzinol;Blacosolv;Blancosolv;Cecolene;
Chlorilen;Chlorylea; Chorylen; Circosolv;
Crawhaspol;Densinfluat;Dow-tri;
Dukeron; Fleck-flip; Flock flip; Fluate;
Lanadin; Lethurin; Narcogen; Narkogen;
Narkosoid; Nialk; Perm-a-chlor;
Perm-a-clor;Petzinol;Philex;Threthylene;
Triad; Trial; Triasol; Triklone; Triol;
Tri-plus;Tri- plus m;Vestrol;Vitran;Trieline
สูตรทางเคมี : C2HCl3
1.3 การใชประโยชน(Use) : เปนสารเคมีใชในหองปฏิบัติการ
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number : 1710
2.2 CAS No. : 79-01-6
2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :ไตรคลอโรเอทธิลลีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :100 ppm(กฎหมายตามประกาศกระทรวงฯ)
: 50 ppm (ACGIH)
89

คา LD50 :5,650 mg/ kg


4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 87.2 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : 86.4 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 60 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา (Solubility in water) : 0.1 กรัม/100 มิลลิลิตร ที่ 25 ํซ
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.476
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) :ใส ไมมีสี เปนของเหลว กลิ่นคลายอีเธอร
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :-

5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL):8 % คาต่ําสุด (LFL): 7.9 %


- คาสูงสุด (UEL):10.5 % คาสูงสุด (UFL): 90 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :410 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้มีความเสถียร
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะ ดางเขมขน สารออกซิไดซ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การเผาไหมที่ไมสมบูรณ จะทําใหเกิด
(Hazardous Decomposition Products) ฟอสจีน ไฮโดรเจนคลอไรด คลอรีน และ
ไอระเหยที่เปนพิษ
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคาย
เคืองตอทางเดินหายใจ ทําใหเ กิดอาการ
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ คลื่นไส ไอ หายใจ
ติดขัด หมดสติ เปนลม
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) :การสัมผัสถูกผิวหนังซ้ําหรือเปนเวลานาน
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] จะก อ ให เ กิ ด การระคายเคื อ ง และทํ า ให
ผิวหนังอักเสบเนื่องจากการสูญเสียไขมัน
ของชั้นผิวหนังได และอาจทําใหเกิดภาวะ
ภูมิแพตอการสัมผัสผิวหนังได
90

: การสัมผัสกับของเหลวหรือไอที่มีความ
เขมขนสูง จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอ
ตา และทําใหน้ําตาไหลได
: การกลืนหรือกินเขาไป จะทําใหเกิดการ
ระคายเคืองตอทางเดินอาหาร และทําให
เกิดอาการคลื่นไส ไอ ปวดทอง ทองรวง
และอาจหมดสติได
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : การสัมผัสไอระเหยที่มีความเขมขนสูง ๆ
(Effects of Over Exposure Short – term) อาจจะทําใหเสียชีวิตได
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การหายใจหรือการดูดซับของสารเขาสู
(Effects of Over Exposure Long – term) รางกายเปนระยะเวลานาน จะกอใหเกิดผล
ต อ ระบบประสาทส ว นกลาง ทํ า ลายตั บ
รวมทั้งทําใหเกิดภาวะที่ไวตออีพริเนฟฟริน
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :100 ppm (กฎหมายตามประกาศ
กระทรวง ฯ)
: 50 ppm (ACGIH)
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : -
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :เก็บสารในที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถัง
(Respiratory Protection Type) อากาศ ในตัว(SCBA) พรอมหนากากแบบ
เต็มใบหนา
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท
(Hand Protection) Laminated film, Supported Polyvinyl
Alcohol
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : สวมใสแวนตาแบบปดครอบดวงตา
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนัง
ทั น ที ด ว ยน้ํ า ปริ ม าณมากอย า งน อ ย 15
นาที พร อ มทั้ ง ถอดรองเท า และเสื้ อ ผ า ที่
91

ปนเป อ นสารเคมี อ อก และนํ า ส ง แพทย


ทันที
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตาใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริ ม าณมากอย า งน อ ย 15 นาที พร อ ม
กระพริบตาถี่ ๆ ขณะทําการลาง นําสงไป
พบแพทยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุด
หายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดให
ออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหเกิด
การอาเจี ย น ห า มไม ใ ห สิ่ งใด ๆ เข า ปาก
ผูปวยที่หมดสติ
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในหองสําหรับเก็บสารเคมีอันตราย
- ใหลางทําความสะอาดรางกายใหทั่วถึง
ภายหลังทําการเคลื่อนยาย
- เก็บในภาชนะที่ปดมิดชิด บริเวณที่แหง
และเย็น มีการระบายอากาศเพียงพอ มี
อุณหภูมิ 15 ถึง 20 ํ ซ
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก - วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล
(Spill and Leak Procedures) -ให ส วมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายที่
เหมาะสม
- ให ดูด ซั บ สว นที่ห กรั่ ว ไหลด ว ยวัส ดุ ดู ด
ซับที่เหมาะสม เชน ทราย หรือวัสดุดูดซับ
ที่ เ ฉื่ อ ย และเคลื่ อ นย า ยออกสู บ ริ เ วณที่
ปลอดภัยเพื่อนําไปกําจัด
- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไป
ตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
92

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด น้ํา


ฉี ด เป น ฝอย โฟม หรื อ สารดั บ เพลิ ง ที่
เหมาะสมกับสภาพการดับเพลิงโดยรอบ

*************************************
93

สาร 1,2 – ไดคลอโรโพรเพน (1,2- Dichloropropane)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี : 1,2- ไดคลอโรโพรเพน
ชื่อพองอื่นๆ (Synonyms) : Propylene dichloride ; Dichloropropane ;
Propylene chloride; Alpha, Beta-
dichloropropane ; Alpha,beta-propylene
dichloride; Dichloropropanes;
1,2-Dichloropropane(Propylene
Dichloride) ; Dichloropropane, 1,2-;
สูตรทางเคมี : C3H6Cl2
1.2 การใชประโยชน(Use) :ใชทํายาฆาแมลง
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1279
2.2 CAS No. :78-87-5
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :1,2- ไดคลอโรโพรเพน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :75 ppm
คา LD50 :2,196 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 96 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -80 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 43 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.3 กรัม/100 มิลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.2
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมีสี กลิ่นเฉพาะตัว
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : 5.5 ที่ 20 ํ ซ
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 15 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 3.4 % และ(LFL) :3.2 %
94

- คาสูงสุด (UEL) :14.5 % และ(UFL): 14.5 %


5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 555 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : เกิดการระเบิดไดเมื่อผสมกับอากาศ
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ โลหะ อลูมิเนียมและ
พลาสติก
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กรดไฮโดรคลอริก มีฤทธิ์กัดกรอน
(Hazardous Decomposition Products)
5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เพราะทําใหสารสลายตัว
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคือง
ต อระบบทางเดิ นหายใจ ทํ าให เจ็ บคอ ไอ
หายใจติดขัด ปวดหัว
: การกินหรือกลืนเขาไป ทําใหมีอาการปวด
ชองทอง ปวดหัว คลื่นไส งวงนอน
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)) เคืองตอผิวหนัง เปนผื่นแดง มีอาการปวดแสบ
ปวดรอน
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
ตาแดง ตาเจ็บ
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 75 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ โลหะ อลูมิเนียม
(Fire and Explosion Prevention) พลาสติก ความรอน และอากาศ
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ
(Respiratory Protection Type) สาร
95

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : เลือกใชถุงมือที่ทําจากวัสดุประเภท


(Hand Protection) Laminated film ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทําให
เกิดการซึ มผ านผนังของถุ งมื อมากกวา 480
นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ
อยูในระดับดีมาก
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ): -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ด วยน้ํ า ปริ มาณมาก ๆ อย างน อย 15 นาที
พรอมทั้งถอดเสื้อผา และรองเทาที่ปนเปอน
สารเคมีออก
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณ
มาก ๆ อยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเข าไป ใหเคลื่อนยายผูป วยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป ใหผูปวยลางบวนปาก
ดวยน้ํา นําไปสงพบแพทย
8. ขอปฏิบัตทิ ี่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมดิ ชิด
-เก็บในทีแ่ หงและเยน็
- เก็บในที่ที่มกี ารระบายอากาศเพยี งพอ
-เก็บในที่ที่สามารถปองกันไฟได
-แยกเกบ็ สารออกซิไดซ เปลวไฟ ประกายไฟ
-หามสูบบุหรี่บริเวณทีเ่ ก็บสารเคมี
-ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลัง
การเคลื่อนยาย
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) -วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล
อพยพไปที่อนื่
- เรียกผูเชีย่ วชาญในการหยุดการรั่วไหลของ
สาร ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยง
อันตราย
96

- ดูดซึมดวยทรายหรือวัสดุดูดซับอื่น ๆ และ
นําไปเก็บไวในที่ปลอดภัย
- ใสอุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจขณะ
ทําการกําจัดสารที่รั่วไหล
- เก็บสารใสภาชนะบรรจุที่มีการปดมิดชิด
- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบตั ิใหเปนไปตาม
กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชผงดับเพลิง โฟมAFFF โฟมทั่วไป
คารบอนไดออกไซด(ฮาลอน) และใชน้ํา
ฉีดหลอเย็นภาชนะบริเวณทีส่ ัมผัสไฟ

******************************************
97

สารซีส -1,3 –ไดคลอโรโพรพีน (cis – 1,3-Dichloropropene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) DWA 580 ชื่อทางเคมี : cis – 1,3-dichloropropene
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : cis-1,3-dichloropropylene; 1,3-dichloropropene;
1,3-cis-dichloro-1-propene; 1,3-cis-
dichloropropene; 1,3- cis-dichloropropylene;
1,3-dichloropropene(Z); dichloropropene;
1-propene, 1,3- dichloro-, (Z) ; telone II
สูตรทางเคมี : C3H4 Cl2
1.3 การใชประโยชน(Use) : ใชเปนยาฆาพยาธิ ใชรมควันลงในดิน(soil
fumigant) ใชเปนสารสังเคราะห (Synthetic
reagent )
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :2047
2.2 CAS No. :10061-01-5
2.3 สารกอมะเร็ง : เปนสารที่คาดวาเปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : 1,3-ไดคลอโรโพรพีน
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 1 ppm
คา LD50 : - mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 104 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : - ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 43 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 25 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ไมละลายน้ํา แตละลายไดในอะซีโตน,
โทลูอีน ออกเทน
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.224
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี จนถึงมีสีเหลืองอําพัน
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
98

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %
-คาสูงสุด (UEL) : - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : - ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซอยางแรง เชนอะลูมินัม โลหะ
ผสมอลูมิ เนียม และโลหะ ฮาโลเจน เกลือ
ของโลหะบางชนิด
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :-
(Hazardous Decomposition Products)
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การกินเขาไป จะทําใหเกิดเนื้องอก
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : ทําใหน้ําตาไหล
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)]
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสสารนี้ในระยะยาวจะเปนพิษ
(Effects of Over Exposure ,Long – term) ระคายเคือง
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซอยางแรง อ ลูมินัม
(Fire and Explosion Prevention) ที่รอน และโลหะผสม อลูมินัม
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ
(Respiratory Protection Type) สาร และไดมาตรฐาน โดยใชสารเคมีประเภทที่
เหมาะสมเป นตั วดู ดซั บในการกรอง ให ใช
อุปกรณที่มีคาAPF. = 50 หรือคาอื่นตามความ
เหมาะสม
99

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมีและกันสารเคมีได


(Hand Protection)
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา :ใชแวนตาชนิดครอบแบบกอกเกิ้ลกัน
(Eye Protection ) สารเคมี
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : ชุดเสื้อผาชนิดกันสารเคมีหรือที่กันเปอนทํา
ดวยยาง (Rubber Apron)
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และ
นําสงไปพบแพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ตา ให ล างตาทั นที ด วยน้ํ า
ปริมาณมาก ๆ
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจใหชวยผายปอด นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากินหรือกลืนเขาไป ใหลางบวนปากดวย
น้ํา และนําไปสงแพทย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็ บในภาชนะบรรจุ ให มิ ดชิ ด ใช ในที่ มี การ
ระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บในที่เย็น และแหง
- เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหล ให
เคลื่อนยายออกจากบริเวณที่หกรั่วไหลและกัน
บุคคลที่ไมเกี่ยวของใหออกจากบริเวณที่สาร
หกรั่วไหล
- ปดแหลงจุดติดไฟทั้งหมด
- ให หยุ ดการรั่ วไหล ถ าสามารถทํ าได โดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- ถาหกรั่วไหลเล็กนอย ใหทําการเก็บสวนที่
หกรั่ ว ไหล โดยใช วั ส ดุ ดู ด ซั บ เช น สาร
100

เวอท มิ คู ไ ลท หรื อ ทราย และทํ า ความ


สะอาดโดยใหอยูในดานเหนือลม
-ถ า หกรั่ ว ไหลปริ ม าณมากให กั้ น แยก
บริเวณ และปมใสในภาชนะบรรจุเพื่อนํา
กลับมาใชใหม ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อไมให
ไอระเหยฟุ ง กระจาย ดู ด ซั บ ด ว ยทราย
และดิ น เก็ บ กวาดหรื อ ตั ก ใส ใ นภาชนะ
บรรจุ ที่ ทํ า จากโลหะที่ ส ะอาดเพื่ อ นํ า ไป
กําจัด
-การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไป
ตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :เผาในเตาเผา
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ํา
ฉีดเปนฝอย โฟม

*****************************************
101

สารโทลูอีน (Toluene)
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี :โทลูอีน ฟนิล มีเทน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Toluol, Methylbenzene, Methacide, Tolu-sol,
Phenyl methane, Methylbenzol, Monomethyl
benzene , Atisal 1a, Tol
สูตรทางเคมี : C7H8
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารตัวทําละลาย
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1294
2.2 CAS No. :108-88-3
2.3 สารกอมะเร็ง :สารนี้ไมเปนสารกอมะเร็ง แตสารนี้มีผลทําลาย
ตับ ไต กระเพาะปสสาวะ และสมอง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :โทลูอีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm
คา LD50 : 5,000 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :110.6 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -126 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 22 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.054- 0.058 กรัม / 100 มิลลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.87
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมีสี มีกลิ่นหอมหวาน
ของอะโรมาติก
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 6 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :1.2 %
- คาสูงสุด (UEL) :7.1 %
102

5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :535 ํซ


5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซที่รุนแรง
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ออกไซดของคารบอนและไนโตรเจน
(Hazardous Decomposition Products)
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเอาสารนี้เขาไป จะกอใหเกิดการ
ระคายเคื อง เกิดอาการปวดศี รษะ วิงเวี ยน-
ศีรษะ คลื่นไส และมึนงง
:การกลืนกินเขาไป จะกอใหเกิดการระคาย
เคือง ทําใหปวดทอง ปวดศีรษะ วิงเวียน และ
มึนงง
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคือง ทํา ใหเกิดผื่นแดง
:การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
ทําใหตาแดง
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 50 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารออกซิไดซที่รุนแรง แหลง-
(Fire and Explosion Prevention) ความรอน ประกายไฟ เปลวไฟ
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ -
(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณชวยหายใจ ที่มีตัวดูดซับ
ในการกรองที่เหมาะสม เชน สารที่มีชวงความ
เขมขน 500 ppm ใหใชอุปกรณที่มีคาAPF. =10
103

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : เลือกใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท


(Hand Protection) Laminate film แ ละวัสดุประเภท Supported
Polyvinyl Alcohol
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที
พร อมทั้ งถอดรองเท าและเสื้ อผ าที่ เป อน
สารเคมีออก ซั กและทํ าความสะอาดเสื้ อผ า
และรองเทากอนที่จะนํามาใชใหมอีกครั้ง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ าสั มผั สถูก ตา ให ฉีดลางตาทันทีดวยน้ํ า
ปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทย
ทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิด
การอาเจียน นําสงไปพบแพทย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บหางจากแหลงจุดติดไฟ เด็ก อาหาร
- เก็บในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม
- เก็บภายใตไนโตรเจน
-การเคลื่อนย า ยสารนี้ ควรเคลื่อนย ายอยาง
ระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการสัมผัสถูกรางกาย
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ให หยุ ดการรั่ วไหล ถ าสามารถทํ าได โดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- อพยพบุคคลออกจากบริเวณที่หกรั่วไหล
- ปดแหลงกําเนิดไฟทุกแหง
- ระบายอากาศ และลางบริเวณสารหกรั่วไหล
หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว
- ใชเครื่องมือที่ไมกอใหเกิดประกายไฟ
104

-ใหดูดซั บสวนที่ หกรั่ วไหลดวยทราย หรื อ


วัสดุดูดซับอื่นที่ไมลุกติดไฟ และเก็บกวาดใส
ในภาชนะบรรจุเพื่อนําไปกําจัด
- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตาม
กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เ ป นไปตามกฎระเบี ย บที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด น้ําฉีดเปน
ฝอย หรือโฟม ที่เหมาะสม

**********************************************
105

สาร 1,1,2-ไตรคลอโรอีเทน (1,1,2-Trichloroethane)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี : 1,1,2-ไตรคลอโรอีเทน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Beta – trichloroethane; 1,2,2 – Trichloroethane,
Ethane trichloride; 1,1,2 – Trichloroethane
(Vinyl Trichloride) ; Trichloroethane , 1,1,2-
สูตรทางเคมี : C2H3Cl3
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใช เป นสารตั วทํ าละลายในการผลิ ตยา ใช ใน
อุตสาหกรรมไฟฟา
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :3082
2.2 CAS No. :79-00-5
2.3 สารกอมะเร็ง -ไมเปนสารกอมะเร็ง แตการสัมผัสสารซ้ํา ๆ
จะทําใหเกิดผลกระทบตอตับ ไต ปอด และ
ระบบเลือด
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :1,1,-2 ไตรคลอโรอีเทน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :10 ppm
คา LD50 : - mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :114 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง :-36 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) :18.8 มิลลิเมครของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) :0.4 กรัม / 100 มิลลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.4432
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) :เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นคลายคลอโรฟอรม
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :-
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :6 % -คาต่ําสุด (LFL):8.3 %
106

- คาสูงสุด (UEL):15.5 % - คาสูงสุด (UFL):12.1 %


5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :-
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิ ไดซ หลี กเลี่ยงการสั มผั สกั บโลหะ
เชน อลูมิเนียม
สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง เปลวไฟ งานเชื่อม แหลงที่มีอุณหภูมิสูง ซึ่งจะ
กอใหเกิดการสลายตัว
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซไฮโดรเจนคลอไรด กาซคลอรีน กาซ-
(Hazardous Decomposition Products) ฟอสจีน และเกิดกาซพิษขึ้นระหวางที่มีการ
สลายตัว
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเอาสารที่มีความเขมขนสูงเขาไป
อาจทําใหเสียชีวิตได การสั มผัสในปริมาณ
มากจะทําให เกิดการระคายเคื องต อทางเดิ น
หายใจสวนบน ทําใหเกิดอาการชา และงวง
ซึมได จากการศึกษาพบวาสารนี้ทําใหเกิดการ
ทําลายตับ และไตได
:การกลื น กิ น เข า ไป ในปริ ม าณเล็ ก น อ ย
ระหวางการเคลื่อนยายไมนาเกิดอันตราย
แต ถ า มาก ๆ อาจทํ า ให ต ายได หาก
ของเหลวเขาสูปอดจะเกิดการดูดซึมผาน
ปอด และเกิ ด อั น ตรายต อ ระบบของ
ร า งกายได การรั บ เข า ไปปริ ม าณมาก
อาจจะไปเพิ่มความไวตออีพิเนพฟริน และ
เพิ่มการเตนของหัวใจ และเกิดการระคาย
เคืองผนังหัวใจได

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ


[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคื อ งต อ ผิ ว หนั ง การสั ม ผั ส ซ้ํ า ๆ
หรื อ เป น ระยะเวลานานจะทํ า ให ผิ ว หนั ง
แหง หรือสารดูดซึมเขาสูรางกาย และเกิด
107

อันตรายได และอาจเกิดสะเก็ดที่ผิวหนัง
ได
: การสัมผัสถูกตา จะใหเกิดอาการปวดตา
เกิดการระคายเคืองตอตาเล็กนอย และอาจ
เกิดการทําลายกระจกตาชั่วคราวได ไอ-
ระเหยของสารจะกอใหเกิดการระคายเคืองตา
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การไดรับสารนี้เปนเวลานาน จะทําให-
(Effects of Over Exposure ,Long – term) ผิวหนังแหง หรือสารถูกดูดซึมเขาสูรางกาย และ
เกิ ด อั น ตรายได และอาจเกิ ด สะเก็ ด ที่
ผิวหนังได
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :10 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เชน สาร-
(Fire and Explosion Prevention) ออกซิไดซ โลหะ เชน อลูมิเนียม เปลวไฟ
แหลงความรอน งานเชื่อม และแหลงจุด
ติดไฟอื่น ๆ
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ-
(Respiratory Protection Type) สารโดยใชอุปกรณชวยหายใจ ชนิดที่มีถัง-
อากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา
ซึ่งมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ผิ ว หนั ง ให ฉี ด ล า งผิ ว หนั ง
ทัน ทีดวยน้ําปริ มาณมาก ๆอยางนอย 15
นาที พร อ มทั้ ง ถอดรองเท า และเสื้ อ ผ า ที่
เปอนสารเคมีออก ซักและทําความสะอาด
108

เสื้อผาและรองเทากอนที่จะนํามาใชใหม
อีกครั้ง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที
นําสงแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจ
ให ช ว ยผายปอด ถ า หายใจติ ด ขั ด ให
ออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิด
การอาเจียน นําสงแพทย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในที่แหง และเย็น
- อย า เก็ บ รวมกั บ อะลู มิ เ นี ย ม หรื อ
อลูมิเนียมอัลลอยด
- อย า ฉี ด น้ํ า เป น ลํ า ตรงเพราะจะเกิ ด การ
แพรกระจายของเพลิงได
-ขั้นตอนปฏิบัติในกรณีเกิดเพลิงไหม ให
เคลื่ อ นย า ยออกจากบริ เ วณที่ มี ก ารหก
รั่วไหล
-ใหกั้นแยกพื้นที่ติดไฟ และควบคุมบุคคล
ที่ผานเขาออก
- ปองกันไมใหสารเคมีที่หกรั่วไหล ไหล
ลงสู ท อ ระบายน้ํ า แม น้ํ า และแหล ง น้ํ า
อื่นๆ
- สวนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถ
ทําใหเกิดการระเบิดได
-ใหอยูในดานเหนือลม และใหเคลื่อนยาย
ออกจากบริเวณที่มีการสะสมของฟูมกาซ
- กรณีเ กิด เพลิง ไหม ใหส วมใส อุป กรณ
ชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)
พรอมชุดปองกันเพลิง
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
109

8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหเคลื่อนยายออกจากบริเวณที่มีการหก


รั่วไหล
- ในกรณี หกเล็ กน อยให ทํ าการเช็ดหรื อเก็ บ
สารทันทีและเคลื่อนยายออกสูภายนอก
- กรณีหกรั่วไหลรุนแรง ใหเก็บของเหลว และ
เคลื่อนยายใสในภาชนะบรรจุที่เปนโลหะปด
มิดชิด
- ให ส วมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายที่
เหมาะสม
- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตาม
กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เ ป นไปตามกฎระเบี ย บที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชน้ําฉีดเปนฝอย คารบอนไดออกไซด
ผงเคมี แหง โฟม

*************************************
110

สารเ ตตราคลอโรเอทธิลลีน (Tetrachloroethylene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี : เตตราคลอโรเอทธิลลีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Perchloroethylene PERK; PERC;
Perchloroethylene; Dowper; Perclene;
Tetrachloroethene; Nema; Tetracap; Tetropil;
Ankilostin; Didakene;
1,1,2,2-Tettrachloroethylene;
Carbondichloride;Perchlor; Antisol 1; Fedal-un;
PER; Perawin, Perclene d; Percosolve,
Perklone; Persec; Tetlen; Tetraleno; Tetralex;
Tetravec; Tetroguer; Tetrochloroethane ;
Tettrachloroethylene
สูตรทางเคมี : Cl2C = CCl2 (C2Cl4)
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสาร dry-cleaning, สาร vapour degreasing
แ ละ drying agent สําหรับโลหะและ
ของแข็งอื่น ๆ ใชเปนตัวกลางถายเทความรอน
ใชในการผลิตสารฟลูออโรคารบอน
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1897
2.2 CAS No. :127-18-4
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : เตตราคลอโรเอทธิลลีน
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm
คา LD50 : 3,853 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boilng Point) :120 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -22.7 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) :19 มิลลิเมตรของปรอท ที่ - ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.0149 กรัม / 100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.62
111

4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-


4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นหอมหวาน
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %
- คาสูงสุด (UEL) : - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :ไมมี แตสามารถลุกติดไฟไดที่อุณหภูมิหอง
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : ดางเขมขน
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซคารบอนมอนนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products) กาซคารบอนไดออกไซด
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) :ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเขาไปจะทําใหเกิดการระคายเคืองตอจมูก
เล็กนอย ความเขมขนสูง ๆจะทําใหปวดศีรษะ กระวน
กระวาย เวียนศีรษะ คลื่นไส งวงนอน และหมดสติ
- เสี่ยงตอการเกิดหัวใจเตนเร็ว
- เสี่ยงตอการเกิดโรคปอดอักเสบและน้ําทวมปอด
-ในกรณีของการสัมผัสถูกนาน ๆ และ ซ้ํา ๆ กันจะ
ทําใหปวดศีรษะ เซื่องซึม และเสี่ยงตอการผิดปกติของ
ระบบประสาท
- อาจเกิดผลกระทบภายหลัง รวมทั้งการเกิดโรคปอด
อักเสบ ปอดบวมน้ําจากการไอ
- สารเปอรคลอโรเอทธิลลีน หรือสารเตตราคลอโรเอทธิล
ลีน สามารถดูดซึมผานเขาสูรางกายทางหายใจเปนหลัก
ทําใหเกิดทั้งการระคายเคือง และอาการทางประสาท
:การกลืนกินเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอ
ปากและลําคอ ทําใหเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ อาเจียน
ปวดทอง ทองรวง เสี่ยงตอการเกิดหัวใจเตนเร็ว การ
ทํางานผิดปกติของตับ และไต
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ตอผิวหนังเล็กนอย ผื่นแดงที่ผิวหนัง ในกรณีที่-
112

สัมผัสซ้ําๆ กัน จะทําใหเกิดรอยแตกราวบนผิวหนัง


เสี่ยงตอการเกิดโรคผิวหนังอักเสบ จากการสัมผัสสารนี้
โดยตรงอยางรุนแรงจะทําใหผิวหนังไหม แผลพุพอง
ผื่นแดงเปนจ้ํา นอกจากนี้ผิวหนังบางสวนสามารถดูด
ซึ มเข าสู รางกายได แต จะไม เกิ ดอาการอย างเห็ นได
ชัดเจน
:การสัมผัสถูกตา ฟูมของสารนี้กอใหเกิดการระคาย
เคืองตอตาเล็กนอย ถาเปนของเหลวจะกอใหเกิดอาการ
ระคายเคืองรุนแรงขึ้น ทําใหน้ําตาไหล ตาแดง เสี่ยงตอ
การเกิดการบาดเจ็บตอตาชั่วคราว
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure ,Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 10 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เชน ดางเขมขน
(Fire and Explosion Prevention)
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ
(Respiratory Protection Type) สาร โดยใช อุ ปกรณ ช วยหายใจ ชนิ ดที่ มี ถั ง
อากาศในตัว (SCBA ) พรอมหนากากแบบเต็ม
หนา ซึ่งมีการทํางานแบบความดันภายในเปน
บวก
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) :-
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ถอดรองเทา ถุงเทา และเสื้อผาที่
เปอนสารออกและลางบริเวณผิวหนังที่สัมผัสดวยสบู อยาง
113

นอย 15 นาที เรียกแพทยในกรณีที่เจ็บปวดตลอดเวลา หรือ


เปนผื่นแดงของผิวหนัง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาโดยการใหน้ําไหลผานอยาง
น อย 15 นาที พร อมกระพริ บตาถี่ ๆ ขณะทํ าการล าง
นําสงไปพบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มี
อากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจ
ติดขัด ใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทยทั นทีอยา
กระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยบวนลางปากดวนน้ํา
ถาผูปวยหมดสติใหคลายเสื้อผา และจัดใหผูปวยนอนเอา
ศีรษะลงต่ํา ใหออกซิเจนหรือชวยผายปอดถาจําเปน ให
รักษารางกายผูปวยใหอบอุน นําสงไปพบแพทย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - การเก็บ ขนสง เก็บในที่ที่เย็นและแหง บริเวณทีม่ กี าร
ระบายอากาศดี ไอระเหยหนักกวาอากาศ จุดสําคัญตองมีการ
ระบายอากาศทีระดับพื้น
-หลีกเลี่ยงการโยนถังบรรจุ ใหใชรถเข็นสําหรับเคลื่อนยาย
- สารนี้ตอง เก็บหางจากแหลงความรอนทั้งหมด
-ใหระมัดระวังในการตอตานกับการสะสมของประจุไฟฟา
สถิตย
-หลีกเลี่ยงความรอนของสารเกิน 120 องศา เซล เซียส
-หลีกเลี่ยงความชื้นและการสัมผัสแสงแดดโดยตรง
-หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับดางแก เชน โซ เดียม และโพแทส
เซียมไฮดรอกไซด สารออกซิไดซ และผงโลหะละเอียด ๆ
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหอพยพบุคคลออกจากบริเวณ
- ให หยุ ดการรั่ วไหล ถ าสามารถทํ าได โดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- เก็บสวนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปด
มิดชิดเพื่อนําไปกําจัด
- ให ส วมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายที่
เหมาะสม
114

- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตาม
กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เ ป นไปตามกฎระเบี ย บที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหเลือกใชสารดับเพลิงที่เหมาะสมกับสภาพ
ของเพลิงโดยรอบ

********************************************
115

สาร 1,2-ไดโบรโมอีเทน ( 1,2-Dibromoethane)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี :1,2-ไดโบรโมอีเทน , เอทธิลลีน
ไดโบรไมด
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : EDB; Dibromoethane; Ethylene Bromide; Glycol
Dibromide; Sym-dibromoethane; Dowfume W 85;
Bromofume; Celmofume; Celmide; E-D-Bee;
Kopfume; Nephis; Alpha ,beta–dibromoethane; Glycol
bromide; Dowfume 40 ; Dowfume edb; Dowfume w-8;
Dowfume w-90; Dowfume w-100; EDB-85; Fumo-gas;
Iscobrome d; Pestmaster; Pestmaster edb-85; Soilbrom-40;
Soilbrom-85; Soilbrom-90; Soilbrom-100; Soilfume;
Unifume; Aadibroom; Dibromoethylene;
Garden dowfume; Soilbrom 90EC;
Dibromoethane,1,2-; 1,2-Dibromomethane.
สูตรทางเคมี : C2H4Br2
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสาร เติมแตง ชวยหนวงการติดไฟ
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1605
2.2 CAS No. :106-93-4
2.3 สารกอมะเร็ง :สารนี้เปนสารกอมะเร็ง ทําใหเกิดความผิดปกติตอ
อวัยวะสืบพันธุ นอกจากนี้ยังเปนอันตรายตอตับ ไต
และหัวใจ ถาไดรับสารนี้ติดตอกันเปนเวลานาน ๆ อาจ
ทําใหเปนหมัน และเปนผลรายตอทารกในครรภ
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :1,2-ไดโบรโมอีเทน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : - ppm
คา LD50 :108 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :131 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : 9 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) :17.4 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 30 ํซ
116

4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ละลายไดเล็กนอย


4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 2.17
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใสไมมีสี หรือมีสีเหลืองใส กลิ่น
หวาน
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %
- คาสูงสุด (UEL) : - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : -
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะอัลคาไลท สารออกซิไดซ แมกนีเซียม
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนออกไซด (COx) และสารประกอบ
(Hazardous Decomposition Products) โบรมีน
5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเอาไอระเหยเขาไปจะทําใหเกิดการ
ระคายเคื องต อเนื้ อเยื่ อเมื อก หายใจถี่ ปวด
ศีรษะ คลื่นไส อาเจียน
: การกลืนกินเขาไป จะมีผลตอระบบประสาท
ส วนกลางและตั บ รวมถึ งอาการปวดศี รษะ
เจ็บปวดกระเพาะอาหารและลํ าไส คลื่นไส
หมดความรูสึกเฉพาะทาง ปวดตามลําตัว และ
เมื่อยลาทั่วไป
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนังจะทําใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองอาจจะถูกดูดซึมผานทางผิวหนัง ทําให
เกิดตุม
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
117

6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ถาไดรับสารนี้ติดตอกันเปนเวลานาน ๆ อาจ


(Effects of Over Exposure , Long – term) ทําใหเปนหมัน และเปนผลรายตอทารกในครรภ
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : - ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได และความรอน
(Fire and Explosion Prevention)
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ-
(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณชวยหายใจ ชนิดที่มีถัง-
อากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็ม
หนา ซึ่งมีการทํางานแบบความดันภายในเปน
บวก
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังดวย
น้ําปริมาณมาก ๆ
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาโดยทันทีดวยน้ํา
ปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตา
ขึ้นลง นําสงไปพบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจให
ชวยผายปอด
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป ใหนําสงแพทยทันที
ถามีสติใหดื่มน้ํา พรอมถอดเสื้อผาที่ปนเปอน
สารออก ทําความสะอาดกอนใชอีกครั้ง
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศดี
- เก็บภาชนะบรรจุที่ปดแนน
118

- อยาหายใจ เอาไอระเหย เขาไป เขาตา สัมผัสถูก


ผิวหนัง หรือเสื้อผา
- ส วนที่ เหลื อตกค างอาจจะทํ าให เกิ ดอั นตรายจาก
ภาชนะที่วาง เปลา ใชอยางระมัดระวัง
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล : ใหอพยพคนที่
ไมเกี่ยวของทั้งหมดออกจากพื้นที่
- สวมใสอุปกรณปองกันใหเหมาะสม
- กํ าจั ดแหลงจุดติดไฟใด ๆ จนกระทั่งพิจารณา
แลววาจะไมเกิดการระเบิดและอันตรายจากไฟ
- เก็บสวนที่หกรั่วไหลและแยกออกจากบริเวณนั้น
ถาสามารถทําไดโดยไมเกิดอันตราย
- นําสารไปกําจั ดโดยปฏิบัติ ตามกฎระเบี ยบของ
กฎหมาย
- การพิจารณาการกําจัดใหปฏิบัติตามกฏระเบียบ
ของกฏหมาย
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารเคมีแหง โฟม

******************************************
119

สารคลอโรเบนซีน (Chlorobenzene)
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี:- คลอโรเบนซีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Phenyl Chloride, Benzene chloride,
Chlorobenzol, MCB , Monochlorobenzol ,
Chlorobenzene , Chlorobenzene Mono ,
Monochlorobenzene.
สูตรทางเคมี : C6H5Cl
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนตัวทําละลาย ใชเปนสารออกซิไดซ
เปนตัวทําละลายโพลีคารบอเนต
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1134
2.2 CAS No. :108-90-7
2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : คลอโรเบนซีนหรือ เบนซีนคลอไรด
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 10 ppm
คา LD50 : 1,110 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 132 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -45 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 11.8 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ไมละลายน้ํา
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.11
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) :ใส ไมมีสี เปนของเหลว กลิ่นคลายอัลมอนด
4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :28 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด - (LEL) : 1.3 %
- คาสูงสุด (UEL) : 9.6 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :590 ํซ
120

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้มีความเสถียรภายใตภาวะปกติของการ


ใชงาน และการเก็บรักษา
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ ไดเมทธิลซัลฟอกไซด และ
สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ แหลงจุดติดไฟ อากาศ
และสารที่เขากันไมได
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ทําใหเกิดกาซฟอสจีน ไฮโดรเจนคลอไรด
(Hazardous Decomposition Products) คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคาย
เคืองตอทางเดินหายใจ ทําใหเกิดอาการไอ
หายใจถี่รัว มีผลกระทบตอระบบประสาท
ส ว นกลาง ทํ า ให เ วี ย นศี ร ษะ เกิ ด การ
ทํางานไมประสานกันของกลามเนื้อ และ
หมดสติ
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ-
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคือง เกิดผื่นแดง คัน และอาการ
เจ็บปวด ซึ่งสารนี้สามารถถูกดูดซึมผาน
ผิ ว หนั ง เข า สู ร า งกายได อย า งช า ๆ ทํ า ให
เกิดผลตอระบบของรางกายได
: การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารนี้จะ
ทําใหเกิดการระคายเคืองตอตา เกิดแผล
ไหม และเกิดการทําลายตาได
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสนาน ๆ หรือเปนประจํา อาจ-
(Effects of Over Exposure , Long – term) กอใหเกิดอาการอักเสบที่ผิวหนัง หรือแผล
ไหมบริเวณผิวหนัง รวมถึงตับ ไต ระบบ
ประสาทสวนกลาง ตอมไทมัส มาม
ไขกระดูก อัณฑะ หรือปอดถูกทําลายได
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 10 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
121

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสวนผสมไอระเหยกับอากาศ


(Fire and Explosion Prevention) อาจเกิด การระเบิดไดภายใตขีดจํากัดความ
ไ ว ไ ฟ ที่ อุ ณ ห ภู มิ สู ง ก ว า จุ ด ว า บ ไ ฟ
หลีกเลี่ยงจากแหลงความรอน แหลงจุด
ติ ด ไฟ สารที่ เ ข า กั น ไม ไ ด และประจุ
ไฟฟาสถิตย
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :-
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : เลือกหนากากที่ปองกันความเขมขน
(Respiratory Protection Type) ในชวงที่ เหมาะสม และมีตัวดูดซับที่
เหมาะสมในการกรอง
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ผิ ว หนั ง ให ฉี ด ล า งผิ ว หนั ง
ทัน ทีดวยน้ํ าและสบูปริ มาณมากๆ อยาง
นอย 15 นาที นําสงแพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริมาณมาก อยางนอย 15 นาที ยกเปลือก
ตาขึ้นลง นําสงแพทยโดยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูป วยหยุด
หายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดให
ออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : การกลืนหรือกินเขาไป เปนสาเหตุใหเกิด
การระคายเคืองตอกระเพาะอาหารและลําไส
ทําใหเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน ทองรวง
และมีผลเหมือนกับการหายใจเอาสารนี้เขาไป
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
(Handling and Storing) - เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น มีอากาศถายเทดี
- เก็บหางจากที่ซึ่งอาจเกิดจากอันตรายจากอัคคีภัย และ
สารออกซิไดซ
122

- ปองกันการเกิดความเสียหายทางกายภาพ
- เก็บไวภายนอกอาคารหรือแยกเก็บภายในหองเก็บให
เหมาะสม
- แยกเก็บจากสารที่เขากันไมได
- ภาชนะบรรจุตองตอสายเชื่อม(Bonded) และตอสายดิน
ขณะถายเทสารนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงประกายไฟฟาสถิตย
- บริเวณที่เก็บและสถานที่ใช ตองกันไวไมใหมีการสูบ
บุหรี่
- ภาชนะถังเปลาแตมีสารเคมีตกคางอยู เชนไอระเหย
อาจกอใหเกิดอันตรายได
- ใหดูปายเตือนและขอควรระมัดระวังอันตรายของสาร
นี้ทั้งหมด
- ลางใหสะอาดภายหลังการใชสารเคมี
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี :-
(Corrosiveness)
8.3 การปองกันการรั่วและการหก - ใหระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล
(Spill and Leak Procedures) - เคลื่อนยายแหลงจุดติดไฟทั้งหมดออกไป
- กั้นแยกพื้นที่อันตรายออก
- หามไมใหบุคคลที่ไมมีหนาที่จําเปน และไมสวมใส
อุปกรณปองกันเขาไป
- เก็บ และเอาของเหลวคืนกลับมาใชใหมถาเปนไปได
- ใชเครื่องมือ และอุปกรณที่ไมทําใหเกิดประกายไฟ
- เก็บรวบรวมสวนที่หกรั่วไหล ใสในภาชนะบรรจุที่
เหมาะสมหรือดูดซับดวยวัสดุเฉื่อย เชน แรหินทราย
(Vermiculite) ทรายแหงและเก็บใสภาชนะบรรจุกาก
ของเสียจากเคมี
- อยาใชวัสดุที่ติดไฟไดเปนตัวดูดซับ เชน ขี้เลื่อย
- อยาฉีดลางลงทอระบายน้ํา ถาสารที่หกรั่วไหลยังไม
ติ ด ไฟ ให ใ ช น้ํ า ฉี ด เป น ฝอยเพื่ อ สลายกลุ ม ไอระเหย
เพื่อปองกันบุคคลที่พยายามจะเขาไปหยุดการรั่วไหล
และฉีดลางสวนที่หกรั่วไหลออกจากการสัมผัส
- การพิจารณาการกําจัด ไมควรนํากลับมาใชใหม ควร
นําไปกําจัดในเตาเผาที่ไดความเห็นชอบจากทางราชการ
123

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด


(Disposal Methods)
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชผงเคมีแหง โฟม คารบอนไดออกไซด

**********************************
124

สารเอทธิลเบนซีน (Ethylbenzene)
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี : เอทธิลเบนซีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Ethylbenzol, Ethylbenzene, EB,
Phenyl ethane
สูตรทางเคมี : C8H10
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนตัวทําละลาย ใชในกระบวนการดูดซับ
และในน้ํามันปโตรเลียมชนิด BTX
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1175
2.2 CAS No. :100-41-4
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : เอทธิลเบนซีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :100 ppm
คา LD50 :3,500 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 134-137 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -95 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 10 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ละลายไดนอยมาก
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.867
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นคลายอะโรมาติก
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :15 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :1 %
- คาสูงสุด (UEL) : 6.7 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :431 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
125

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ


5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :ไอพิษของกาซคารบอนไดออกไซด และ
(Hazardous Decomposition Products) คารบอนมอนนอกไซด
5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความชื้น
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไปจะกอใหเกิดการระคายเคือง
ตอเยื่อเมือก และทางเดินหายใจสวนบน กด
ประสาทสวนกลาง
: การกลืนกินเขาไป จะทําใหเกิดการระคาย
เคือง คลื่นไส อาเจียน ปวดศีรษะ
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองผิวหนัง
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
ตอตา
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : อวัยวะเปาหมาย คือระบบประสาท
(Effects of Over Exposure , Long – term) สวนกลาง ปอด ทรวงอก ระบบหายใจ ไต
ตับ กระเพาะปสสาวะ อวัยวะสืบพันธุ เปน
อันตรายตอทารกในครรภ
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย (TLV) : 100 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารออกซิไดซ
(Fire and Explosion Prevention)
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ-
(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ
โดยมีสารเคมีดูดซับในการกรองประเภท
ปองกันไอระเหยของสารอินทรียที่มีคา
APF.=10 หรือมากกวาขึ้นอยูกับความ
126

เขมขนของสาร
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางทันทีดวยสบู
และน้ํ าปริ มาณมาก ๆ อย างน อย 15 นาที
พร อมถอดเสื้ อผ าและรองเท าที่ ปนเป อน
สารเคมีออก
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาดวยน้ําปริมาณ
มาก ๆ อยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจ ให
ชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย
และนําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลื นเขาไป ถาผูปวยยังมีสติอยู
ใหลางบวนปากดวยน้ําสะอาด และนําสงไป
พบแพทย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุปดมิดชิด
- เก็บในที่เย็นและแหง
- เก็บหางจากความรอน ประกายไฟ และเปลวไฟ
- หลังการเคลื่อนยายสารเคมี ใหลางมือทุกครั้ง
- หามหายใจเอาไอของสารเคมีเขาไป
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล กัน้
แยกบริเวณทีส่ ารหกรั่วไหล
- ตัดหรือปดแหลงจุดติดไฟทั้งหมด

- ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว
(SCBA)รองเทาบูท และถุงมือยาง
- ใหดูดซับสารหกรั่วไหลดวยถานกํามันต และเก็บ-
ใสในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท
127

- จัดใหมีการระบายอากาศ และลางทําความสะอาดบริเวณที่
หกรั่วไหล
- ใชเครื่องมือทีไ่ มกอใหเกิดประกายไฟ
- การกําจัดโดยเผาไหมสารเคมีในเตาเผาชนิดขัน้ ที่ 2 และ
ระบบกําจัดตองระมัดระวังเปนพิเศษในการจุดติดไฟ
เนื่องจากสารนีไ้ วไฟสูงมาก
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด เชน
เผาในเตาเผาสารเคมีซึ่งติดตั้งเครื่องเผาทําลายสารคารบอน
และเครื่องฟอก แตตองระมัดระวังเรื่องการจุดติดไฟ
เพราะสารนี้ไวไฟสูง
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง หรือโฟม

****************************************
128

สารไซลีน ( o,- p, m –Xylene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี :ไซลีน , ไดเมทธิลเบนซีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Xylol , Xylene, Dimethylbenzene (mixed
isomers) ; Xylenes (mixed isomers) , Xylenes
(o, m -, p- isomer) ; Dimenthylbenzrnes, Xylene
mixture (60% m-xylene, 9 % o-xylene, 14% p-
xylene, 17% ethylbenzene) ; Xylene (mixed) ;
except p-xylene, mixed or all isomers ; Xylene
(total)
สูตรทางเคมี : C8H10
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารตัวทําละลาย (Solvent)
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1307
2.2 CAS No. :1330-20-7
2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง สารนี้ทําลายประสาท
เลือด ดวงตา หู ตับ ไต และเปนอันตรายตอ
ทารกในครรภ
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :ไซลีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :100 ppm
คา LD50 :4,000 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :138.3 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) /จุดเยือกแข็ง :30 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 6.72 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 21 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.13 กรัม / 100 มิลลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.87
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส กลิ่นหอมหวาน
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
129

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :26.1 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :1 %
-คาสูงสุด (UEL) :7 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :527 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซอยางแรง
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด
(Hazardous Decomposition Products) ควัน และไอระเหย
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคือง
และหายใจติดขัด
: การกลื นหรื อกิ นเข าไป เป นอั นตรายต อ
รางกาย ทําใหมีการขับของน้ําลายออกมามาก
มีเหงื่อออก คลื่นไส อาเจียน ทองรวง ปวด
ทอง และเบื่ออาหาร
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)) เคือง เกิดแผลแสบไหม และทําใหผิวหนัง
อักเสบ
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
และเกิดเปนแผลไหม
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure ,Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 100 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารออกซิไดซ แหลงความรอน เปลวไฟ
(Fire and Explosion Prevention) หรือประกายไฟ
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
130

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :-
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท
(Hand Protection) Laminate film ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทําให
เกิดการซึมผานผนังของถุงมือ และมีอัตราการ
เสื่อมสภาพของถุงมืออยูในระดับดีมาก
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบ goggle ปองกันสารเคมี
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหลางออกดวยสบูและ
น้ํา อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและ
รองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบ
แพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที นําสงไป
พบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจให
ชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย
และนําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหอาเจียน
นําสงไปพบแพทย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม
- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บหางจากแหลงจุดติดไฟทั้งหมด
- เก็บหางจาก เด็ก
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก - วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ใหหยุด-
(Spill and Leak Procedures) การรั่วไหลถาสามารถทําได โดยปราศจาก ความ
เสี่ยงอันตราย
- ใหดูดซับสวนที่หกรั่วไหลดวยทรายหรือวัสดุดูด-
ซับอื่นที่ไมติดไฟ
- เก็บสวนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
131

เพื่อนําไปกําจัด
- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏ
ระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
เชน เผาในเตาเผาสารเคมีซึ่งติดตั้งเครื่องเผาทําลาย
สารคารบอน และเครื่องฟอก แตตองระมัดระวัง
เรื่องการจุดติดไฟ เพราะสารนี้ไวไฟสูง
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ําฉีด
เปนฝอย หรือโฟม

********************************************
132

สารสไตรีน (Styrene) หรือ ไวนิล เบนซีน (Vinyl benzene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี : สไตรีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Vinyl benzene, Phenylethylene, Styrol,
Cinnamene, Ethenylbenzene, Annamene,
Styrolene, Cinnamol, Cinnamenol,Diarex hf 77,
Phenethylene, Phenylethene, Styron, Styropol,
Styropor, Vinylbenzol, Styrene monomer.
สูตรทางเคมี : C8H8
1.3 การใชประโยชน(Use) :สารนี้นําไปใชในหองปฏิบตั ิการ-
(Laboratory reagent)
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :2055
2.2 CAS No. :100-42-5
2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้ไมเปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : สไตรีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm
คา LD50 : 5,000 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :145 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -31 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 5 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : < 0.1 % กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.91
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี ไมมีกลิ่น
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :31 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :1.1 % - คาต่ําสุด (LFL) :1.1 %
133

- คาสูงสุด (UEL) : 8.9 % - คาต่ําสุด (UFL) :6.1 %


5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 489 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิ ไ ดซ ที่ รุ นแรง ทองแดง กรด
เขมขน เกลือของโลหะ ตัวเรงปฏิกิริยา และ
สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง คือ แสง ความรอน
เปลวไฟ แหลงจุดติดไฟอื่น ๆ และอากาศ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products)
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเอาสารนี้เขาไป จะกอใหเกิดการ
ระคายเคื องระบบหายใจ อาจจะทํ าให เกิ ด
อาการโรคน้ํ าท วมปอด ง วงนอน ไอ ปวด
ศีรษะ วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส อาเจียน และ
เซื่องซึม
: การกลืนหรือกินเขา จะกอใหเกิดการระคาย
เคือง และ เปนแผลไหมที่ปากและกระเพาะ
อาหาร ทําใหเกิดอาการเจ็บคอ ปวดทอง ปวด
ศีรษะ วิงเวียน อาเจียน และเซื่องซึม
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] และเกิดแผลไหม ตาแดง และปวด
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure มShort – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : กดระบบประสาทสวนกลาง
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 50 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก-


(Fire and Explosion Prevention) แหลงความรอนหรือไฟ และมาตรการอื่นๆ
ตามที่กําหนดไวในการเก็บรักษา
134

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ


เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ -
(Respiratory Protection Type) สาร และสารดูดซับในการกรองที่เหมาะสม โดย
มีคา APF. = 10 หรือมากกวาขึ้นอยูกับความ
เขมขนของสารที่ฟุงกระจาย
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : เลือกใชถุงมือประเภทที่ทํามาจากวัสดุ
(Hand Protection) Laminate film Supported Polyvinyl Alcohol
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที
พร อมทั้ งถอดรองเท าและเสื้ อผ าที่ เป อน
สารเคมีออก ซั กและทํ าความสะอาดเสื้ อผ า
และรองเทากอนที่จะนํามาใชใหมอีกครั้ง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ าสั มผั สถูก ตา ให ฉีดลางตาทันทีดวยน้ํ า
ปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจให ช วยผายปอด ถ าหายใจติ ดขั ดให
ออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากลืนหรือกินเขาไป ถาผูปวยมีสติใหดื่ม
น้ําปริมาณมาก และกระตุนใหผูปวยอาเจียน
และนําสงแพทยทันที
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
- เก็บในที่เย็นและแหง (อุณหภูมิต่ํากวา 15 องศา
เซลเซียส)
- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
-เก็ บ ในบริ เ วณที่ เก็ บของเหลวไวไฟ และ
เก็บในภาชนะที่ตานทานแสง
135

- ตอสายเชื่อม (Bond) และสายดินที่ภาชนะบรรจุ


ในขณะที่ทําการขนถายสารเคมี
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ปด และเคลื่อนยายแหลงจุดติดไฟ
-หามสูบบุหรี่ในบริเวณที่สารหกรั่วไหล
- ให หยุ ดการรั่ วไหลถ าสามารถทํ าได โดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- ใหดูดซับสวนที่หกรั่วไหลดวยทราย หรือ
วัสดุดูดซับอื่น ที่ไมสามารถลุกติดไฟได และ
เก็บใสภาชนะบรรจุที่เหมาะสมเพื่อนําไปกําจัด
- ใชน้ําฉีดเปนฝอย เพื่อลดการเกิดไอระเหย
- ให ส วมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายที่
เหมาะสม
- ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมี
ถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว
- การพิจารณาการกําจัด ใหปฏิบัติเปนไปตาม
กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เป นไปตามกฎระเบี ยบที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใช โฟม แอลกอฮอล ผงเคมีแหง
หรือ คารบอนไดออกไซด (ใชน้ําในการ
ดับเพลิงไมไดผล)

******************************
136

สาร 1,1,2,2-เตตราคลอโรอีเทน (1,1,2,2-Tetrachloroethane)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี:1,1,2,2,-เตตราคลอโรอีเทน,
อะเซทธิลลีน เตตราคลอไรด
เตตราคลอไรด เตตราคลอโรอีเทน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Sym-Tetrachloroethane, Symmetrical
tetrachloroethane, Acetylene tetrachloride,
Dichloro 2 ,2 dichloroethane, Cellon,
Bonoform; 1,1-Dichloro-2,2-dichloroethane,
Westron, Acetosol; Tetrachloroethane,1,1,2,2-;
สูตรทางเคมี : C2H2Cl4
1.3 การใชประโยชน(Use) : สารนี้นําไปใชวิเคราะห และทดสอบทางเคมี
(reagent) ในหองปฏิบัติการ
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1702
2.2 CAS No. :79-34-5
2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : 1,1,2,2-เตตราคลอโรอีเทน
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 1 ppm
คา LD50 : 250 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :147 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) /จุดเยือกแข็ง : -43 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 8 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.3 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.59
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เป น ของเหลว ใส ไม มี สี กลิ่ น คล า ย
คลอโรฟอรม
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
137

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %
- คาสูงสุด (UEL) : - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : - ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะที่วองไวทางเคมี ไอของกรดกํามะถัน
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products) และเมื่ อได รั บความร อนจะสลายตั วเป น
ไฮโดรเจนคลอไรด และฟอสจีน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป สารนี้เปนพิษมากทําใหเกิด
การระคายเคืองตอเยื่อบุทางเดินหายใจสวนบน
รุนแรงรวมทั้งอาการระคายเคืองตอจมูก และ
ลํ าคอ มี น้ํ าลายมากผิ ดปกติ ถ าสั มผั สอย าง
ต อเนื่ องอาจเกิ ดการกระสั บกระส าย เวี ยน
ศีรษะ คลื่นไส อาเจียน และมีการมึนเมา
อาการไมสบายจะเพิ่มขึ้น อาจทําใหเปนดีซาน
โรคปอดบวม ถูกทําลาย เกิดการชักกระตุก
อยางแรง อาการโคมา และตาย
: การกินหรือกลืนเขาไป สารนี้เปนพิษมากทํา
ใหเกิดอาการคลายกับการหายใจเขา ทําใหเกิด
การระคายเคืองตอทางเดินหายใจ ระคายเคือง
ตอทางเดินอาหาร ทําใหเกิดอาการทั้งคลื่นไส
อาเจียน แ ละทองรวง
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนัง มีอาการผื่นแดง และ
เจ็บปวด สารนี้อาจดู ดซึ มผ านผิวหนั งเขาสู
รางกายได
: การสัมผัสถูกตา ไอระเหยจะเปนสาเหตุทําห
เกิดการระคายเคืองตอตา สารเคมีกระเด็นใสตา
138

จะทําใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง จะทํา
ใหกระจกตาไหม และตาบอดได
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสเรื้อรัง มีผลคุกคามตอสุขภาพ
(Effects of Over Exposure , Long – term) อาจจะมีผลกระทบต อตับ ระบบยอยอาหาร
และระบบเลือด
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงโลหะที่วองไวทางเคมี และไอของ
(Fire and Explosion Prevention) กรดซัลฟูริก
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ-
(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณปองกันระบบหายใจชนิด-
ที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากาก
แบบเต็มหนา และมีคา APF.=10,000 หรือ
แบบอื่นที่เหมาะสม
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท
(Hand Protection) Laminated film และถุงมือประเภท Nitrile
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางทันทีดวยน้ําปริมาณ
มาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทา
ที่ปนเปอนสารเคมีออก ลางทําความสะอาดเสื้อผากอน
นํากลับไปใชงานใหมอีกครั้ง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณ
มาก ๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตาขึ้นลง นําสง
แพทย
139

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มี


อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าหยุ ดหายใจให ช วยผายปอด ถ า
หายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย และ นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป กระตุนใหเกิดอาเจียนทันที โดย
บุคลากรทางการแพทย หามใหสิ่งใดเขาปากผูปวยที่
หมดสติ นําสง แพทยโดยดวน
8. ขอปฏิบัตทิ ี่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุปดมิดชิด
- เก็บในที่เย็นและแหง พื้นที่ที่มีการระบายอากาศ
- ปองกันความเสียหายทางกายภาพ
- แยกเก็บออกจากสารที่เขากันไมได
- ภาชนะบรรจุของสารนี้อาจเปนอันตรายเมื่อเปนถังเปลา
เนื่องจาก กากสารเคมีตกคางอยู เชนไอระเหย ของ เหลว
- ทําความสะอาดหลังจาก มีการเคลื่อนยาย
- สังเกตคําเตือนทั้งหมดและขอควรระมัด ระวังที่ระบุไว
สําหรับสารนี้
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหระบายอากาศเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล
- ใหเคลื่อนยายของ ที่อาจจุดติดไฟทั้งหมดออกไป
- ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่
เหมาะสม
- กั้นแยกพื้นที่อันตรายออกไปตางหาก
- หามไมใหบุคคลที่ไมมีหนาที่จําเปนและไมสวมใส
อุปกรณปองกันเขาไป
- เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใชใหมถาเปนไปได
- ใชเครื่องมือและอุปกรณที่ไมทําใหเกิดประกายไฟ
- เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือ
ดูดซับดวยวัสดุเฉื่อย เชน แรหนิ ทราย
(Vermiculite)ทรายแหง (earth) และเก็บภาชนะบรรจุกาก
ของเสียจากเคมี
- อยาใชวัสดุตดิ ไฟได เชน ขี้เลื่อย ในการดูดซับสาร
- อยาฉีดลางลงไปทอระบายน้ํา
140

- ใหมกี ารรายงานการหกรัว่ ไหลลงสูดิน น้ําและอากาศ


มากเกินกวาปริมาณที่ตองรายงาน
- การพิจารณาการกําจัด ใหปฏิบัติตามกฎระเบียบของ
กฏหมายการกําจัดสารเคมี
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
โดยละลายหรือผสมสารกับตัวทําละลายซึ่งไหมไฟได
และเผาในเตาเผาสารเคมีซึ่งติดตั้งเครื่องเผาทําลายสาร
คารบอนเพื่อลดมลพิษ
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง หรือโฟม

*************************************
141

สาร 1,3,5-ไตรเมทธิลเบนซีน (1,3,5 –Trimethylbenzene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี :1,3,5-ไตรเมทธิลเบนซีน ,
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Mesitylene, Symmetrical Trimethylbenzene
สูตรทางเคมี : C9H12
1.3 การใชประโยชน(Use) :-
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :2325
2.2 CAS No. :108-67-8
2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :1,3,5-ไตรเมทธิลเบนซีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :25 ppm
คา LD50 : - mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :165 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -45 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 2 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.002 กรัม/100 มิลลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.86
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นสารอะโรมาติก
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :44 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %
- คาสูงสุด (UEL) : - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :550 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
142

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ กรดไนตริก และสภาวะที่


ตองหลีกเลี่ยง คือ เก็บหางจากแหลงกําเนิดไฟ
ประกายไฟ เปลวไฟ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :-
(Hazardous Decomposition Products)
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคาย
เคืองตอจมูก คอ ระบบทางเดินหายใจ ทํา
ให ห ลอดลมอั ก เสบ มี อ าการโลหิ ต จาง
วิงเวียนศีรษะ ออนเพลีย คลื่นไส อาเจียน
น้ําทวมปอดเนื่องจากสารเคมี
: การกินหรือกลืนเขาไป จะกอใหเกิดการระคาย
เคือง
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนัง ผิวแหง
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคาย
เคื อ งต อ ตา สารนี้ ทํ า ลายตา ผิ ว หนั ง
ระบบหายใจ ระบบประสาทส ว นกลาง
เลือด
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : สารนี้ทําลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ ระบบ
(Effects of Over Exposure ,Long – term) ประสาทสวนกลาง เลือด
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 25 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสวนผสมของไอระเหยกับอากาศ
(Fire and Explosion Prevention) สามารถทําใหเกิดการระเบิดที่อุณหภูมิ
มากกวา 44 องศาเซลเซียส และเก็บหางจาก
แหล งกํ าเนิ ดไฟ ประกายไฟ เปลวไฟ สาร
ออกซิไดซ กรดไนตริก
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ เหมาะสม
143

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ-


(Respiratory Protection Type) สาร
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) :-
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางทันทีดวย
น้ํ า ปริ ม าณมาก ๆ อย า งน อ ย 15 นาที
พรอ มถอดเสื้ อผา และรองเทา ที่ ป นเป อ น
สารเคมีอ อก ล า งทํ า ความสะอาดเสื้อ ผ า
กอนนํากลับไปใชงานใหมอีกครั้ง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริ มาณมาก ๆ อย างน อย 15 นาที ( ถอด
คอนแทคเลนสออกถาสามารถทําได) นําสงไป
พบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ จั ดให นั่ งในท า
สบาย นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากินหรือกลืนเขาไป ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ํา
อย า กระตุน ให เ กิ ดการอาเจีย น นํ าส ง ไป
พบแพทย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุปดมิดชิด
- เก็บในที่เย็นและแหง พื้นที่ที่มีการระบายอากาศ
- เก็บหางจาก เปลวไฟ ประกายไฟ
- เก็บหางจากสารออกซิไดซอยางแรง
- เก็บในที่อุณหภูมิต่ํากวา 44 องศาเซลเซียส
- ใชอุปกรณที่ไมกอใหเกิดประกายไฟ และ
ประจุไฟฟาสถิต
- ตอภาชนะบรรจุลงดิน
- หามสูบบุหรี่ในบริเวณเก็บสารเคมี
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
144

8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) -ให หยุ ดการรั่ วไหลถ าสามารถทํ าได โดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- เก็บสวนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปด
มิดชิดเพื่อนําไปกําจัด
- ให ดู ดซั บส วนที่ หกรั่ วไหลด วยทรายหรื อ
วัสดุดูดซับที่เฉื่อย แลวนําไปเก็บในบริเวณที่
ปลอดภัย
- ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูก
เก็บกวาดเรียบรอยแลว
- ปองกันไมใหสารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู
ทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ
- ให ส วมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายที่
เหมาะสม
- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตาม
กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชผงดับเพลิง โฟม AFFF คารบอนไดออกไซด

***************************************************
145

สาร 1,2,4-ไตรเมทธิลเบนซีน (1,2,4-Trimethylbenzene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี :1,2,4-ไตรเมทธิลเบนซีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : 1,2,4-Trimethylbenzeze; 1,2,4-TMB;
Benzene, 1,2,4-trimethyl; Pseudocumene;
Pseudocumol; asym-Trimethylbenzeze;
psi-Cumene
สูตรทางเคมี : C6H12
1.3 การใชประโยชน(Use) :เป นสารที่ ใช สกั ดตั วเร งปฏิ กิ ริ ยาจากน้ํ ามั น
ป โตรเลี่ ยม ใช เป นตั วกลางในการผลิ ตสาร
Trimellitic anhydride และสียอม ใชเปนตัวทํา
ละลายสียอม เปนสวนประกอบของสียอม เพิ่ม
คาออกเทนน้ํามันเชื้อเพลิง กาซโซลีน ยางมะตอย
และผลิตภัณฑปโตรเลียม
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1993
2.2 CAS No. :95-63-6
2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :1,2,4-ไตรเมทธิลเบนซีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :25 ppm
คา LD50 :5,000 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :169.5 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -60.5 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 1 มิลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.006 กรัม/100 มิลลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.8802
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นสารอะโรมาติก
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
146

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :44 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :0.9 %
- คาสูงสุด (UEL) : 6.4 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :500 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ
สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :เปลวไฟ ประกายไฟ และแหลงจุดติด
ไฟอื่น ๆ
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไมมีการรายงาน
(Hazardous Decomposition Products)
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป ทําใหปวดศีรษะ คลื่นไส
วิงเวียน กดประสาทสวนกลาง
:การกิ น หรื อ กลื น เข า ไป ทํ า ให ค ลื่ น ไส
อาเจียน ปวดศีรษะ วิงเวียน งง มีผลกดระบบ
ประสาท ถาไดรับปริมาณมากทําใหชัก และ
เสียชีวิต ถาสารนี้เขาไปในปอดจะทําลายปอด
ทําใหเสียชีวิต
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนังเล็กนอย การสัมผัสสาร
10-30 นาที ทําใหแสบไหมผิวหนัง การไดรับ
สารติ ดต อกั นเป นเวลานาน ทํ าให เป นโรค
ผิวหนัง (บวม เปนผื่นแดง คัน และผิวแตก):
การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
ตอตาเล็กนอย
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : ระคายเคืองตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ
(Effects of Over Exposure , Short – term) ถากลืนกินเขาไป จะทําใหสําลักเขาสูปอด
:ทําใหปอดอักเสบสารนี้อาจ มีผลตอระบบ
ประสาทสวนกลาง
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ละลายไขมันที่ผิวหนัง อาจมีผลกระทบ
(Effects of Over Exposure ,Long – term) ตอปอดถาไดรับซ้ําหรือเปนเวลานานๆ
147

สงผลตอหลอดลมอักเสบเรื้อรัง มีผลตอ
ระบบประสาทสวนกลางและเลือด
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 25 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ เปลวไฟ ประกาย
(Fire and Explosion Prevention) ไฟ และแหลงจุดติดไฟอื่น ๆ
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณ หนากากใหเหมาะสมกับ
(Respiratory Protection Type) เขมขนของสาร
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ํา
และสบู ปริ ม าณมาก ๆ อย า งน อ ย 5 นาที หรื อ
จนกวาสารเคมีออกหมด พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่
ปนเปอนสารเคมีออก
ลางทําความสะอาดเสื้อผากอนนํากลับไปใชงานใหมอีก
ครั้ง นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก
ๆ อย างน อย 15 นาที หรือจนกว าสารเคมีออกหมด
นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มี
อากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถา
หายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป หามมิใหสิ่งใดเขาปากผูปวยที่
หมดสติ ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ํา อยากระตุนให
เกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ํา 240-300 ml ถาเกิด
อาเจียนขึ้น ใหผูปวยวางศีรษะต่ําลงเพื่อหลีกเลี่ยงการ
หายใจเอาอาเจียนเขาไป ใหผูปวยดื่มน้ําซ้ํา นําสงไปพบ
แพทยทันที
148

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)


8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด เมื่อไมไดใชงาน
- เก็บในที่เย็นและแหง พื้นที่ที่มีการระบายอากาศ
- เก็บหางจาก เปลวไฟ ประกายไฟ และแหลงจุดติดไฟ
- เก็บหางจากสารที่เขากันไมได
- ทําความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี
- บริเวณเก็บสารเคมีควรแยกจากบริเวณการทํางาน
- ติดปายเตือนอันตราย
- ติดฉลากที่ภาชนะ
- เก็บภาชนะบรรจุไวในระดับความสูงที่เหมาะสมกับ
การเคลื่อนยาย
- ภาชนะบรรจุ สารที่ เป นถั งเปล า แต มี กากสารเคมี
ตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอันตรายได
- ภาชนะเก็บสารเคมีควรทําจากวัสดุทนไฟ และไมใช
สารไวไฟ
- มีอุปกรณดับเพลิงและทําความสะอาดในบริเวณเก็บ
สารเคมี
-ให สั งเกตคําเตื อน และข อควรระวั งทั้ งหมดที่ให ไว
สําหรับสารนี้
- ตอภาชนะบรรจุลงดิน
- ติดปายหามสูบบุหรี่
- อยาใชรวมกับสารเคมีที่เขากันไมได
- ปองกันสารเกิดเพลิงไหมในบริเวณการทํางาน
- อยานําสารที่ใชแลวใสเขาไปในภาชนะบรรจุใหม
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก - อยาเขาไปบริเวณสารรั่วไหลจนกวาจะมีการทําความ
(Spill and Leak Procedures) สะอาดเรียบรอย
- ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล
- ดับเพลิง หรือยายแหลงจุดติดไฟออกจากบริเวณสารหก
รั่วไหล
- ยายหรือแยกสารไวไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล
- ปองกันไมใหสารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสูทอระบายน้ํา
แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ
149

- เก็บสวนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไป
กําจัด
- ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความ
เสี่ยงอันตราย
- ใหดูดซับสวนที่หกรั่วไหลดวยทราย ดิน แรเวอรมิคิวไลด
หรือวัสดุดูดซับที่ไมทําปฏิกิริยากับสารเคมี
- ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาด
เรียบรอยแลว
- การพิ จารณาการกํ าจั ด ให ปฏิ บั ติ ตามกฏระเบี ยบที่ ทาง
ราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง โฟม น้ํา
ฉีดเปนฝอย

***********************************************
150

สารเบนซิลคลอไรด (Benzyl chloride)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี : เบนซิล คลอไรด
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Omega – Chlorotoluene , Chlorophenyl
methane ;(chloromethyl)Benzene ; Alpha –
Chlorotoluene ; Tolyl chloride;, Benzyl chloride.
สูตรทางเคมี : C7H7 Cl
1.3 การใชประโยชน(Use) :-
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1738
2.2 CAS No. :100-44-7
2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้เปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : เบนซิล คลอไรด
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1 ppm
คา LD50 :1,231 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boilling Point) :177-181 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -43 ถึง -39 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 0.91 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.05 กรัม/100 มิลลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.1
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นฉุน
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :74 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :1.1 %
- คาสูงสุด (UEL) : 14 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :585 ํซ
151

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : เมื่อสัมผัสกับน้ําจะทําปฏิกิริยาอยางชา ๆ ได


ก า ซไฮไดรเจนคลอไรด และเบนซิ น
แอลกอฮอล
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะ น้ํา สารออกซิไดซ เหล็ก และเกลือ
ของเหล็ก ทองเหลือง
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products)
5.7 สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง : ความชื้น น้ํา
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป สารนี้จะไปทําลายเยื่อเมือก
อยางรุนแรง ทําใหกลามเนื้อหดเกร็ง เกิดการ
อั กเสบ และเกิ ดการบวมน้ํ าของกล องเสี ยง
และหลอดลมใหญ เกิดอาการไอหายใจถี่เร็ว
ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน เปนโรคปอดอุด
ตันเนื่องจากสารเคมี
: การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเปนแผล
ไหมที่ปาก ลําคอ ทอง กลองเสียงบวม ชัก
อัมพาต
: การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเปนแผล
ไหมที่ปาก ลําคอ ทอง กลองเสียงบวม ชัก
อัมพาต
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดแผลไหม
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] และสามารถทําลายเนื้อเยื่อผิวหนัง ทําใหเกิด
ผื่นแดง และปวด
: การสัมผัสถูกตา จะทําใหน้ําตาไหล ทําให
เกิดการระคายเคือง ทําลายเนื้อเยื่อบุตา
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm
152

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)


7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง น้ํา โลหะ สารออกซิไดซ เพราะ
(Fire and Explosion Prevention) ทําใหเกิดกาซ กรด เมื่อสัมผัสกับผิวโลหะจะ
ทําใหเกิดกาซไฮโดรเจนที่ไวไฟ และระเบิดได
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณ หนากากใหเหมาะสมกับชวง
(Respiratory Protection Type) ความเขมขนของสาร โดยใชสารเคมีประเภทที่
เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ํา และสบู ปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15
นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอน
สารเคมีออก นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณ
มาก ๆ อยางนอย 15 นาที โดยใชนิ้วถางตาให
กว าง ฉี ดล างจนมั่ นใจว าสารเคมี ออกหมด
นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจให ช วยผายปอด ถ าหายใจติ ดขั ดให
ออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล - ถากินหรือกลืนเขาไป และผูปวยยังมีสติอยู
ใหผูปวยดื่มน้ําปริมาณมาก ๆ แลวกระตุนทํา
ใหเกิดการอาเจียน นําสงไปพบแพทย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท
- เก็บในที่เย็น และแหง พื้นที่ที่มีการระบาย
อากาศที่ดี
153

- เก็บหางจาก เปลวไฟ ประกายไฟ ความรอน และ


แหลงจุดติดไฟ
- ล างทํ าความสะอาดทั่ วภายหลั งจากการ
เคลื่อนยายสารเคมี
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหอพยพบุคคลออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล
- ปดคลุมดวยปูนขาวแหง ทราย หรือโซดา
แอส และเก็บใสภาชนะบรรจุทีปดมิดชิด และ
นําไปกําจัดเปนกากของเสีย
-ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศ
ในตัว (SCBA) รองเทาบูท และถุงมือยาง
- การพิจารณาการกําจัด ติดตอผูเชี่ยวชาญดาน
การกําจัดของเสียของสารนี้ ใหดูกฎขอบังคับ
ดานสิ่งแวดลอมของทางราชการ
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เป นไปตามกฎระเบี ยบที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง โฟม
ที่เหมาะสม หามใชน้ําในการดับเพลิง

*****************************************
154

สาร 1,4 –ไดคลอโรเบนซีน (1,4-Dichlorobenzene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี :1,4-ไดคลอโรเบนซีน
12 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Paracide, Dichloricide, DCB,
Dichlorocide, PDCB, PDB, Para – zene,
Paramoth, P –chlorophenyl chloride,
P- dichlorobenzol , Evola, Globol,
PARA, Paradow, Paranuggets, Persia-
perazol, Santochlor; Dichlorobenzene, 1,4
สูตรทางเคมี : C6H4 Cl2
1.3 การใชประโยชน(Use) : สารนี้ ใช เป นสารวิ เคราะห และทดสอบ
(Reagent) ทางเคมีในหองปฏิบัติการ
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :3077
2.2 CAS No. :106-46-7
2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้เปนสารกอมะเร็ง นอกจากนี้ยังมีผล
เรื้อรัง ทําลายตับ ไต เลือด และปอด
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :1,4-ไดคลอโรเบนซีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :75 ppm
คา LD50 :500 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 174 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : 53 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 0.4 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : < 0.1 กรัม/100 มิลลิลิตรที่ 21 ํซ
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.25
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของแข็ง สีขาว กลิ่นเฉพาะตัว
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
155

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 65 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %
- คาสูงสุด (UEL) : - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : > 500 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : เมื่อสัมผัสกับสารออกซิไดซอยางแรง อาจ
กอใหเกิดเพลิงไหมได
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซอยางแรง อะลูมิเนียม
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อเกิดเพลิงไหม จะทําใหเกิดกาซพิษของ
(Hazardous Decomposition Products) ไฮโดรเจนคลอไรด กาซฟอสจีน
คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด
5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ แหลงจุดติดไฟ
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเขาไป จะทําใหปวดศีรษะ คลื่นไส
อาเจียน เวียนศีรษะ เซื่องซึม ทํ าใหระคาย
เคืองตอระบบทางเดินหายใจสวนบน หมดสติ
ถ าหายใจเข าไปปริ มาณมาก จะทํ าให กด
ประสาทสวนกลาง
: การกินหรือกลืนเขาไป ทําใหปวดศีรษะ มี
อาการอาเจียน มึนงง ระคายเคืองตอกระเพาะ
อาหาร และลําไส กดระบบประสาทสวนกลาง
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคือง
: การสัมผัสถูกตา จะทําใหเกิดการระคายเคือง
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ผลเรื้อรัง ทําลายตับ ไต เลือด และปอด
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 75 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
156

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซอยางแรง ความ


(Fire and Explosion Prevention) รอน อะลูมิเนียม
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขน
(Respiratory Protection Type) ของสาร โดยใชอุปกรณปองกันระบบ-
หายใจที่มีถังอากาศในตัว(SCBA) พรอม
ห น า ก า ก แ บ บ เ ต็ ม ห น า แ ล ะ มี ค า
APF.=10,000 หรือแบบอื่นที่เหมาะสม
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนัง
ทันทีดวยน้ํา และสบู ปริมาณมาก ๆ อยาง
น อ ย 15 นาที พร อ มถอดเสื้ อ ผ า และ
รองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ํา
ปริ มาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอม
กระพริบตาถี่ ๆ ขณะทําการลาง นําสงไป
พบแพทยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออก
สูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุด
หายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดให
ออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหเกิด
การอาเจี ย น ถ า ผู ป ว ยยั ง มี ส ติ ใ ห ดื่ ม น้ํ า
ปริมาณมากนําไปสงพบแพทยโดยดวน

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)


8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท
- เก็บในที่เย็น และแหง พื้นที่ที่มีการ
ระบายอากาศที่ดี
157

- เก็ บ ห า งจาก เปลวไฟ ประกายไฟ


ความรอน และแหลงจุดติดไฟ อยาเก็บ
ใกลกับสารออกซิไดซ
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -
8.3 การปองกันการรั่วและการหก -ปดแหลงจุดติดไฟ เปลวไฟ หามสูบ
(Spill and Leak Procedures) บุหรี่บริเวณนี้
-เก็ บสารนี้ อย างระมั ดระวั ง ใส ภาชนะ
บรรจุที่สะอาด และแหงปดมิดชิด
- เคลื่อนยายออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล
- ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถัง
อากาศในตัว (SCBA) และชุดปองกันแบบ
คลุมเต็มตัว
- ฉีดลางบริเวณที่หกรั่วไหลดวยน้ํา
- ใหกําจัดตามวิธีของหนวยราชการ และ
กฎระเบียบสิ่งแวดลอมทางราชการ
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง
แอลกอฮอลโฟม

**********************************************
158

สาร 1,2 –ไดคลอโรเบนซีน (1,2-Dichlorobenzene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี : 1,2-ไดคลอโรเบนซีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : DCB, Dichloricide, O-Dichlorobenzol,
Chloroben, Cloroben, Dowtherme, ODCB,
Special termite fluid, Termitkil, Chloroden,
Dilantin db, Dilatin db; O,p-Dichlorobenzene
mixture, Dichlorobenzol, ODB, Dizene;
Dichlorobenzrene, 1,2-;
สูตรทางเคมี : C6H4 Cl2
1.3 การใชประโยชน(Use) : สารนี้ใชเปนยาในการระงับ ปองกัน ควบคุม
ไล กําจัดแมลง และสัตวอื่น หรือเพื่อประโยชน
ในการดับกลิ่น
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1591
2.2 CAS No. :95-50-1
2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้ไมเปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : 1,2-ไดคลอโรเบนซีน
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 25 ppm
คา LD50 : 1,516 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 180 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -15 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 1 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.0145 กรัม/100 มิลลิลิตร.
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.308
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นคลายอะโรมาติก
(Appearance colour and Odor)
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
159

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 66 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 2.2 %
-คาสูงสุด (UEL) : 9.2 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 648 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ อยางแรง อะลูมินัมที่รอน และ
โลหะผสมอลูมินั่ม
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products) คลอไรด และคลอรีน
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคือง
ต อ ระบบทางเดิ น หายใจส ว นบน ทํ า ให ตั บ
และไตไดรับอันตราย ทําใหเกิดอาการเซื่องซึม
หมดสติ และระบบประสาทสวนกลางถูกกด
:การกิ น หรื อ กลื น เข า ไป จะทํ า ให ร ะบบ
ประสาทส ว นกลางถู ก กด เกิ ด การทํา ลายไต
และตับ
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) :การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดกการ
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคาย เคืองตอผิวหนัง มีอาการคัน อักเสบ
เปนแผลพุพอง
:การสัมผัสถูกตา จะทําใหน้ําตาไหล ปวดแสบ
ปวดรอน และเปนแผลไหม ไอระเหยของสาร
นี้ทําใหระคายเคืองตา
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : -
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสสารนี้ในระยะยาวจะมีผลตอระบบ
(Effects of Over Exposure ,Long – term) สืบพันธุ ทารกในครรภ ทําลายตับ และไต
อวัยวะเพศชาย เกิดความผิดปกติที่กลามเนื้อ
และโครงกระดูก
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 25 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
160

7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)


7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซอยางแรง อ ลูมินัม
(Fire and Explosion Prevention) ที่รอน และโลหะผสม อลูมินัม
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ (Respiratory Protection Type)
:ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ
สาร โดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัว
ดูดซับในการกรอง โดยใหใชอุปกรณที่มีคา
APF. = 50 หรือคาอื่นตามความเหมาะสม
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบกอกเกิ้ลกันสารเคมี
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และ
นําสงไปพบแพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ตา ให ล างตาทั นที ด วยน้ํ า
ปริมาณมาก ๆ
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจใหชวยผายปอด นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากินหรือกลืนเขาไป ใหลางบวนปากดวย
น้ํา และนําไปสงพบแพทย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็ บในภาชนะบรรจุ ให มิ ดชิ ด ใช ในที่ มี การ
ระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บในที่เย็น และแหง
- เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหล ให
เคลื่อนยายออกจากบริเวณที่หกรั่วไหลและกัน
161

บุคคลที่ไมเกี่ยวของใหออกจากบริเวณที่สาร
หกรั่วไหล
- ปดแหลงจุดติดไฟทั้งหมด
- ให หยุ ดการรั่ วไหล ถ าสามารถทํ าได โดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- ถาหกรั่วไหลเล็กนอยใหทําการเก็บสวนที่
หกรั่วไหล และทําความสะอาดโดยใหอยู
ในดานเหนือลม
-ถ า หกรั่ ว ไหลปริ ม าณมากให กั้ น แยก
บริเวณ และปมใสในภาชนะบรรจุเพื่อนํา
กลับมาใชใหม ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อไมให
ไอระเหยฟุ ง กระจาย ดู ด ซั บ ด ว ยทราย
และดิ น เก็ บ กวาดหรื อ ตั ก ใส ใ นภาชนะ
บรรจุ ที่ ทํ า จากโลหะที่ ส ะอาดเพื่ อ นํ า ไป
กําจัด
-การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไป
ตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เ ป นไปตามกฎระเบี ย บที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ํา
ฉีดเปนฝอย โฟม

*********************************************
162

สารเฮกซาคลอโร-1,3-บิวตาไดอีน (Hexachloro-1,3-butadiene)
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี : เฮกซาคลอโรบิวตาไดอีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonym) : HCBD, Perchlorobutadiene;
1,3-Hexachlorobutadiene; Dolen-pur,
Gp-40-66:120; Hexachlorobuta-1,3-diene,
Hexachlorobutadiene1,3 -;
1,1,2,3,4,4-Hexachloro-1,3-Butadiene
สูตรทางเคมี : C4Cl6
1.3 การใชประโยชน(Use) :-
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :2279
2.2 CAS No. :87-68-3
2.3 สารกอมะเร็ง :สารนี้เปนสารกอมะเร็ง
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :เฮกซาคลอโร-1,3-บิวตาไดอีน
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 0.02 ppm
คา LD50 :87 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 215 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -21 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 0.15 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) :0.05 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.554
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมีสี กลิ่นฉุน คลายเทอร
เพนไทน
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 90 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %
163

- คาสูงสุด (UEL) : - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 610 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิไดซ พลาสติก ยาง และสภาวะที่
ควรหลีกเลี่ยง คือ เปลวไฟ การเชื่อม และ
ความชื้น
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :สารจะเปลี่ยนเปนเปอรออกไซด เมื่อเก็บไว
(Hazardous Decomposition Products) นาน ๆ
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) :ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคือง
ตอระบบทางเดินหายใจ ทําลายตับ ทําใหแสบ
ไหม ไอ เจ็บคอ และอาการโคมา
: การกินหรือกลืนเขาไป ทําใหแสบไหม ปวด
ทอง มีอาการช็อก และหมดสติ
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย
[(Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)) เคืองตอผิวหนัง ทําใหเจ็บปวด เปนผื่นแดง
ผิวหนังแสบไหม แผลพอง
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง
ทําใหเปนผื่นแดง เจ็บปวด มองไมเห็น
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure, Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :0.02 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ ความรอน
(Fire and Explosion Prevention)
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ
164

(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณปองกันระบบหายใจชนิด


ที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากาก
แบบเต็มหนา และมีคา APF.=10,000 หรือ
แบบอื่นที่เหมาะสม
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : -
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ํา และสบูปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15
นาที พร อมทั้ งถอดเสื้ อผ า และรองเท าที่
ปนเปอนสารเคมีออก และนําสงไปพบแพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณ
มาก ๆ อยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล - ถ ากิ นหรื อกลื นเข าไป ให ผู ป วยบ วนปาก
ดวยน้ํา อย ากระตุนให เกิดการอาเจี ยน ให
ผูปวยดื่มน้ําปริมาณมาก ๆ และนําไปสงพบ
แพทย
8. ขอปฏิบัตทิ ี่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมดิ ชิด
- เก็บในที่ที่มกี ารระบายอากาศเพยี งพอ
-เก็บหางจากอาหารและบริเวณที่เก็บอาหาร
-เก็บหางจากเปลวไฟ
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : เก็บสวนทีห่ กรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปด
มิดชิดเพื่อนําไปกําจัด
-ใหดูดซับสวนที่หกรั่วไหลดวยทรายหรือ
วัสดุเฉื่อย และเคลื่อนยายไปทีป่ ลอดภัย
- อยาปลอยใหสารรั่วไหลออกสูสิ่งแวดลอม
- ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายที่
เหมาะสม
165

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด


8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชผงดับเพลิง น้ําฉีดเปนฝอย โฟม
คารบอนไดออกไซด โฟมตานแอลกอฮอล หรือ
โพลีเมอรโฟม

********************************************
166

สาร 1,3 –ไดคลอโรเบนซีน (1,3 –Dichlorobenzene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี : 1,3-ไดคลอโรเบนซีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : m-dichlorobenzene , m-dichlorobenzol , meta-
dichlorobenzene , m- phenylenedichloride.
สูตรทางเคมี : C6H4 Cl2
1.3 การใชประโยชน(Use) :-
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :2810
2.2 CAS No. :541-73-1
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : 1,3-ไดคลอโรเบนซีน
เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :-
คา LD50 :-
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 173 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -24 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 5 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 39 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ไมละลาย
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.29
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 63 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : -%
-คาสูงสุด (UEL) : - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 648 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
167

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิ ไดซ อย างแรง อะลู มิ นั ม โลหะ
ผสมอลูมิเนียม และ ความชื้น
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : จะเกิดกาซพิษ ไฮโดรเจนคลอไรด และ
(Hazardous Decomposition Products) คลอรีน ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซที่แรง
และเกิดปฏิกิริยาที่รุนแรงกับอะลูมิเนียม
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ และการกลืนกิน
: การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการไอ ทําให
เกิดอาการเซื่องซึม วิงเวียน เจ็บคอ อาเจียน
: การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเกิดการไหม
อุจจาระรวง วิงเวียน อาเจียน ไมควรกินหรือ
ดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหวางทํางาน และลางปาก
ดวยน้ําหลาย ๆ ครั้ง และนําสงแพทย
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดผื่นแดง
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)) เจ็บปวด
: การสัมผัสถูกตา จะทําใหเจ็บแสบปวดรอน
ไอระเหยของสารนี้ทําใหระคายเคืองตา
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : ระคายเคืองตา ผิวหนัง และระบบทางเดิน
(Effects of Over Exposure ,Short – term) หายใจ
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : มีผลตอตับ และไต
(Effects of Over Exposure ,Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :-
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซอยางแรง อ ลูมินัม
(Fire and Explosion Prevention) และโลหะผสม อลูมินัม
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ
(Respiratory Protection Type) สารโดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัว
ดูดซับในการกรอง โดยใหใชอุปกรณที่มีคา-
APF. = 50 หรือคาอื่นตามความเหมาะสม
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี
168

7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบกอกเกิ้ลกันสารเคมี


7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และ
นําสงไปพบแพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ตา ให ล างตาทั นที ด วยน้ํ า
ปริมาณมาก ๆ
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจใหชวยผายปอด นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากินหรือกลืนเขาไป ใหลางบวนปากดวย
น้ํา และนําไปสงพบแพทย
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็ บในภาชนะบรรจุ ให มิ ดชิ ด ใช ในที่ มี การ
ระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บในที่เย็น และแหง
- เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน
- เก็ บแยกออกจากสารออกซิ ไดซ ที่ แรง และ
อะลูมิเนียม
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหลใหเก็บ
สวนที่รั่วและหกในถังปดใหมิดชิดเคลื่อนยาย
ออกจากบริเวณที่หกรั่วไหลและกันบุคคลที่ไม
เกี่ยวของใหออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล
และดูดซับของเหลวสวนที่เหลือดวยทรายหรือ
วั สดุ เฉื่ อยแล วนํ าออกไปเพื่ อให เกิ ดความ
ปลอดภัยในบริเวณดังกลาว อยาปลอยใหสาร
หกรั่วไหลไปในสิ่งแวดลอม
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เ ป นไปตามกฎระเบี ย บที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ํา
ฉีดเปนฝอย โฟม
169

สาร 1,2,4 –ไตรคลอโรเบนซีน (1,2,4 -Trichlorobenzene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี : 1,2,4-ไตรคลอโรเบนซีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : unsym-Trichlorobenzene ; 1,2,4-
Trichlorobenzol
สูตรทางเคมี : C6H3Cl3
1.3 การใชประโยชน(Use) :-
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :2321
2.2 CAS No. :120-82-1
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : 1,2,4-ไตรคลอโรเบนซีน
เปอรเซ็นต(Percent) : 90-100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 5 ppm (Ceiling value)
คา LD50 : 756 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 213 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : 17 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 25 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 40 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : < 0.1 %
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.45
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมีสี
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 105 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 2.5 %
-คาสูงสุด (UEL) : 6.6 %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 571 ํซ
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
170

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ กรด ไอของกรด และ


ความชื้น
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด
(Hazardous Decomposition Products) ไฮโดรเจนคลอไรด และฟอสจีน เมื่อไดรับ
ความรอน
5.7 สภาวะทีต่ องหลีกเลี่ยง (Condition to Avoid) : ความรอน เปลวไฟ แหลงจุดติดไฟ และสิ่ง
ที่ไปดวยกันไมได
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ทางปาก และทางผิวหนัง
: การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการไอ มี
ความรูสึกเจ็บปวดลําคอ หายใจถี่สั้นไมเสมอ
กัน หมดความรูสึก ตับถูกทําลาย ปวดหัว
อัตราการเตนของหัวใจเพิ่มขึ้น ความดันสูง
และ มีอาการสั่น
: การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเจ็บในชอง
ทอง ระคายเคือง รวมทั้งวิงเวียน อาเจียน
อุจจาระรวง
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดผื่นแดง
[(Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] การสัมผัสเปนเวลานาน ๆ จะทําใหผิวหนัง
ไหม อาจจะดู ดซึมผ านผิ วหนั ง คั น และ
ผิวแหงหยาบ
: การสัมผัสถูกตา ไอและของเหลวเปนสาเหตุ
ของการระคายเคื อง แดง แ ละเจ็ บ ความ
เขมขนของไอมากกวา 5 ppm จะเปนสาเหตุ
ใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : ระคายเคืองตา ผิวหนัง และระบบทางเดิน
(Effects of Over Exposure ,Short – term) หายใจ
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ละลายไขมันทีผ่ ิวหนัง และมีผลตอ
(Effects of Over Exposure ,Long – term) ตับ และไต
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 5 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)


7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
171

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซอยางแรง


(Fire and Explosion Prevention)
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ
(Respiratory Protection Type) สารโดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัว
ดูดซับในการกรอง โดยใหใชอุปกรณที่มีคา
APF. = 50 หรือคาอื่นตามความเหมาะสม
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบกอกเกิ้ลกันสารเคมี
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และ
นําสงไปพบแพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ตา ให ล างตาทั นที ด วยน้ํ า
ปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และนําสง
แพทยทันที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจใหชวยผายปอด นําสงไปพบแพทย
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถ า กิ น หรื อ กลื น เข า ไป ให ผู ป วยอาเจี ยน
ทันที และนําไปสงพบแพทย หามมิใหสิ่ง
ใด ๆ ขณะผูปวยหมดสติ
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็ บในภาชนะบรรจุ ให มิ ดชิ ด ไว ใ น ที่ มี การ
ระบายอากาศเพียงพอ เก็บในที่เย็น และแหง
- เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน และแหลงจุดติด
ไฟ
- ปองกันถังที่บรรจุสารมิใหกระทบกระแทก หรือ
ถูกทําลาย
- เก็บแยกจากวัสดุไวไฟ หรือที่ทําใหเกิดปฏิกิริยา
- ไมใหถูกแสงแดดโดยตรง
172

- ถังที่วางเปลาอาจเกิดอันตรายเนื่องจากไอหรือ
ของเหลวจากสารที่ตกคางอยู
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วหรือหก ให
นําแหลงจุดติดไฟทั้งหมดออกไป ใสอุปกรณ
ปองกันสวนบุคคลที่เหมาะสม ถาจําเปนให
กั้นแยกบุคคลไมใหเขาไปในบริเวณที่มีการ
หกหรือรั่ว เก็บบรรจุ และปดคลุมของเหลวถา
เปนไปได ใชเครื่องมือและอุปกรณ ที่ไมติด
ไฟ รวบรวมของเหลวใสถังที่เหมาะสม หรือ
ดู ดซั บด วยวั สดุ เฉื่ อย เช น ทรายแห ง ดิ น
และนําไปใสในถังที่เก็บของเสียจากเคมี ไม
ใชวัสดุติดไฟ เชนขี้เลื่อย
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เ ป นไปตามกฎระเบี ย บที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ํา
ฉีดเปนฝอย แอลกอฮอลโฟม

***********************************************
173

สาร 1-เอทธิล-4 –เมทธิลเบนซีน (1 –Ethyl -4- methylbenzene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี 1-ethyl-4-methylbenzene
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : p-ethyl-toluen; 4-ethyltoluene; 4-methyl
ethylbenzene; 1-ethyl-4-methyl-benzen;
p-ethy lmethylbenzene; p-ethyltoluene
สูตรทางเคมี : C9H12
1.3 การใชประโยชน(Use) :-
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1993
2.2 CAS No. :622-96-8
2.3 สารกอมะเร็ง :สารนี้เปนสารกอมะเร็งตาม IARC, NTB,
ACGIH
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : 1-ethyl-4-methylbenzene
เปอรเซ็นต(Percent) : 98 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :-
คา LD50 : 4,850 mg/ kg
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 162 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : - 62 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 3 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 25 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ไมละลาย
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.86
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส สีเหลืองออนมาก ๆ กลิ่น
คลายสารโทลูอีน
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 36-39 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 1.2 %
-คาสูงสุด (UEL) : 7 %
174

5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 475 ํซ


5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ อัลคาไลดที่แรง ดางเขมขน
สารฮาโลเจนอิสระ และสารประกอบ-
ฮาโลจิเนต
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด
(Hazardous Decomposition Products) และไฮโดรคารบอน
5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อุณหภูมิสูง
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเขาไป ทําใหระคายเคืองระบบ
ทางเดินหายใจ น้ําทวมปอด ไอของสารอาจ
ทํ าให วิ งเวี ยน หายใจไม ออก และอาจเป น
สาเหตุทําใหมีความรูสึกรอนในอก เปน
อันตรายตอระบบประสาทสวนกลาง ตับ และ
ไต ทํ าใหปวดศี รษะ มึ นงง วิ งเวี ยนศีรษะ
มองเห็ นไม ชั ด เหนื่ อย สั่ น ชั ก หมดสติ
หัวใจหยุดเตน และเสียชีวิต มีผลตอการเตน
ของหัวใจ
: การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเกิดการ
ระคายเคือง มีกาซในกระเพาะและสําไส ทํา
ใหคลื่นเหียน วิงเวียน อาเจียน และทองรวง
การกลืนกินเขาไปจํานวนมาก จะมีผลตอการ
กดระบบประสาทสวนกลาง และเปนสาเหตุ
ของการทําลายปอด
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองตอผิวหนัง และชั้นใตผิวหนัง ถาสัมผัส
เปนเวลานานทําใหไขมันหลุดออกไป อาจเปน
สาเหตุที่ทําใหเกิดพิษอยางรุนแรง แสบ คัน
ผิ วหนั งไหม แตก เกิ ดการติ ดเชื้ อ สารนี้
สามารถซึมผานผิวหนัง อาจเกิดการแพสารนี้
ในบางคน
175

: การสัมผัสถูกตา ทําใหระคายเคืองตาทําลาย
แก วตา กระจกตา ปานกลางถึ งรุ นแรง ถ า
สั มผั สตาโดยตรง ไอของสารนี้ ทํ าให น้ํ าตา
ไหล กลัวแสง กระจกตาอักเสบ กระจกตา
ขุน ทําใหประสาทตาอักเสบ และมองไมเห็น
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure ,Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : - ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ ดางเขมขน กรด
(Fire and Explosion Prevention) แหลงติดไฟ ความรอน
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ
(Respiratory Protection Type) สารโดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัว
ดูดซับในการกรอง โดยใหใชอุปกรณที่มีคา
APF. = 50 หรือคาอื่นตามความเหมาะสม
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : ถุงมือที่ทํามาจากวัสดุ Laminated film ซึ่ง
ควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกิดการซึมผานผนัง
ของถุงมือมากกวา 480 นาที และควรมีอัตรา
เสื่อมสภาพของถุงมืออยูในระดับดีมาก หรือ
ถุงมืออื่น ๆ ทีดีกวา
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบกอกเกิ้ลกันสารเคมี
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ด วยน้ํ าปริ มาณมาก ๆ อย างน อย 15 นาที
พร อมทั้ งถอดรองเท าและเสื้ อผ าที่ปนเป อน
สารเคมีออก และนําสงไปพบแพทย
176

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ า สั ม ผั ส ถู ก ตา ให ล างตาทั นที ด วยน้ํ า


ปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตา
ถี่ ๆ นําสงแพทยถายังมีการระคายเคืองตาอยู
เพื่อใหแนใจวาลางตาสะอาด
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหายใจขัด
ให ออกซิ เจนช วย รั กษาร างกายให อบอุ น
นําสงไปพบแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็ บในภาชนะบรรจุ ให มิ ดชิ ด ใช ในที่ มี การ
ระบายอากาศเพียงพอ เก็บในที่เย็น และแหง
- เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน แยกจากสารเคมี
อื่ นที่ เข ากั นไม ได ใช อุ ปกรณ ที่ ไม ทํ าให เกิ ด
ประกายไฟ
-มีการตอลงดินกับอุปกรณ และภาชนะบรรจุ เพอื่
ลดการเกิ ดประจุ ไฟฟ าสถิ ตย ที่ จะทํ าให เกิ ด
อันตรายจากเพลิงไหมได หรือการระเบิด
- อยาเก็บในภาชนะที่ ไมมี ฉลาก และใชในทาง
อุตสสาหกรรมเทานั้น
- ห าม กิ น ดื่ ม หรื อสู บบุ หรี่ ในบริ เวณเก็ บ
สารเคมี
- ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลัง
ทําการเคลื่อนยายดวยสบู และน้ํา
- ถอดและซักทําความสะอาดเสื้อผากอนนํากลับมา
ใชใหม
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : วิ ธี การปฏิ บั ติ ในกรณี เกิ ดการรั่ วไหล
ป องกั นบุ คคล และให เคลื่ อนย ายออกจาก
บริเวณที่มีการรั่วไหล
- กั้นแยกเปนบริเวณอันตราย และหามเขา
- ควรอยูเหนือลม
177

- แ ย ก จ า ก ถั งบรรจุ รถเ ลื่ อ น ห รื อ


รถบรรทุกถังบรรจุ เปนระยะที่ปลอดภัย
- ป ด แหล ง จุ ด ติ ด ไฟ ประกายไฟ หรื อ
เปลวไฟ
- ใหหยุดการรั่วไหลถาสามารถทําได โดย
ปราศจากความเสี่ยงอันตราย
- ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อลดการแพรกระจาย
ของไอ
- ทํ า สารหกเล็ ก น อ ยให ดู ด ซั บ ส ว นที่ ห ก
รั่วไหลดวยทรายหรือวัสดุดูดซับอื่นที่ไม
ติดไฟ
- เก็บสวนที่ หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่
ป ด มิ ด ชิ ด เพื่ อ นํ า ไปกํ า จั ด ถ า สารหก
ปริมาณมากใหกั้นแยกจากบริเวณสารหก
รั่วไหล
-ให ส วมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายที่
เหมาะสม
-ปองกันไมใหสารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลง
สูทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ
-ล า งบริ เ วณสารหกรั่ ว ไหล หลั ง จาก
สารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง
และโฟม

**************************************************
178

สาร Freon114
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี :1,2-ไดคลอโรเตตราฟลูออโรอีเทน
(1,2-Dichlorotetrafluoroethane)
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : Arcton 33 ; Arcton 114 ; Cryofluoran ;
Cryofluorane;
sym-dichlorotetrafluoroethane;
1,2-Dichloro-1,1,2,2-tetrafluoroethane ;
Dichlorotetrafluoroethane; Ethane, 1,2-
dichlorotetrafluoro- ; F 114 ; FC 114 ;
Fluorane 114 ; Fluorocarbon 114 ; Freon
114 ; Frigen 114 ; Frigiderm ; Genetron
114 ; Genetron 316 ; Halocarbon 114 ;
Ledon 114 ; Propellant 114 ; R 114 ;
1,1,2,2-Tetrafluoro-1,2-dichloroethane ;
Ucon 114
สูตรทางเคมี : C2Cl2F4
1.3 การใชประโยชน(Use) :-
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :-
2.2 CAS No. :76-14-2
2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปน
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :1,2-ไดคลอโรเตตราฟลูออโรอีเทน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 1,000 ppm
คา LD50 :
คา LC50 , หนู โดยการหายใจ : 72 ppm
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 3.8 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -94 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 31 ปอนดตอตารางนิ้ว ที่ 25 ํ ซ
(หรือ1,602 มิลลิเมตรของปรอท )
179

4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ละลายไดเล็กนอย


4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.46
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance Colour and Odor) : เปนแกส ไมมีสี
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %
- คาสูงสุด (UEL) : - %
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : -
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะอั ล คาไลด หรื อ อั ล คาไลด เ อิ ร ท
อลูมิเนียมผง สังกะสี เบอรลิลเลียม เปนตน
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กรดเกลือและกรดกัดแกว
(Hazardous Decomposition Products)
5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อุณหภูมิสูงและประกายไฟ ภาชนะอาจ
ระเบิดเมื่อโดนไฟ ซึ่งจะปลอยควันพิษออกมา
ภายใตสภาวะที่เกิดไฟ
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
: การหายใจเอาแกสเขาไปปริมาณมากจะทําให
เกิดอันตรายอาจเปนสาเหตุทําใหหัวใจเตนไม
สม่ําเสมอ ติดขัด หมดสติ หรือเสียชีวิตได
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนังที่มากเกินจะทําให
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เกิดการระคายเคืองผิวหนังหรืเปนผื่น
: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคาย
เคือง น้ําตาไหล การมองเห็นพรามัว ไม
ชัดเจน
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : การหายใจไอที่ความเขมขนสูงๆ จะเปน-
(Effects of Over Exposure ,Short – term) อันตราย ทําใหหวั ใจเตนผิดปกติ คลืน่ ไส
ปวดศรีษะ ออนเพลีย การไหลเวียนโลหิตผิดปกติ
หมดสติ หรือเสียชีวิตได ลดปริมาณออกซิเจนใน
180

อากาศ การสัมผัสสารนี้ในรูปของเหลวจะทําให
เกิด frostbite
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :-
(Effects of Over Exposure , Long – term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1,000 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :-
(Fire and Explosion Prevention)
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหใชอุปกรณปองกันหายใจที่เหมาะสม
(Respiratory Protection Type)
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ให ใ ช อุ ป กรณ ป อ งกั น หายใจที่
(Hand Protection) เหมาะสม
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : ใหใชอุปกรณปองกันหายใจที่เหมาะสม
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังดวย
น้ําปริมาณมาก ๆ
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาโดยทันทีดวยน้ํา
ปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตา
ขึ้นลง นําสงไปพบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจให
ชวยผายปอด
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ให นํ า ส ง แพทย ทั น ที ถ า มี สติ ใ ห ดื่ ม น้ํ า
พรอมถอดเสื้อผาที่ปนเปอนสารออก ทําความ
สะอาดกอนใชอีกครั้ง
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศดี
- เก็บภาชนะบรรจุที่ปดแนน
181

- อยาหายใจ เอาไอระเหย เขาไป เขาตา สัมผัสถูก


ผิวหนัง หรือเสื้อผา
- สวนที่เหลือตกคางอาจจะทําใหเกิดอันตรายจาก
ภาชนะที่วาง เปลา ใชอยางระมัดระวัง
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหอพยพคนที่ไมเกี่ยวของทั้งหมดออกจาก
พื้นที่
- สวมใสอุปกรณปองกันใหเหมาะสม
- กําจัดแหลงจุดติดไฟใด ๆ จนกระทั่งพิจารณา
แลววาจะไมเกิดการระเบิดและอันตรายจากไฟ
- เก็บสวนที่หกรั่วไหลและแยกออกจากบริเวณ
นั้น ถาสามารถทําไดโดยไมเกิดอันตราย
- นําสารไปกํ าจั ดโดยปฏิบัติ ตามกฎระเบียบ
ของกฎหมาย
- การพิจารณาการกําจัดใหปฏิบัติตามกฏ
ระเบียบของกฏหมาย
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เ ป นไปตามกฎระเบี ย บที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชตัวกลางที่เหมาะสมในการดับสารไวไฟ

************************************
182

สาร 1,1-ไดคลอโรเอทธิลลีน ( 1,1-Dichloroethylene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) - ชื่อทางเคมี :1,1-ไดคลอโรเอทธิลลีน
1.2 ชื่อพองอื่น ๆ (Synonyms) : 1,1- Dichloroethene (9CI) ;Sconatex
1,1-Dichloroethylene ; Ethene, 1,1-
dichloro- ; NCI-C54262 ; RCRA waste
number U078 ; VDC ; Vinylidene
chloride ; Vinylidene chloride (II);
Vinylidene dichloride ; Vinylidine
chloride; Chlorure de vinylidene
สูตรทางเคมี : C2H4Cl2
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชทําสียอมผา ทําน้ําหอม ทําน้ํามันแลคเกอร
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :1303
2.2 CAS No. :75-35-4
2.3 สารกอมะเร็ง :-
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) : 1,1-ไดคลอโรเอทธิลลีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 5 ppm
คา LD50 : 1,500 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 31.9 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -122.5 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 67 กิโลพาสคาล ที่25 ํซ ( 500 มิลลิเมตรของ
ปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ไมละลายน้ํา
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.213
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance Colour and Odor) : ของเหลว ไมมีสี คลายคลอโรฟอรม
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
183

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -18 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 7.3% -คาต่ําสุด (LFL) : 7.3%
- คาสูงสุด (UEL) : 16% -คาสูงสุด(UFL) : 16%

5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 570 ํซ


5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :-
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิไดซ ทองแดง อะลูมินัม
และโลหะผสมของสารเหลานี้
เปอรออกไซด ดางแก ออกซิเจน.
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :คารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด
(Hazardous Decomposition Products) แกสไฮโดรเจนคลอไรด
แกสฟอสจีน คลอรีน
5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง ความรอน ความชื้น อากาศ แสงอาทิตย
โดยตรง
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจและการกลืนกิน
การหายใจเขาไป ไอระเหยหรือละอองไอ
จะทําใหเกิดอาการระคายเคืองที่เยื่อเมือก
และบริเวณชวยหายใจสวนบน
การกิน เปนพิษเมื่อกลืนกิน.
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ระคายเคืองผิวหนัง.
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] การสัมผัสตา ระคายเคืองตอดวงตา
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :
(Effects of Over Exposure ,Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : เปนอันตรายเมื่อสูดดม อาจมีความเสี่ยง
(Effects of Over Exposure , Long – term) ทํ า ให เ กิ ด ผลกระทบที่ ไ ม ส ามารถแก
กลับคืนได กอการกลายพันธุ
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 5 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :-
(Fire and Explosion Prevention)
184

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ


เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหใชอุปกรณปองกันหายใจที่เหมาะสม
(Respiratory Protection Type)
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ให ใ ช อุ ป กรณ ป อ งกั น หายใจที่
(Hand Protection) เหมาะสม
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : ใหใชอุปกรณปองกันหายใจที่เหมาะสม
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ใหลางออกดวยน้ําปริมาณมาก เปนเวลา
อยางนอย 15 นาที. ถอดเสื้อและรองเทาที่
เปอนสาออก ไปพบแพทย
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ใหลางดวยน้ําปริมาณมาก เปนเวลาอยาง
นอย 15 นาที ตองแนใจวาไดลางตาอยาง
เพียงพอ โดยใชนิ้วมือแยกเปลือกตาออก
จากกันระหวางลาง ไปพบแพทย
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ใหยายผูปวยไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถา
ไมหายใจ ใหการชวยหายใจ ถาหายใจ
ลําบาก ใหออกซิเจน
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนกิน ใหใชน้ําบวนปากในกรณีที่
ผูปวยที่ยังมีสติอยู ไปพบแพทยทันที
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) :- ปดภาชนะใหสนิท
- เก็บใหหางจากความรอน ประกายไฟ
และเปลวไฟ
-อาจเกิ ด เปอร อ อกไซด หากเก็ บ ไว
นาน ใหบันทึกวันที่บนภาชนะและทดสอบ
การเกิดเปอรออกไซดเปนระยะ ๆ
- เก็บที่อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ดูดซับดวยปูนขาวแหง ทราย หรือโซดา
แอช
185

-เก็บในภาชนะที่ปดโดยใชเครื่องมือที่ไม
กอใหเกิดประกายไฟและเคลื่อนยายออกสู
ที่โลง.
-ระบายอากาศในบริ เ วณนั้ น และล า ง
ตําแหนงที่สารหกรั่วไหลหลังจากเก็บสาร
ออกหมดแลว.
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) : เผาในเตาเผาสารเคมี ซึ่งติดตั้งเครื่องเผา
ทําลายสารคารบอน (afterburner) และ
เครื่องฟอก (scrubber) แตตองระมัดระวัง
เรื่องการจุดติดไฟเปนพิเศษ เพราะสารนี้
ไวไฟสูง.
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : Carbon dioxide, ผงเคมีแหง หรือโฟมที่
เหมาะสม.

*********************************************
186

สาร ทราน 1,3- ไดคลอโรโพรพีน (Trans-1,3 –Dichloropropene)


1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชื่อทางการคา (Trade Name) ชื่อทางเคมี :ทราน-1,3-ไดคลอโรโพรพีน
1.2 ชื่อพองอื่นๆ (Synonyms) : E-1,3-Dichloropropene; (E)-1,3-
dichloro-1-Propene ; trans-1,3-dichloro-1-
propene; trans-1,3-dichloropropylene
สูตรทางเคมี : C3H4Cl2
1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปน soil fumigant และใชในการสังเคราะห
สารอินทรีย
2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification)
2.1 U. N. Number :-
2.2 CAS No. :10061-02-6
2.3 สารกอมะเร็ง - สารนี้เปนสารกอมะเร็ง กลุม 2 B ตามบัญชี
รายชื่อของ IARC
3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)
3.1 ชื่อสารเคมี(Substances) :ทราน-1,3-ไดคลอโรโพรพีน
เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต
คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1 ppm
คา LD50 :-
4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)
4.1 จุดเดือด (Boilling Point) :112 ํซ
4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) :-84 ํซ
4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 40-52 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ
4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) :0.15 กรัม/100 มิลลิลิตร
4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.22
4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) :-
4.7 ลักษณะ สี และ กลิ่น (Appearance colour and Odor) : เป น ของเหลว ไม มี สี กลิ่ น คล า ย
คลอโรฟอรม
4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :-
5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 35 ํซ
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) คาต่ําสุด (LEL) : 5.3 %
187

คาสูงสุด (UEL) :14.5 %


5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :-
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :เสถียร ไวไฟ เขาไมไดกับสารออกซิไดซ :
อลู มิ เนี ยม อลู มิ เนี ยมอั ลลอยด เกลื อของ
โลหะบางชนิดและฮาโลเจน
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซิ่ง
สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง : ที่ซึ่งการถายเทอากาศไมดี แหลงความรอน
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซฟอสจีน กรดไฮโดรคลอริค
(Hazardous Decomposition Products) คารบอนมอนนอกไซด
6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)
6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก
:การหายใจเอาสารนี้เขาไป จะทําใหงุนงง
อาเจียน ทองเสีย ปวดทอง ชัก มองไมชัด อาจ
ทํ าลายตั บ และไต มี ผลกระทบตอเลือดและ
ปอด
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) :การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหเกิดการระคาย
[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคือง ทําลายไขมันบนผิวหนัง ผิวหนังอักเสบ
: การสัมผัสถูกตา ทํ าใหเกิดการระคายเคือง
ทําลายเยื่อบุตา
:การกลืนกินเขาไปจะทําใหคลื่นไส อาเจียน
ปวดทอง ระคายเคืองทางเดินอาหาร
6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :-
(Effects of Over Exposure , Short – term)
6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสกับสารนี้เปนระยะเวลานานหรือ
(Effects of Over Exposure , Long – term) การสัมผัสสารซ้ําอาจทําใหตับ และไตถูกทําลาย
ได
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm
7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)
7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :หลีกเลี่ยงไอระเหยของสารไมใหเกิด
(Fire and Explosion Prevention) สวนผสมกับอากาศที่ระเบิดได ที่อุณหภูมิสูง
188

กวา 35 องศาเซลเซียส และหลีกเลี่ยงสภาวะที่


มีประกายไฟ แหลงความรอน แหลงจุดติดไฟ
และประจุไฟฟาสถิตย
7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ให มี การระบายอากาศที่ ดี และเพี ยงพอ
เหมาะสม
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ
(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณชวยหายใจที่มีถังอากาศใน
ตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : เลือกใชถุงมือประเภทที่เหมาะสม
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : สวมใสแวนตานิรภัย
7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :-
7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)
7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที
ดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที
พร อมทั้ งถอดรองเท าและเสื้ อผ าที่ เป อน
สารเคมีออก ซั กและทํ าความสะอาดเสื้ อผ า
และรองเทากอนที่จะนํามาใชใหมอีกครั้ง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถ าสั มผั สถูก ตา ให ฉีดลางตาทันทีดวยน้ํ า
ปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู
บริ เวณที่ มี อากาศบริ สุ ทธิ์ ถ าผู ป วยหยุ ด
หายใจให ช วยผายปอด ถ าหายใจติ ดขั ดให
ออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทยทันที
:ถากลืนหรือกินเขาไป ถาผูปวยยังมีสติอยู
ใหบวนปากดวยน้ํา นําสงแพทยทันที
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :-
8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)
8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด
- เก็บในหอง / สถานที่ทนไฟ (Fire proof )
- เก็บแยกออกจากสารออกซิไดซ
- เก็บใหหางจากการเอื้อมถึงของมือเด็ก
-เก็บในที่อากาศถายเทดี
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) :-
189

8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) :-


8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เป นไปตามกฎระเบี ยบที่ ทางราชการ
กําหนด
8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ให ใช น้ํ าฉี ดเป นฝอย ผงเคมี แห ง หรื อ-
คารบอนไดออกไซด

*********************************************
190

เอกสารอางอิง

1. www.pcd.go.th ศูนยขอมูลวัตถุอันตราย และเคมีภณ ั ฑ กรมควบคุมมลพิษ


2. www.chemtract.org “ฐานความรูเรื่องความปลอดภัยสารเคมี”
3. The International Technical Information Institute, “Toxic and Hazardous Industrial Chemicals
Safety Manual”
4. International Labour Organisation, “Encyclopedia of Occupational Health and Safety" Volume 1,
Volume2, 1983.
5. กองตรวจความปลอดภัย และสถาบันความปลอดภัยในการทํางาน, กรมสวัสดิการและคุมครอง
แรงงาน, “รวมกฎหมายความปลอดภัยในการทํางานและสิ่งแวดลอม” 2536.

⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯

You might also like