You are on page 1of 12

ประวัติความเป็ นมา และทีต่ ้งั บริษทั

ข้ อมูลทั่วไปของบริษัท
บริ ษทั ไทยแอลกอฮอล์ จำกัด จดทะเบียนบริ ษทั เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2515 เลขที่ 325/2515
มีทุนจดทะเบียน 800 ล้านบาท
ผูก้ ่อตั้ง คือ นายสุ ชิน วรวงศ์วสุ
ที่อยู่
 สำนักงานใหญ่เลขที่ 195 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ชั้น 43 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา
เขตสาทร กรุ งเทพมหานคร 10120
 โรงงาน เลขที่ 2 หมู่ 5 ตำบลบางไทรป่ า ถนนบางเลน – บางหลวง อำเภอบางเลน
จังหวัดนครปฐม 73130
เนื้อที่โรงงาน มีท้ งั สิ้ น 3,751 ไร่ 31 ตารางวา ณ วันที่ 31 สิ งหาคม 2548

ประวัตคิ วามเป็ นมาของบริษัทฯ


บริ ษทั ฯ ได้เริ่ มทดลองเดินเครื่ องจักรการผลิตเอทิลแอลกอฮอล์เมื่อ วันที่ 22 มิถุนายน 2532 โดยได้
รับการส่ งเสริ มการลงทุน BOI ในกิจการประเภทอุตสาหกรรมผลิตเคมีภณั ฑ์ ชนิดเอทิลแอลกอฮอล์ (เอทา-
นอล) ตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุนเลขที่ 4065/2515 เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2515 และได้รับการขยายเวลารับการ
ส่ งเสริ มและแก้ไขเพิ่มเติมเรื่ อยมา จนถึงฉบับสุ ดท้าย เลขที่ 4072/2532 (14-1049/2515) โดยได้รับการส่ งเสริ ม
ให้ประกอบอุตสาหกรรมผลิต เอทิลแอลกอฮอล์ ที่มีความบริ สุทธิ์ ร้อยละ 80-99.5 ให้ได้ปีละประมาณ
120,000,000 ลิตร (วันละประมาณ 400,000 ลิตร) ต่อมา บริ ษทั ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ได้เข้าซื้ อหุน้
ของบริ ษทั เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2545 จำนวน 99.99% และได้จดทะเบียนเปลี่ยนเป็ นบริ ษทั มหาชน เมื่อวันที่
24 ธันวาคม 2545 จำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2549 ประมาณ 400 คน

ประเภทของผลิตภัณฑ์ และ กำลังการผลิตของแต่ ละผลิตภัณฑ์


เอทิลแอลกอฮอล์ 95 % v/v กำลังการผลิต 400,000 ลิตร/วัน
เอทิลแอลกอฮอล์ 99.5 % v/v กำลังการผลิต 200,000 ลิตร/วัน
เอทิล อะซิเตท 99.8 % w/w กำลังการผลิต 3,000 ตัน/ปี
อะซิติกแอซิด 99.8 % w/w กำลังการผลิต 7,400 ตัน/ปี
** บริ ษ ทั เริ่ ม ส่ ง เอทิล แอลกอฮอล์ข ายออกนอกราชอาณาจัก รตั้ง แต่เ ดือ นเมษายน 2533 และจำ หน่า ย
เอทิลแอลกอฮอล์ต้ งั แต่น้ นั เป็ นต้นมา
กระบวนการผลิต
การหมักน้ำส่ า

กลัน
่ ALCOHOL 95%

กลัน
่ ETHANOL 99.5%

กระบวนการหมักน้ำส่ า (Fermentation)
 การหมักส่ ากากน้ำตาล
1. ถังต้มกากน้ำตาล : ถังนี้เป็ นถังสำหรับเตรี ยมอาหารเลี้ย งเชื้อ ยีสต์ นำน้ำ กากน้ำตาล และปุ๋ ย
แอมโมเนียมซัลเฟตต้มรวมกันที่อุณหภูมิ 120-122 0C ใช้เวลาประมาณ 20-25 min
2. ถังเลี้ยงเชื้อยีสต์ : ทำการลดอุณหภูมิของกากน้ำตาลที่ตม้ ให้เหลือที่ 32 0C แล้วใส่ เชื้อยีสต์ลงไป
ทำการคุมอุณหภูมิให้อยูท่ ี่ 32-37 0C ระยะเวลาในการเลี้ยง 22 ชัว่ โมง โดยต้องเลี้ยงเชื้อยีสต์ให้ได้
200 ล้านเซลล์ก่อนส่ งเข้าถังหมัก
3. ถังหมักส่ า : นำวัตถุดิบคือ น้ำ กากน้ำตาล และปุ๋ ยแอมโมเนียม (ที่ไม่ได้ตม้ ) ใส่ ลงในถังพร้อมกับ
เชื้อยีสต์ที่เตรี ยมไว้ หมักไว้เป็ นระยะเวลา 60-70 ชัว่ โมง จึงจะส่ งกลัน่

 การหมักส่ าแป้ งมันสำปะหลัง


1. ถังผสมแป้ ง : มีจำนวน 2 ถัง ต่อกันแบบอนุกรมเมื่อถังแรกผสมแป้ งกับน้ำจนเป็ นน้ำแป้ งแล้วก็จะ
ส่ งไปถังที่สองเพื่อให้การผสมเข้ากันดีข้ ึน โดยถังที่สองจะมีการเติม Enzyme Alfa amylase เพื่อ
เปลี่ยนสายโมเลกุลของแป้ งให้เป็ น dextrose
2. ถังต้มแป้ ง : น้ำแป้ งจากถังผสมจะถูกส่ งมาที่ถงั ต้มโดยถังต้มนี้ จะมีอุณหภูมิประมาณ 83-85 0C
3. ถัง LIQUEFACTION : มีท้ งั หมด 3 ถังต่อกันแบบอนุกรม หลังจากต้มแป้ งเสร็ จจะถูก feed มาที่
ถัง LIQUEFACTION โดยในถัง จะมีก ารเติม กรดซัล ฟูริ ก (H2SO4) เพื่อ ปรับ ค่า pH ให้อ ยู่
ประมาณ 5.8-6.0 และจะมีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิในถังต้มคือ 83-85 0C การ feed จากถังที่ 1 ถึง
ถังที่ 3 ใช้เวลาทั้งหมด 1.5 -2 ชัว่ โมง
4. ถัง SACCHARIFICATION : ระหว่างการ feed จากถัง LIQUEFACTION เข้าสู่ ถงั นี้จะมีการเติม
Enzyme Glucoamylase เพื่อ เปลี่ย นจาก dextrose ให้เ ป็ น Glucose และมีก ารเติม กรดซัล ฟูริ ก
(H2SO4) เพื่อปรับค่า pH ให้อยูป่ ระมาณ 4.3-4.5 เมื่อเติมถึงระดับที่กำ หนดไว้จะ feed เข้าสู่ ถงั
หมักส่ า
5. ถังหมักส่ า : ในถังนี้จะมีน ้ำตาลกลูโคสที่ได้จากถัง SACCHARIFICATION และเชื้อยีสต์ที่เลี้ยง
(วิธีการเลี้ยงเชื้อเหมือนกับการหมักกากน้ำตาล) ไว้เพื่อให้ยสี ต์เปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสไปเป็ น
alcohol ~ 9-10% โดยในถังจะมีการใส่ ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟตเข้าไปเพื่อเป็ นอาหารของยีสต์ดว้ ย
ระยะเวลาที่ใช้ในการหมักประมาณ 80 ชัว่ โมง

กระบวนการกลัน่ ALCOHOL 95%


จะใส่ ความดันกับอุณหภูมิด้วยป่ าว (ใส่ )

MASH COLUMN (C401)

Column นี้ทำหน้าที่กลัน่ แอลกอฮอล์จากน้ำส่ า ซึ่ งมีความเข้มข้น 7.0-8.0% v/v โดยทำงาน


ภายใต้สภาวะสุ ญญากาศ (Vacuum) ซึ่ งแอลกอฮอล์ที่ได้จะมีความเข้มข้นประมาณ 40-45% w/w ความเข้ม
ข้นของแอลกอฮอล์จะขึ้นอยูก่ บั ดีกรี ของน้ำส่ า (ซึ่ ง)
STEAM

PRE-RECTIFIER COLUMN (C411)

Column นี้จะทำงานภายใต้สภาวะสุ ญญากาศ (Vacuum) เพื่อทำให้สารเจือปนที่มีจุดเดือด


ต่ำและแอลกอฮอล์ที่ได้จาก column 401 มีความเข้มข้นมากขึ้น โดยแอลกอฮอล์ที่ได้จะมีความเข้มข้น 95%
v/v ซึ่ งจะถูกส่ งไปเก็บทิ่ tank 411 เพื่อจะส่ งไป column 451 ต่อไป
ไม่ เสร็จดีม้งั
HYDRO PURIFICATION COLUMN (C451)
Column นี้จะทำงานภายใต้ความดัน ความดันส่ วนบนประมาณ 2.2 kg/cm2 และความดัน
ส่ วนล่างประมาณ 2.48 kg/cm2 ซึ่ งจะทำหน้าที่แยกสารเจือปนที่มีจุดเดือดใกล้เคียงและสู งกว่า Ethanol โดย
การทำให้แอลกอฮอล์มีความเข้มข้นลดลงเหลือประมาณ 11-13% v/v
RECTIFIER CUM EXHAUST (C461)

Column นี้ทำงานภายใต้ความดัน มีหน้าที่ทำให้แอลกอฮอล์มีความเข้มข้นมากขึ้น (95%


v/v) และใน coluumn นี้จะทำการดึง Extra Neutral Alcohol (ENA) โดยมีความเข้มข้นประมาณ 96% v/v
ออกจาก column นี้ดว้ ย
สำหรับ column นี้จะมีการดึงสารเจือปนออก โดยภายใน column จะมีส่วนที่ทำด้วย
ทองแดง ซึ่ งจะอยูเ่ หนือบริ เวณที่ดึง Fusel Oil ไอของแอลกอฮอล์จะสัมผัสกับทองแดงเพื่อดักจับกำมะถัน
ออกจากแอลกอฮอล์ โดย Fusel Oil ทีไ่ ด้ จะถูกส่ งไปที่ Decanter เพื่อทำการแยกแอลกอฮอล์ที่ติดไปออกจาก
Fusel Oil โดยการใช้ Soft Water ส่ วนที่เป็ น Fusel Oil จะลอยแยกออกมาด้านบน
I.S.P. COLUMN (C471)
Column นี้จะทำงานภายใต้ความดันบรรยากาศ (Atmospheric) ซึ่ งจะทำหน้าที่ให้ Fusel Oil
และสารเจือปนที่มีจุดเดือดต่ำ มีความเข้มข้นที่สูงขึ้น และ column นี้จะทำหน้าที่ Recycle แอลกอฮอล์ใน
ระบบด้วย โดยแอลกอฮอล์จะถูกดึงออกจากส่ วนบนและส่ งไปที่ Tank 411 จากนั้นจะถูกส่ งต่อไปยัง
column 451 เพื่อนำกลับไปกลัน่ แยกสารเจือปนออกอีกครั้ง
HEAD CONC COLUMN (C481)
Column นี้ทำงานภายใต้สภาวะสุ ญญากาศ มีหน้าที่สำหรับแยกสารเจือปนที่มีจุดเดือดใกล้
เคียงกับ Ethanol ซึ่ งได้แก่ Iso-Propanol Alcohol (IPA) รวมถึงสารเจือปนอื่นๆที่มีจุดเดือดต่ำกว่า Ethanol
ด้วย
SIMMERING COLUMN (C491)

Column นี้จะทำงานภายใต้สภาวะความดันบรรยากาศ มีหน้าที่ในการแยก Methanol และ


Diacetyl ออกจาก Extra Neutral Alcohol (ENA)

กระบวนการกลัน่ ETHANOL 99.5%


alcohol 95%
(จากแผนกกลัน่
alcohol)

You might also like