You are on page 1of 9

Continuous Distillation2

รายงานการทดลองที่ 2

เรื่อง
Continuous Distillation

เสนอ
ผศ.ดร. วรพล เ กียรติกติ ติพงษ์

จัดทำโดย
กลุ่มที่ 1
นางสาวกนกทิพย์ พงษ์ ศิริยะกุล รหัส 09500983
นางสาวฉัตรกมล แก้ วบุดดี รหัส 09500990
นางสาวธัญญรัตน์ ธีรไชยพัฒน์ รหัส 09501002
นางสาวนฤมล ยอดศรีคำ รหัส 09501004

รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา 616362 ปฏิบัติการพืน้ ฐานวิศวกรรมเคมี 2


( Basic Chemical Engineering Laboratory II)
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

สารบัญ

บทนำ 1
วัตถุประสงค์ในการทดลอง 2
Continuous Distillation2

สมมติฐานการทดลอง 2
ทฤษฎี 3
การออกแบบการทดลอง 5
อุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในการทดลอง 7
วิธีการทดลอง 7
ผลการทดลอง 8
วิเคราะห์ผลการทดลอง 9
สรุ ปผลการทดลอง 10
ภาคผนวก 11
อ้างอิง 15

บทนำ
Continuous Distillation2

การทดลองที่ 2
Continuous Distillation

วัตถุประสงค์ ในการทดลอง
1. เพื่อศึกษาหลักการทำงานของหอกลัน่ แบบต่อเนื่อง Continuous Distillation แบบ Tray
column
Continuous Distillation2

2. เพื่อหาประสิ ทธิภาพการกลัน่ ทั้งหมด ของเอทานอล 30% by volume กับน้ำ

อุปกรณ์ และสารเคมีที่ใช้ ในการทดลอง

1.อุปกรณ์ Batch Distillation


2. Ethanol 95.5% wt
3.น้ำกลัน่
4.นาฬิกาจับเวลา
5.กระบอกตวง
6.ขวดเก็บสารตัวอย่าง 15 ขวด
7.เครื่ อง Refractometer
8.สายยาง
9.กรวย
10.ถังน้ำ

ทฤษฎี

       การกลัน่ คือ การทำของเหลวให้กลายเป็ นไอจากภาชนะหนึ่ง แล้วควบแน่น (Condense) กลับเป็ น


ของเหลว (distillate) ในอีกภาชนะหนึ่ง เป็ นประโยชน์ในการแยกของเหลวผสมออกจากกันหรื อทำ
ของเหลวให้บริ สุทธิ์ โดยอาศัยความแตกต่างของจุดเดือด โดยที่ของเหลวนั้นต้องไม่สลายตัว
(decomposition) ก่อนถึงจุดเดือด
การกลัน่ โดยใช้คอลัมน์ การกลัน่ จะประกอบด้วย Boiler และคอนเดนเซอร์ หลักการทำงานของ
Boiler เป็ นตัวให้ความร้อนแล้วทำให้เกิดไอลอยขึ้นไปภายในคอลัมน์ จนกระทัง่ ได้ไอขององค์ประกอบที่
ต้องการออกจากคอลัมน์ และทำให้ไอควบแน่นในคอนเดนเซอร์ จากนั้นเอาของเหลวที่ควบแน่นออกเป็ น
ผลิตภัณฑ์ ของเหลวส่ วนหนึ่งที่เกิดจากการควบแน่นจะถูกส่ งกลับคืนสู่ คอลัมน์ ซึ่ งเรี ยกว่า reflux เป็ นการ
รักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้ หอกลัน่ เป็ นเครื่ องมือที่อาศัยจุดเดือดของสารที่แตกต่างกัน เพื่อแยกสาร
ออกจากกัน
Continuous Distillation2

หอกลัน่ เป็ นเครื่ องมือที่ใช้กนั อย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมเคมีโดเฉพาะอย่างยิง่ อุตสาหกรรม


ปิ โตรเลียม การแยกก๊าซธรรมชาติและอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี การกลัน่ แยกน้ำมันดิบออกเป็ นผลิตภัณฑ์
น้ำมันต่าง ๆ อาศัยความแตกต่างของจุดเดือดของผลิตภัณฑ์เหล่านั้นเป็ นสำคัญ
เราแบ่งการกลัน่ ตามลักษณะการทำงานเป็ น 2 แบบ คือ
Continuous Distillation : โดย Column ที่ใช้จะมี 2 แบบ คือ Pack Column และ Tray Column ซึ่ ง
ในการทดลองนี้ใช้แบบ Tray Column สามารถแลกเปลี่ยนเกิดการถ่ายเทมวลสาร (mass transfer) และการ
ถ่ายเทความร้อน (heat transfer) กันได้ ซึ่ งสามารถกลัน่ สารได้มากกว่า 1 ชนิด ซึ่ งขึ้นกับจำนวน plate ที่ใช้
จะแสดงในรู ปที่ 1 Feed ที่ใส่ เข้าไปในคอลัมน์จะอยูต่ รงจุดที่องค์ประกอบของ Feed และองค์ประกอบใน
คอลัมน์เหมือนกัน ส่ วน (Section) ของคอลัมน์ที่อยูส่ ู งกว่า Feed จะเรี ยกว่า “Enriching Section” ไอที่ลอย
ขึ้นผ่านคอลัมน์ คือ Enrich ของ More Volatile Component โดยมีการสัมผัสกับของเหลวที่ตกลงมา ส่ วน
(Section) ของคอลัมน์ที่อยูต่ ่ำกว่า Feed จะเรี ยกว่า “Stripping Section” ของเหลวที่ตกลงมาคือ Strip ของ
More Volatile Component โดยมีไอลอยขึ้นของเหลวที่ตกลงมาจะไปอยูใ่ น Reboiler และบางส่ วนจะระเหย
เตรี ยมเป็ นไอและของเหลวส่ วนที่เกินจะถูกทิ้งออกจากคอลัมน์ทาง “Bottom Product” ที่ดา้ นบนของ
คอลัมน์ไอถูกทำให้ควบแน่นใน คอนเดนเซอร์ ไปเป็ น “Distillate” ซึ่ งจำนวนหนึ่งจะถูกเอาออกเป็ น
“Distillate Product ” และที่เหลือจะถูกส่ งกลับคืนเข้าไปในคอลัมน์เรี ยกว่า “Reflux” ซึ่ งเป็ นตัวทำให้
ของเหลวตกลงมาในคอลัมน์ที่ Bottom และ Distillate หรื อทั้งสองอาจจะเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งการ Feed
สามารถใส่ เข้าไปในจุดที่แตกต่างกันของคอลัมน์ โดยเฉพาะในกระบวนการกลัน่ น้ำมันดิบ ซึ่ งผลิตภัณฑ์จะ
ถูกเอาออกที่จุดแตกต่างในคอลัมน์

รู ปที่ 1 Continuous Distillation


Continuous Distillation2

วิธีการทดลอง

1. เตรี ยมสารละลายเอทานอล 30%by volume จำนวน 14 ลิตร


2. เอาสารละลายที่คา้ งอยูใ่ นอุปกรณ์ Continuous Distillation ออกให้หมด
3. ปิ ด valve ทั้งหมดของเครื่ อง Continuous Distillation
4. นำสารละลายเอทานอล 30%by volume จำนวน 14 ลิตรที่เตรี ยมไว้ ใส่ เครื่ อง Continuous
Distillation
5. เปิ ด cooling water และ เปิ ดสวิตซ์ของเครื่ องกลัน่ Continuous Distillation
6. เปิ ด pump และปรับอัตราการไหลของ pump สาย feed และ bottom ให้อยูท่ ี่สภาวะ steady state
( flow in = flow out)
7. ปรับอุณหภูมิของการกลัน่ ที่ 85 oC เมื่อ อุณหภูมิของกลัน่ ถึง tray ที่ 7 ของ column แล้วทำการปรับ
reflux ratio เป็ น 1:2
8. เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ distillation และ bottom และวัดอัตราการไหลที่กลัน่ ได้ทุกๆ 10 นาที
9. นำผลิตที่กลัน่ ได้ส่องด้วยกล้อง Refratometer จนกระทัง่ ค่าที่ได้คงที่หรื อสมดุล (Equilibrium ) จึง
หยุดการทดลอง
10. จากนั้นจึงทำการปิ ดเครื่ องและ รอจนกว่าสารละลายในเครื่ องกลัน่ มีอุณหภูมิต ่ำลงจึงเอาสารละลาย
ออกจากหอกลัน่
Continuous Distillation2

ผลการทดลอง

%Brix Volume Faction


Distillate Bottom Distillate Bottom
1.3625 1.34 80 10.69767
1.3627 1.3398 84 12.36364
1.3628 1.341 86 13.02326
AVG 83.33333 12.02819

ภาคผนวก

การเตรียมสารละลาย Ethanol 95.5% wt กับ น้ำ


Continuous Distillation2

ในสารละลาย 100 g. ประกอบด้วย Etanol 95.5 g และ มีน้ำ 4.5 g

Vsolvent = VEthanol + V H2O

V solvent V Ethanol
= +1
V H 2O V H 2O

v Ethanol v solvent
= −1
vH 2 O v H 2O

V Ethanol 100 g /0.789 g/cm 3


= −1
V H 2O 4.5 g /1 g/cm3

v Ethanol 27.165
=
vH 2 O 1

ต้ องการเตรียมสารละลาย 14000 ml โดยมี เอทานอล 30%vol


ดังนั้น ในสารละลายจะมีเอทานอลผสมอยู่
14000 ×0.3=4200 ml

แต่ สารสะลายมาตรฐานมีความเข้ มข้ นเท่ ากับ 95.5% wt


ดังนั้นในสารละลายที่ต้องการมีปริมาตรของเอทานอล
28.165
× 4200=¿ 4355 ml Ethanol
27.165

ดังนั้นในสารละลายที่ต้องการมีปริมาตรของน้ำ
14000 – 4355 = 9645 ml H2O
Continuous Distillation2

You might also like