You are on page 1of 133

Chapter

FIRST LAW OF THERMODYNOMICS OF


OPEN SYSTEMS
กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ สำหรับ
ระบบเปิ ด
ระบบเปิ ดหรื อปริ มาตรควบคุม
ระบบเปิ ดหรื อปริ มาตรควบคุม ( Open systems หรื อ Control
volumes : CV) คือ ระบบที่มวลสามารถถ่ายเทเข้า – ระบบได้
ซึ่งใช้กนั อย่างแพร่ หลายในงานทางวิศวกรรม ได้แก่

• เครื่ องสู บน้ำ (Pump)


• กังหันไอน้ำ (Steam turbine)
• เครื่ องอัดอากาศ (Air compressor)
• เครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน (Heat exchanger)
• ถังเก็บแก๊ส (Gas tank)
• บอลลูน (Balloon)
กระบวนการในระบบเปิ ดแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ
• กระบวนการไหลแบบคงตัว (steady – flow process)
• กระบวนการไหลแบบไม่คงตัว (unsteady – flow process)

เนื่องจากระบบเปิ ดมีการถ่ายเททั้งมวลและพลังงาน ดังนั้นในการ


วิเคราะห์กระบวนการจึงต้องพิจารณา
• กฎการอนุรักษ์มวล
• กฎการอนุรักษ์พลังงาน
5.1 กฎอนุรักษ์มวลสำหรับระบบเปิ ด
[ มวลทีเ่ ข้ าสู่ ระบบในช่ วงเวลา t ] - [ มวลทีอ่ อกจากระบบในช่ วงเวลา t ]
=
[ มวลในระบบทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปในช่ วงเวลา t ]

mout
 mCV  min  mout
min

dmCV  kg 
m in  m out  ...
dt  s
• กรณี ที่มีสารเข้าหรื อออกจากระบบหลายทาง

mi 2 mout1
 mCV
mi1 me1

mout 2

m  m  m
in out
CV

 d mCV


in
m  m 
out dt
สรุ ปเกี่ยวกับอัตราการไหล
dm
• อัตราการไหลเชิงมวล
 

m  v A v dV A

dx
• อัตราการไหลเชิ

งปริ มาตร

V  Av

• ความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราการไหลเชิงมวล กับ อัตราการไหล


ปริ มาตร 
 V
m   V
v
กฎอนุรักษ์มวลสำหรับกระบวนการที่มีการไหลแบบคงตัว
ในกระบวนการไหลแบบคงตัว มวลที่ไหลเข้าสู่ ระบบจะเท่ากับมวล
ที่ไหลออกจากระบบ ทำให้มวลภายในระบบไม่มีการเปลี่ยนแปลง
 d mCV 0

in
m  m 
out dt

 
m  m  0
in out

 
m  m
in out
m 2  
m  m
in out
m 1

อุปกรณ์ที่มีทางเข้าออกเพียงทางเดียว เรี ยกว่า อุปกรณ์กระแสเดียว


จะกำหนดทางเข้าเป็ นสภาวะที่ 1 และทางออกเป็ นสภาวะที่ 2
 
m1  m 2
 
1v1 A1   2 v2 A2
5.2 งานจากการไหล (Flow Work, Wflow)
A
งานจากการไหล คือ งานที่เกิดจากการผลัก
F
ดันให้มวลของของไหล ไหลผ่าน เข้า –
L
ออก ขอบเขตของระบบ

W flow  F L
F

W flow   P A  L

W flow  P V ... kJ 
 kg 
W flow  P V

A
F
• สำหรับ งานเนื่องจากการไหลต่อหนึ่ง
L
หน่วยมวล คือ

w flow  P v
F
พลังงานรวมของสารทำงานที่มีการไหล
พลังงานรวมของสารทำงานที่มีการไหลผ่านขอบเขตของระบบจะ
ประกอบไปด้วย
A
• พลังงานภายใน ( U ) F
• พลังงานศักย์ ( PE ) L
• พลังงานจลน์ ( KE )
• งานจากการไหล ( PV )
F
กำหนดให้  เป็ นพลังงานรวมของสารทำงานที่มีการไหลโดยพิจารณา
ต่อหนึ่งหน่วยมวล ดังนั้น

  Pv  u  ke  pe
2
v
  Pv  u   gz
2
2
v
 h   gz ... kJ 
2  kg 
2
v
 h   gz ... kJ 
2  kg 
การถ่ายโอนพลังงานโดยมวล
สำหรับสารทำงานมวล m จะมีปริ มาณ
การถ่ายโอนพลังงานโดยมวลดังนี้
2
 v 
Emass  m  m h   gz  ... kJ 
 2 

เขียนในรู ปของอัตราการถ่ายโอนพลังงาน
2
 v 
E mass  m   m  h   gz  ... kW 
 2 
2
 v 
E mass  m   m  h   gz  ... kW 
 2 
5.3 การวิเคราะห์พลังงานสำหรับระบบที่มีการไหลแบบคงตัว

เงื่อนไขของกระบวนการแบบ SSSF คือ สมบัติทุกอย่างภายใน


ระบบ เช่น
• ปริ มาตร (VCV)
• มวล (mCV)
• พลังงานรวมในระบบ (ECV)

ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา หรื อ มีค่าคงที่ตลอดเวลา


ลักษณะของระบบที่มีการไหลคงตัว คือ สมบัติในแต่ละจุดของระบบ
อาจแตกต่างกัน แต่สมบัติที่จุดใด ๆ ของระบบ รวมทั้งที่ทางเข้าและ
ทางออกต้องคงที่ตลอดกระบวนการ

ลักษณะเช่นนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ อัตราการถ่ายโอนความร้อน (Q)


และกำลัง (W) ต้องมีค่าคงที่ตลอดกระบวนการ
สมดุลมวลสำหรับกระบวนการที่มีการไหลแบบคงตัว

 
 kg 
m 
in
m
out  s

สำหรับอุปกรณ์กระแสเดียว
 
m1  m 2
 
1 v1 A1   2 v2 A2
จากหลักการอนุรักษ์พลังงาน หรื อ สมดุลพลังงาน

Ein  Eout  Esystem  kJ 

การถ่ายโอนพลังงานสุ ทธิในรู ป การเปลี่ยนแปลงพลังงานรวม


• ความร้อน ของระบบ
• งาน
• มวล
เขียนในรู ปของอัตรา

dE system
E in  E out   kW 
dt

อัตราการถ่ายโอนพลังงานสุ ทธิ อัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงาน


ในรู ป รวมของระบบ
• ความร้อน
• งาน
• มวล
สำหรับกระบวนการไหลคงตัว พลังงานภายในระบบมีค่าคงที่
(Esystem หรื อ ECV) มีค่าคงที่
dE system
0
E in  E out   kW 
dt

E in  E out  0

E in  E out

Q in  W in  
in
m
     W 
Qout out  m 
out
Q in  W in  
in
m
     W 
Qout out  m 
out

เนื่องจากพลังงานของสารที่มีการไหลต่อหนึ่งหน่วยมวล คือ
2
v
 h   gz ... kJ 
2  kg 

แทนค่าลงในสมการข้างต้น จะได้
2 2
    v      v 
Qin  Win   min  h   g z   Qout  Wout  m out  h   g z 
 2 in  2  out
 
    v2      v2 
Qin  Win   min  h   g z   Qout  Wout  m out  h   g z 
 2 in  2  out

 
 
 v2   v2 
Q  W   m h   g z    m h   g z 
out  2  in  2 

สำหรับสมการกระแสเดียว
 2 2 
    v2  v1 
Q  W  m  h2  h1      g  z 2  z1  
  2  
สำหรับสมการกระแสเดียว
   
    v22  v12 
Q  W  m  h2  h1      g  z 2  z1  
  2  
  
Q  W   m  h   ke   pe 

คิดต่อหนึ่งหน่วยมวล  
 v22  v12 
q  w   h2  h1      g  z 2  z1 
 2 
 
q  w   h   ke   pe
กฎอนุรักษ์พลังงานสำหรับกระบวนการ SSSF
  
Q  W   m  h   ke   pe 

พิจารณาทีละตัวแปร

1. Q คือ อัตราการถ่ายเทความร้อนผ่านขอบเขตของระบบ หน่วย kJ


s

• ระบบได้รับความร้อน Q    

• ระบบสู ญเสี ยความร้อน Q   

• ระบบมีการหุม้ ฉนวน Q  0
  
Q  W   m  h   ke   pe 

2. W คือ ปริ มาณงานต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรื อ กำลัง หน่วย kJ , kw


s
แบ่งเป็ น 2 ส่ วน คือ

• งานจากการเปลี่ยนแปลงขอบเขตของระบบ ซึ
่ ง มี ค ่ าเท่ ากั
บ ศู น ย์
  
ตามหลักของ SSSF  Wb  0 

• งานต่อหนึ่งหน่วยเวลาในรู ปแบบอื่น ๆ  Wother 

งานต่อหนึ่งหน่วยเวลาในรู ปแบบอื่น ๆ  Wother 
  
Q  W   m  h   ke   pe 

3.  h  he  hi คือ ค่าการเปลี่ยนแปลงเอนทัลปี จำเพาะ


kJ
หน่วย kg

• กรณี เป็ น สารทำงาน สามารถอ่านได้จากตารางแสดงคุณสมบัติ


ของสาร

• กรณี เป็ น แก๊สอุดมคติ หาได้จากสูตร  h  CP  Te  Ti 


  
Q  W   m  h   ke   pe 

2 2
ve  vi
4.  ke 
2
คือ ค่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์จำเพาะ

หน่วย m2 J
s2 kg

• กรณี เป็ นความเร็ วของสารไหลเข้าและออกจากปริ มาตรควบคุมมี


ค่าใกล้เคียงกัน  ve  vi  อาจถือว่า ผลต่างของพลังงานจลน์เป็ น
 

ศูนย์ได้
  
Q  W   m  h   ke   pe 

5.  pe  g  z 2  z1  คือ ค่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์จำเพาะ

m2 J
s 2
kg
หน่วย
5.4 การวิเคราะห์ระบบเปิ ดที่มีการไหลแบบคงตัว (SSSF)
ในทางปฏิบตั ิพบว่า มีอุปกรณ์ทางวิศวกรรมหลายชนิด ที่ ดำเนินการ
ทำงานในลักษณะการไหลคงตัวหรื อทำงานต่อเนื่องเป็ นเวลานานโดย
มีสภาวะคงที่ ได้แก่

• หัวฉี ดและดิฟฟิ วเซอร์ (Nozzle and Diffuser)


• กังหัน เครื่ องอัด และปั๊ ม (Turbines, Compressors and Pumps)
• อุปกรทรอตทลิ่ง (Throttling Device)
• เครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger)
• การไหลในท่อ
การวิเคราะห์ระบบเปิ ดที่มีการไหลแบบคงตัว (SSSF)

กฏการอนุรักษ์มวลหรื อกฎทรงมวล
 
m  m
in out

กฏอนุรักษ์พลังงาน
2 2
   v    v 
Q  W   m h   g z    m h   g z 
out  2  in  2 
1 หัวฉี ดและดิฟฟิ วเซอร์ (Nozzle and Diffuser)
เป็ นอุปกรณ์ที่พบมากในงานอุตสาหกรรม โดยทั้งสองอุปกรณ์จะมี
ลักษณะการทำงานที่ตรงข้ามกัน กล่าวคือ

• หัวฉี ด เป็ นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ เพิ่มความเร็ วให้กบั สารทำงาน


และค่าความดันของสารด้านเข้าจะ สูงกว่า ค่าความดันของสาร
ด้านออกเสมอ

• ดิฟฟิ วเซอร์ เป็ นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ ลดความเร็ วของสารทำงาน


และค่าความดันของสารด้านเข้าจะ ต่ำกว่า ค่าความดันของสาร
ด้านออกเสมอ
หัวฉี ดและดิฟฟิ วเซอร์ (Nozzle and Diffuser)
หัวฉี ดและดิฟฟิ วเซอร์ (Nozzle and Diffuser)
สำหรับการพิจารณากฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ของการไหลคงตัวของ
หัวฉีดและดิฟฟิ วเซอร์ น้ นั สามารถสรุ ปได้ดงั นี้

• อัตราการถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นในหัวฉีดและดิฟฟิ วเซอร์จะถือว่าต่ำ

 
มาก  Q  0 

• ในระหว่างการทำงาน ไม่มีพลังงานในรู ปของงานใด ๆ มาเกี่ยวข้อง



ระหว่างกระบวนการ  W  0 

• ในระหว่างกระบวนการการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์มีค่าสู งมาก จนจัด
ได้วา่ เป็ นหัวใจสำคัญของอุปกรณ์สองชิ้นนี้  ke  0 
• ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์  pe  0 
Ex. อากาศที่สภาวะ 10 oC และ 80 kPa ผ่านเข้าสู่ ดิฟฟิ วเซอร์ในระบบ
เครื่ องยนต์ดว้ ยความเร็ ว 200 m/s พื้นที่หน้าตัดทางเข้าเป็ น 0.4 m2
ถ้าอากาศไหลออกด้วยความเร็ วต่ำมากเทียบกับทางเข้า จงหา

a. อัตราการไหลเชิงมวลของอากาศ
b. อุณหภูมิที่ทางออกของอากาศ
a. อัตราการไหลเชิงมวลของอากาศ
  
m1  m 2  m

 1 
m  1v1 A1  v1 A1
v1

 0.287 kPa  m 3  283 K 


RT1  kg.K  3
v1    1.015 m
P1 80 kPa kg

 1 
m  v1 A1
v1

1
m 3
200 m s  400 m 
2
 78.8 kg
s
1.015
kg
ข) อุณหภูมิที่ทางออกของอากาศ

 
0 0 
2 2
 v2  v1  
0
Q  W  m  h2  h1      g  z 2  z1  
  2  

 
 v22  v12 
h2  h1   
 2 
2 2
 v2  v1 
h2  h1    จากตาราง A - 17
 2  h1  h@ 283 K  283.14 kJ
kg

h2  283.14 kJ 


 0  200 m
s
 2
 1 kJ
 kg 

kg   2 
2  1000 m 2 
  s 

จากตาราง A - 17
h2  303.14 kJ T2  303 K
kg h2  h@ 303 K
Ex. ไอน้ำเข้าสู่ ชุดหัวฉี ดด้วยความเร็ วต่ำที่ความดัน 3 MPa และ
อุณหภูมิ 350 oC โดยไหลเข้าด้วยอัตราการไหลเชิงมวล 0.5 kg/s และ
ไหลออกด้วยความเร็ ว 550 m/s ที่ความดัน 1.6 MPa ให้หาว่า
a. อุณหภูมิของไอน้ำที่ทางออกของหัวฉี ดนี้
b. พื้นที่หน้าตัดทางออกของหัวฉี ด

ไอน้ำ
0.5 kg/s,
3 MPa, 350 oC
1.6 MPa
0.5 kg/s
ไอน้ำ
0.5 kg/s,
3 MPa, 350 oC
1.6 MPa
0.5 kg/s

 
   vi2   ve2 
qCV  wCV   hi   g zi    he   g ze 
 2   2 

2
 ve 
เนื่องจาก qCV  0, w  0, g  Z e  Z i  0 he   hi  
 2 

 ve2 
he   hi  
 2 

ไอน้ำ 3 MPa, 350 oC hi = 3115.25 kJ/kg

he

  3115.25 kJ / kg 
 550 m / s 
2

  2964.0 kJ / kg
2 1000 
 

Pe = 1.6 MPa
จากตารางไอน้ำ Te = 269.4 oC
he = 2964 kJ/kg
Ans...
b. พื้นที่หน้าตัดทางออกของหัวฉีด

m e  m i  0.5 kg / s


 v A
me  e e
v

 

me v
Ae   
 0.5 kg / s  0.14835 m3 / kg
ve 550 m / s

Ae  135 mm 2

Ans...
2 กังหัน (Turbine)

• เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ผลิตงาน
โดยอาศัย การไหลผ่านของแก๊ส
หรื อของเหลวความดันสู ง ผ่าน
ใบพัดซึ่งถูกต่ออยูก่ บั แกนเพลา
เพื่อให้แกนเพลาหมุนส่ งผลให้เกิด
พลังงานกล หรื อ งานจากการ
หมุนเพลา
สำหรับการพิจารณากฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ของการไหล
คงตัวของ กังหันนั้น สามารถสรุ ปได้ดงั นี้

• ความดันด้านเข้า (PIN) ต้อง มากกว่า ความดันด้านออก (POUT) เสมอ


• การ ป.ป. พลังงานศักย์ น้อยมาก สามารถตัดทิ้งได้  PE  0 
ยกเว้นโจทย์กำหนด
• ความเร็ วด้าน เข้า และ ออก จากอุปกรณ์ ปกติจะต่ำมาก ๆ สามารถ
ตัดทิ้งได้  v , v  0  ยกเว้นกรณี โจทย์กำหนดค่ามาให้
IN OUT

• กังหันจะผลิตงานสู่ สิ่งแวดล้อม (งานทางกล) ดังนั้นงานที่เกิดขึ้นจะ


มีเครื่ องหมายเป็ นบวก
Ex. กังหันไอน้ำหุม้ ฉนวนขนาด 5 MW มีสภาวะที่ทางเข้าและทางออก
ของไอน้ำดังแสดงในรู ป จงหา
a. เปรี ยบเทียบขนาดของ h, ke และ pe
b. จงหางานต่อหน่วยมวลของไอน้ำ
c. จงหาอัตราการไหลเชิงมวลของไอน้ำ
ขนาดของ h

• ที่สภาวะทางเข้า (สภาวะที่ 1)
P1  2 MPa
h1  3,248.4 kJ
kg
T1  400 oC

• ที่สภาวะทางออก (สภาวะที่ 2) : ของผสมอิ่มตัวที่ 15 kPa


h2  h f  x2 h fg   225.94   0.9   2,372.3  kJ  2,361.01 kJ
kg kg

h  h2  h1 h  887.39 kJ
kg
ขนาดของ ke

ke 
2 2
v2  v1

180 m
s
2
 50  
m
s
 2
 1 kJ
 kg 

 14. 95 kJ
 2  kg
2 2  1000 m 2 
 s 

ขนาดของ pe
 1 kJ 
pe  g  z 2  z1  m
s
 
 9.81 2   6  10  m
kg 
2
 1000 m 2 
  0.04 kJ
kg
 s 
ก) เปรี ยบเทียบขนาดของ h, ke และ pe

h  887.39 kJ
kg
การ ป.ป.พลังงานศักย์และพลังงานจลน์
ke  14.95 kJ มีค่าน้อยมากเมื่อเปรี ยบเทียบกับการ
kg
ป.ป.เอนทาลปี
pe  0.04 kJ
kg
จงหางานต่อหน่วยมวลของไอน้ำ
 
0
 
 
 v22  v12  
Q  W  m  h2  h1      g  z 2  z1  
  2  

   
   v22  v12 
 W  m  h2  h1      g  z 2  z1  
  2  

   
 v22  v12 
w    h2  h1      g  z 2  z1  
  2  

w   h  ke  pe 
จงหางานต่อหน่วยมวลของไอน้ำ
w   h  ke  pe 

แทนค่า h  887.39 kJ
kg

ke  14.95 kJ
kg
pe  0.04 kJ
kg

w  872.48 kJ
kg
อัตราการไหลเชิงมวลของไอน้ำ
W
m 
w

แทนค่า w  872.48 kJ
kg

5,000 kJ
m  s  5.73 kg
872.48 kJ s
kg
Ex. กังหันไอน้ำรับน้ำอุณหภูมิ 500 oC และความดัน 10 MPa ด้วยความเร็ ว 50
m/s และน้ำออกจากกังหันด้วยคุณภาพไอ 90 % ที่ความดัน 50 kPa ตลอด
กระบวนการ มีความร้อนสูญเสี ยออกจากกังหัน 45 kJ/kg ถ้าพื้นที่หน้าตัด
ทางเข้าและทางออกของกังหันมีค่าเท่ากับ 150 cm2 และ 1500 cm2 ตามลำดับ
จงหา
a. อัตราการไหลเชิงมวลของน้ำที่ผา่ นกังหัน
b. ความเร็ วของไอน้ำที่ออกจากกังหัน
1. ไอน้ำ 500 oC, 10 MPa,
c. กำลังที่กงั หันผลิตได้
50 m/s
d. แผนภาพ T – v

Turbine W Cv  ?

q Cv  45 kJ / kg
2. x = 90 %, 50 kPa
• ที่สภาวะด้านเข้า : 500 oC, 10 MPa น้ำเป็ น ไอร้อนยวดยิง่ มีปริ มาตรจำเพาะ
เท่ากับ 0.03279 m3/kg

50 m / s   150  10 4 m 2 

 
mi  me 
vi Ai
m



vi 0.03279 m3 / kg


m  22.872 kg / s

Ans...
• ที่สภาวะด้านออก : x = 0.90 , 50 kPa น้ำเป็ น ของผสมอิ่มตัว มีปริ มาตรจำเพาะ
เท่ากับ
v  v f  x v fg

v   0.001030    0.90   3.24034  0.001030 

v  2.916 m 3 / kg

 
mi  me 

ve Ae 
ve 
 
22.872 kg / s  2.916 m 3 / kg 
ve 1500  10  4 m 2

ve  444.63 m / s
Ans...
2 2
    vi  
 v 
QCV  W CV   m i  hi 
  g zi    m e  he  e  g ze 
 2   2 

จากโจทย์
• ไม่มีผลของการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์  pe  0

 
 m   h1  h2  

2 2
v1  v2   
W CV   QCV
 2 

• ที่สภาวะด้านเข้า : 500 oC, 10 MPa น้ำเป็ น ไอร้อนยวดยิง่ h1 = 3373.63 kJ/kg

• ที่สภาวะด้านออก : x = 0.90 , 50 kPa น้ำเป็ น ของผสมอิ่มตัว


h2  h f  x h fg h2  2,415.33 kJ / kg
  
 m   h1  h2 


2 2
v2  v1   
W CV   QCV
 2 

• พิจารณา การเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์จำเพาะ

 v
1
2 
 v22 

444.632  50 2 m 2 / s 2   1 kJ / kg



2 2
2 2  1000 m / s 

 v 2
2

 v12 
  97.597 kJ / kg
2

• พิจารณา การถ่ายเทความร้อน
 

Q CV  m qCV Q CV   22.872 kg / s    45 kJ / kg 


Q 2   1029.24 kW
 
 m   h1  h2 
2 2
v1  v2   
W CV   QCV
 2 


W CV   22.872 kg / s    3,373.63  2,415.33     97.597      1029.24 


W CV  18,656.759 kW  18.65 MW

Ans...
T ( oC )
500 oC 1
10 MPa

50 kPa
2
v ( m3/kg )

Ans...
เครื่ องอัด และปั๊ม (Compressors and Pumps)
เป็ นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ เพิม่ ความดันให้แก่ของไหลให้มีความดัน
สูงขึ้น พบในระบบการส่ งถ่ายของไหลต่าง ๆ ผ่านระบบท่อในงาน
อุตสาหกรรม

• กรณี ที่สารทำงานเป็ นของเหลว อุปกรณ์เพิม่ ความดันเรี ยกว่า


เครื่ องสู บ เช่น เครื่ องสูบน้ำ (Water pump)

• กรณี ที่สารทำงานเป็ นแก๊สหรื อไอ อุปกรณ์เพิ่มความดันเรี ยกว่า


เครื่ องอัด เช่น เครื่ องอัดอากาศ (Air compressor)
สำหรับการพิจารณากฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ของการไหล
คงตัวของ เครื่ องอัดและปั๊ มนั้น สามารถสรุ ปได้ดงั นี้

• ความดันด้านเข้า (PIN) ต้อง ต่ำกว่า ความดันด้านออก (POUT) เสมอ


• การ ป.ป. พลังงานศักย์ น้อยมาก สามารถตัดทิ้งได้   PE  0 
• ความเร็ วด้านเข้าจากอุปกรณ์ ปกติจะต่ำมาก ๆ สามารถตัดทิ้งได้
 v  0
IN
ยกเว้นกรณี โจทย์กำหนดค่ามาให้
• อุปกรณ์จะรับงานจากสิ่ งแวดล้อม (งานทางไฟฟ้ า) ดังนั้นงานที่
เกิดขึ้นจะมีเครื่ องหมายเป็ นลบ
Ex. อากาศที่สภาวะ 100 kPa และ 280 K ได้รับการอัดในเครื่ อง
จนกระทัง่ มีสภาวะเป็ น 600 kPa และ 400 K โดยอัตราการไหลของ
อากาศเป็ น 0.02 kg/s และมีความร้อนสูญเสี ยออกจากระบบในปริ มาณ
16 kJ/kg จงคำนวณหากำลังที่ตอ้ งป้ อนให้กบั เครื่ องอัด
กำหนดให้ไม่คิดผลเนื่องจากการ ป.ป. พลังงานจลน์และพลังงานศักย์
 2 2 0 
0
    v2  v1 
Q  W  m  h2  h1      g  z 2  z1  
  2  
  
Q  W  m h2  h1 

    
W  Q  m h2  h1   m q  m h2  h1 

 
W  m  q   h2  h1  
 
W  m  q   h2  h1  

q  16 kJ
kg
แทนค่า
m  0.02 kg
s

h1  h@ 280 K  280.13 kJ
kg
จากตาราง A – 17
h2  h@ 400 K  400.98 kJ
kg

W   0.02 kg     16 kJ    400.98 kJ  280.13 kJ  
 s  kg   kg kg  


W  2.74 kW
Ex. เครื่ องสู บน้ำ สู บน้ำจากใต้พ้ืนดิน 50 เมตร มาเก็บไว้ในถังที่อยูส่ ู งจาก
พื้นดิน 5 เมตร ถ้าเส้นผ่า ศ.ก. ของท่อที่ทางเข้าและทางออกเป็ น 0.1 เมตร และ
0.125 เมตร ตามลำดับ และไม่มีความร้อนเกิดขึ้นที่กระบวนการสู บน้ำนี้
จงคำนวณหา กำลัง ที่ตอ้ งป้ อนให้กบั เครื่ องสูบน้ำเพื่อให้ได้อตั ราการไหลเชิง
ปริ มาตร 20 ลิตร/วินาที หากน้ำมีอุณหภูมิคงที่เท่ากับ 25 oC

2

V  20 L / s
5m

50 m Pump

1
 
    vi2    ve2 
QCV  W CV   m i  hi   g zi    me  he  2  g ze 
 2   
จากโจทย์ 
• อัตราการถ่ายเทความร้อนเป็ นศูนย์ Q  0 CV

• เนื่องจากน้ำเป็ นของเหลวที่อดั ตัวไม่ได้ จึงมีปริ มาตรคงที่ ดังนั้น


d h  u  d  Pv 

 h  u  P v  v  P ,  v  0

h2  h1  u2  u1  v  P2  P1 

h2  h1  C  T2  T1   v  P2  P1 
 
    vi2    ve2 
QCV  W CV   m i  hi   g zi    me  he  2  g ze 
 2   

จากโจทย์
• อุณหภูมิน ้ำด้านเข้า เท่ากับ อุณหภูมิดา้ นออก T1  T2

• ความดันน้ำด้านเข้า เท่ากับ ความดันด้านออก P 1  P2  Patm


ดังนั้น h  h  C  T  T   v  P  P   0
2 1 2 1 2 1

  
• มวลของน้ำไหลเข้า เท่ากับ มวลของน้ำไหลออก m1  m 2  m

 
  v22  v12
 
W CV  m   g  z 2  z1  
 2 
 
  v22  v12
 
W CV  m   g  z 2  z1  
 2 

• ที่ 25 oC น้ำมีปริ มาตรจำเพาะเท่ากับ 0.001003 m3/kg



m 
 20 L / s   19.94 kg / s
 0.001003m 3

/ kg 1000 L / m 3

• ความเร็ วน้ำด้านเข้า
 


v1 
m v1

 19.94 kg / s  0.001003 m 3 / kg
 2.546 m / s
A1    0.1 m  2 
 4 

 
  v22  v12
 
W CV  m   g  z 2  z1  
 2 

• ความเร็ วน้ำด้านออก
 


v2 
m v2

 19.94 kg / s  0.001003 m 3 / kg
 1.629 m / s
A2    0.125 m  2 
 4 
 

  1.629 m / s 2  2.546 2 m / s  
 
2 
 
  9.81 m / s 2  55 m  

  
W CV    19.94 kg / s  

 1000 m 2 / s 2  


 1 kJ / kg  
 


W CV  10.72 kW
Ans...
3 อุปกรณ์ทรอตทลิ่ง (Throttling Device)
เป็ นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ ลดความดันของสารทำงานที่เป็ นของไหลใน
ระบบ โดยอาศัยหลักการกีดขวางหรื อหน่วงการไหลของสารทำงาน
เมื่อของไหล ไหลผ่านสิ่ งกีดขวางหรื อการหน่วงแล้ว จะทำให้ความ
ดันของของไหลลดลง พร้อมกับการเกิดการขยายตัวของของไหล
สำหรับการพิจารณากฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ของการไหล
คงตัวของ ทรอตทลิ่งนั้น สามารถสรุ ปได้ดงั นี้

• อัตราการถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นที่เกิดขึ้นในอุปกรณ์ทรอตทลิ่ง
 

จะถือว่าต่ำมาก 
 Q  0 

• ไม่มีอตั ราการถ่ายเทงานเกิดขึ้นในอุปกรณ์ทรอตทลิ่ง   
W  0
 

• ผลการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์ไม่มีความสำคัญมากนัก  ke  0 

• ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์  pe  0 
 2 2 
    v2  v1 
Q  W  m   h2  h1      g  z 2  z1  
  2  

เมื่อพิจารณาตาเงื่อนไขของอุปกรณ์ทรอตทลิ่ง จะได้
h1  h2

u1  P1 v1  u2  P2 v2
สารทำความเย็น R – 134a เป็ นของเหลวอิ่มตัวที่ 0.8 MPa ไหลผ่าน
วาล์วทรอตทลิ่ง ทำให้ความดันลดลงเหลือ 0.12 MPa จงคำนวณหา
• คุณภาพไอของสารทำความเย็นที่ทางออก
• อุณหภูมิที่ลดลงในระหว่างกระบวนการ

0 0    v2  v01 
Q  W  m   h2  h1   
2 2
0 
  g  z 2  z1  
  2  

h1  h2
u1  P1 v1  u2  P2 v2
สารทำความเย็น R – 134a เป็ นของเหลวอิ่มตัวที่ 0.8 MPa ไหลผ่าน
วาล์วทรอตทลิ่ง ทำให้ความดันลดลงเหลือ 0.12 MPa จงคำนวณหา
• คุณภาพไอของสารทำความเย็นที่ทางออก
• อุณหภูมิที่ลดลงในระหว่างกระบวนการ
4ก เครื่ องผสม (Mixer)
เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ใน การผสมสารอุณหภูมิต ่ำ เข้ากับ สารที่มีอุณหภูมิ
สูง ซึ่งโดยปกติเครื่ องผสมจะมีการหุม้ ฉนวนอย่างดี และไม่มีงาน
ภายนอกใด ๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง ส่ วนการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์และ
พลังงานศักย์ถือว่ามีค่าน้อยมาก จึงไม่พิจารณาผลของการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานสองรู ปนี้
 
Q  0, W  0

 ke  0,  pe  0
Ex มีการผสมน้ำร้อน 60 oC เข้ากับน้ำเย็น 10 oC เพื่อให้ได้น ้ำอุ่น 45 oC
จะต้องใช้อตั ราส่ วนการไหลเชิงมวลของน้ำร้อนต่อน้ำเย็นเท่าไร เมื่อ
การผสมเกิดขึ้นที่ความดัน 150 kPa
T1 = 60 oC

P = 150 kPa

T2 = 10 oC T3 = 45 oC
T1 = 60 oC
สมการอนุรักษ์มวล
 
m i  m e

   P = 150 kPa
m1  m 2  m3
T2 = 10 oC T3 = 45 oC
สมการอนุรักษ์พลังงาน
 0  0  
2
ve 0  
2
vi 0
QCV  W CV   m e  he   g ze    mi  hi  2  g zi 
 2   
    
m i hi   m e he m1 h1  m 2 h2  m 3 h3
 
 

m1 h1  m 2 h2   m1  m 2 h3
 
  
• หาอัตราส่ วนของน้ำร้อนต่อน้ำเย็น  m1 m 2 
 
 
 T1 = 60 oC
m1 h1  m 2 h2   m1  m 2 h3
 

 
  

m1 m2 m
 1  m 2 

h1   h2     h3 P = 150 kPa
m2 m2  m2 
 
T2 = 10 oC T3 = 45 oC

h3  h2
ให้ m1
 y y h1  h2   y  1 h3 y
m2 h1  h3
T1 = 60 oC

h3  h2
y
h1  h3
P = 150 kPa

• จากตาราง A.4 T2 = 10 oC T3 = 45 oC

h1  h f @ 60o C  251.18 kJ
kg
h2  h f @10o C  42.022 kJ y  2.33
kg
h3  h f @ 45o C  188.44 kJ
kg
Ex ไอน้ำร้อน 80 oC ไหลเข้าห้องผสมด้วยอัตราการไหล 0.5 kg/s เพื่อ
ผสมกับน้ำเย็น 20 oC ให้ได้น ้ำอุ่นที่ 42 oC จงคำนวณหาอัตราการ
ไหลของน้ำเย็น เมื่อการผสมเกิดขึ้นที่ความดัน 250 kPa
สมการอนุรักษ์มวล
 
m i  m e

  
m1  m 2  m3

สมการอนุรักษ์พลังงาน
 0  0  
2
ve 0  
2
vi 0
QCV  W CV   m e  he   g ze    mi  hi  2  g zi 
 2   
    
m i hi   m e he m1 h1  m 2 h2  m 3 h3
 
 

m1 h1  m 2 h2   m1  m 2 h3
 
 
• หาอัตราการไหลของน้ำเย็น  m2 
 
 
 

m1 h1  m 2 h2   m1  m 2 h3
 
   h3  h1 
m 2  m1  
 h2  h3 

h1  h f @ 80o C  335.02 kJ
kg
• จากตาราง A.4 h2  h f @ 20o C  83.915 kJ
kg
h3  h f @ 42o C  175.90 kJ
kg
h1  335.02 kJ
kg
  h3  h1 
m 2  m1   h2  83.915 kJ
 h2  h3  kg
h3  175.90 kJ
kg


 175.90  335.02 
m 2   0.5  
 83.915  175.90 


m 2  0.865 kg
s
2 2
    vi    ve 
QCV  W CV   m i  hi 
  g zi    me  he  2  g ze
 
 2   
4ข เครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger)
เป็ นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ เป็ นตัวกลางในการถ่ายเทความร้อนของของ
ไหลจากจากแหล่งความร้อนที่มีอุณหภูมิแตกต่างกัน อย่างน้อย 2
แหล่ง
เครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger)
สำหรับการพิจารณากฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ของการไหล
คงตัวของ เครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อนนั้น สามารถสรุ ปได้ดงั นี้

• อัตราการถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นที่เกิดขึ้นระหว่างเครื่ องแลก
 

เปลี่ยนความร้อนกับสิ่ งแวดล้อมมีค่าต่ำมาก 

Q  0 

  
• ไม่มีอตั ราการถ่ายเทงานผ่านขอบเขตของระบบ 

W  0 

• ผลการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์และพลังงานศักย์มีค่าน้อยมาก
 ke  0, pe  0   ke  0 
Ex มีการหล่อเย็นสารทำความเย็น R – 12 ใน
เครื่ องควบแน่นด้วยน้ำ โดยสารทำความเย็นมี
อัตราการไหล 6 kg/min ที่สภาวะทางเข้ามี
ความดัน 1 MPa และอุณหภูมิ 70 oC และที่
สภาวะทางออกอุณหภูมิลดลงเป็ น 35 oC ส่ วน
น้ำที่ใช้ในการหล่อเย็นมีสภาวะทางเข้าเป็ น
300 kPa และ 15 oC และที่สภาวะทางออกมี
อุณหภูมิเพิม่ เป็ น 25 oC จงหา
a. อัตราการไหลเชิงมวลของน้ำหล่อเย็น
b. อัตราการถ่ายโอนความร้อนระหว่างน้ำกับสารทำความเย็น R – 12
 
สมการอนุรักษ์มวล m i  m e

  
m1  m 2  m w
  
m3  m 4  m R

สมการอนุรักษ์พลังงาน
 0  0 
2
ve 0  
2
vi 0
QCV  W CV   m e  he   g ze    mi  hi  2  g zi 
 2   
     
m i hi   m e he m w h1  m R h3  m w h2  m R h4
 
m w  h1  h2   m R  h4  h3 
 
m w  h1  h2   m R  h4  h3 

• คุณสมบัติน ้ำ
h1  h f @15o C  62.982 kJ
kg
h2  h f @ 25o C  104.83 kJ
kg

• คุณสมบัติ R – 12
h3  303.85 kJ
kg
h4  h f @ 35o C  100.87 kJ
kg
 
m w  h1  h2   m R  h4  h3 

แทนค่ า

h1  62.982 kJ h3  303.85 kJ
kg kg
h2  104.83 kJ h4  100.87 kJ
kg kg

mR  6
 kg
min

แทนค่ า

m w  29.1 kg
min
• หาอัตราการถ่ายเทความร้อนระหว่างน้ำกับสารทำความเย็น

  0  

ve2 0  

vi2 0
QCV  W CV   m e  he   g ze    mi  hi  2  g zi 
 2   

 
Q  m w  h2  h1 
 
Q  m w  h2  h1 

แทนค่ า

h1  62.982 kJ h2  104.83 kJ
kg kg

mw  29.1
 kg
min

แทนค่ า

Q  1,218 kJ
min
6 การไหลในท่อ (Pipe and Duct Flow)
สำหรับการพิจารณากฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ของการไหล
คงตัวของการไหลในท่อนั้น ถือว่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์และ
พลังงานศักย์มีค่าน้อยมาก จึงไม่พิจารณาผลของการเปลี่ยนแปลง
พลังงานในสองรู ปนี้
 ke  0,  pe  0
ให้พิจารณา อากาศเป็ นแก๊สอุดมคติ
 2 2 
    v2  v1 
Q  W  m   h2  h1      g  z 2  z1  
  2  
First Law of Thermodynamics of Open Systems
for Uniform – State, Uniform – Flow Process

5.5 กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ สำหรับระบบเปิ ด


สำหรับ กระบวนการที่มีการไหลแบบไม่คงตัว
การวิเคราะห์พลังงานในกระบวนการไหลแบบไม่คงตัว
กระบวนการไหลแบบไม่คงตัวได้แก่
• การเติมแก๊ซเข้าไปในบอลลูนหรื อยางรถยนต์
• การเติมสารทำงานเข้าถังหรื อปล่อยสารทำงานออกจากถัง
• การทำอาหารในภาชนะต่าง ๆ
ข้อแตกต่างระหว่างการไหลคงตัว และ การไหลไม่คงตัว
• การไหลแบบคงตัว : ปริ มาตรคงที่
• การไหลแบบไม่คงตัว : ปริ มาตรคงที่หรื อไม่คงที่กไ็ ด้
การวิเคราะห์ระบบเปิ ดที่มีการไหลไม่คงตัว จะเป็ นการวิเคราะห์ใน
ช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่ งมีลกั ษณะคล้ายการวิเคราะห์ระบบปิ ด แต่มวลใน
ระบบจะไม่คงที่
สรุ ป : สมการทางเทอร์โมไดนามิกส์ สำหรับระบบเปิ ด
• สมการอนุรักษ์มวล
m  m
i e   mCV
d
 m i   m e  dt mCV
• สมการอนุรักษ์พลังงาน
 
 vi2   ve2 
Q  W   mi  hi   g zi    me  he  2  g ze    ECV
 2   
 
   vi2    ve2  d ECV
Q  W   mi  hi   g zi    me  he  2  g ze  
 2    dt
เงื่อนไขของกระบวนการ UFUS คือ

1. คุณสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ของมวลภายในระบบเปลี่ยนแปลง
ตามเวลา

• ปริ มาตรภายในระบบมีค่าคงที่หรื อไม่กไ็ ด้


d mCV
• มวลภายในระบบไม่คงที่ dt
0

d ECV
• พลังงานของระบบมีค่าไม่คงที่ 0
dt
2. คุณสมบัติทุกอย่างที่ขอบเขตปริ มาตรควบคุมไม่เปลี่ยนแปลงตาม
เวลา

3. สำหรับการวิเคราะห์กระบวนการแบบ USUF จะเป็ นการวิเคราะห์


ในช่วงเวลาหนึ่ง (คล้ายคลึงกับการวิเคราะห์ระบบปิ ด)

 mCV  mi  me me  3 kg
s
mi  5 kg
s  mCV  2 kg
กฎอนุรักษ์มวลสำหรับกระบวนการ USUF
 d mCV
 mi   me  d t

   d mCV 
 mi d t   me d t   d t  d t
 

พิจารณาการเปลี่ยนแปลงมวลตลอดช่วงเวลา t  0 ถึง tt

t  t   d mCV
t

0  mi d t  0  me d t  0  d t  d t

t  t  t
 d mCV 
0  mi d t  0  me d t  0  d t  d t

m  m
i e   mCV

m  m
i e   m2  m1  CV

สัญลักษณ์ : i = ทางเข้า
e = ทางออก
1 = สภาวะเริ่ มต้นของระบบ
2 = สภาวะสุ ดท้ายของระบบ
m  m
i e   mCV

mi  5 kg
 mCV  mi  me
mi  3 kg
 mCV  2 kg
กฎอนุรักษ์พลังงานสำหรับกระบวนการ USUF
 
    vi2    ve2  d ECV
Q  W   mi  hi   g zi    me  he  2  g ze  
 2    dt

2
 V 
เนื่องจากพลังงานรวมของระบบเท่ากับ ECV  m  u 
2
 g z  ดังนั้น
 CV

2 2
    vi   ve 
Q  W   m i  hi 
  g zi    me  he  2  g ze
 
 2   

 2
d  v 
  m  u   gz  
dt   2   CV
2 2
    vi    ve 
Q  W   m i  hi   g zi    m e  he   g ze 
 2   2 


d   v2 
  m  u   gz  
dt   2 

พิจารณาการเปลี่ยนแปลงพลังงานตลอดช่วงเวลา t  0 ถึง t  t
สำหรับกระบวนการ USFC โดยทำการอินทิเกรตตลอดช่วงเวลา
ถึงได้ผลการอินทิเกรตแต่ละเทอมเป็ นดังนี้
2 2
    v    ve 
Q  W   m i  hi  i  g zi    e  e 2  g ze
m  h  
 2   


d   v2 
  m  u   gz  
dt   2   CV

พจน์ที่ 1 : พลังงานความร้อนที่ระบบได้รับหรื อสู ญเสี ย (kJ)


t 

 Q dt  Q
0
CV
2 2
   v    ve 
Q  W   m i  hi  i  g zi    e  e 2  g ze
m  h  
 2   


d   v2 
  m  u   gz  
dt   2   CV

พจน์ที่ 2 : งานที่ระบบได้รับหรื อสูญเสี ย (kJ)


t 

 W dt  W
0
CV
2 2
    vi    v 
Q  W   m i  hi 
  g zi    m e  he  e  g ze 
 2   2 

 2
d  v 
  m  u   gz  
dt   2   CV

พจน์ที่ 3 : พลังงานสะสมรวมของมวลที่ไหลเข้าสู่ ระบบ (kJ)


 2 2
t   vi   vi 
   m i  hi 
  g zi   dt   mi  hi  2  g zi
 
0   2   
2 2
   vi    v 
Q  W   m i  hi 
  g zi    m e  he  e  g ze 
 2   2 

 2
d  v 
  m  u   gz  
dt   2   CV

พจน์ที่ 4 : พลังงานสะสมรวมของมวลที่ไหลออกจากระบบ (kJ)


 2 2
t   ve   ve 
   m e  he 
  g ze   dt   me  he  2  g ze
 
0   2   
 
    vi2    ve2 
Q  W   mi  hi   g zi    me  he  2  g ze 
 2   

 2
d  v 
  m  u   gz  
dt   2   CV

พจน์ที่ 5 : พลังงานสะสมของมวลภายในระบบที่เปลี่ยนแปลงไป
อันเนื่องมาจากมวลภายในระบบเปลี่ยนแปลง (kJ)
 2
t
d  v 

0
 m  u 
dt   2
 g z   CV dt


  2 2
v2   v1 
 m2  u 2   g z2   m1  u1   g z1  
  2   2 
ดังนั้น กฎการอนุรักษ์พลังงาน สำหรับระบบเปิ ด ของกระบวนการ
USUF คือ
2 2
 vi   ve 
Q  W   mi  hi   g zi    me  he   g ze 
 2   2 
  2 2
v2   v1 
  m2  u2   g z2   m1  u1   g z1  
  2   2 

จัดรู ปสมการใหม่ 2 2
 ve   vi 
Q  W   me  he   g ze    mi  hi   g zi 
 2   2 
  2 2
v2   v1 
  m2  u2   g z 2   m1  u1   g z1  
  2   2   CV
2 2
 ve   vi 
Q  W   me  he   g ze    mi  hi   g zi 
 2   2 
  2 2
v2   v1 
  m2  u2   g z 2   m1  u1   g z1  
  2   2   CV

เขียนในรู ปอย่างง่าย

Q W  E mass ,e   Emass ,i   E2  E1  CV
กฎอนุรักษ์พลังงานสำหรับกระบวนการ USUF

WCV
QCV  WCV Ee


Ei Emass ,e  Emass ,i   E2  E1  CV
QCV
Wb  10 kJ
Emass ,i  300 kJ

E1  500 kJ

Q   50 kJ
Emass ,e  100 kJ

Q W  E mass ,e   Emass ,i   E2  E1  CV

 50 kJ  10 kJ  100 kJ  300 kJ   E2  500 kJ 

E2  640 kJ
Ex. หม้อไอน้ำที่ผลิตไอน้ำที่ 1.4 MPa, 300 oC จากนั้นทำการส่ งไอน้ำ
เข้าไปในถังเพื่อใช้ในการอบผลไม้ ซึ่งเดิมทีเป็ นถังเปล่า ๆ ถ้าทำการ
ส่ งไอน้ำเข้าไปในถังจนกระทัง่ ความดันภายในถังอบผลไม้เป็ น 1.4
MPa จึงหยุดกระบวนการ หากกระบวนการที่เกิดขึ้นไม่มีการถ่ายเท
ความร้อน และถือว่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์และพลังงานศักย์
ต่ำมาก จงคำนวณหาอุณหภูมิของไอน้ำที่สภาวะสุ ดท้ายของถังอบผล
ไม้น้ ี

ไอน้ำ สภาวะที่ 1 สภาวะที่ 2


ถังเปล่า 1.4 MPa
สภาวะ 1 สภาวะ 2
ถังเปล่า 1.4 MPa

• พิจารณากฎการอนุรักษ์มวล  mi  me   mCV

m1  me  0

m  m
i e   m2  m1  CV

m2  mi

เนื่องจากไม่มีมวลใด ๆ ในสภาวะเริ่ มต้น ( 1 ) และมวลไหลออก ( e ) เป็ นศูนย์


• พิจารณากฎการอนุรักษ์พลังงาน
 
 ve2   vi2 
Q  W   me  he   g ze    mi  hi   g zi 
 2   2 
  2 2
v2   v1 
 m2  u2   g z 2   m1  u1   g z1  
  2   2 

• จากการพิจารณาพบว่า
Q  W  0, m1  me  0,  KE  0,  PE  0
• ดังนั้น สมการกฎการอนุรักษ์พลังงานสำหรับกระบวนการ USUF
จะลดรู ปเหลือ
mi hi  m2 u2

เนื่องจาก m2  mi ดังนั้น
hi  u 2

ที่สภาวะไหลเข้า ( i ), P = 1.4 MPa, T = 300 oC น้ำเป็ นไอร้อนยิง่ ยวด


hi  3040.35 kJ / kg  u2
ที่สภาวะที่ 2, P = 1.4 MPa, u2 = 3040.35 kJ/kg น้ำเป็ นไอร้อนยิง่ ยวด
มีอุณหภูมิเท่ากับ

T2  425.10 o C

Ans...
การบ้านส่ งวันจันทร์ที่ 31 ส.ค. 52
• 9, 11, 13, 15, 17, 18, 19, 20, 21, 22, 23, 24, 25, 26,27,28

You might also like