You are on page 1of 3

วิกฤติเศรษฐกิจของไทย

วิกฤติเศรษฐกิจ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ วิกฤติค่าเงิน วิกฤติธนาคาร


และวิกฤติหนี้ ระหว่างประเทศ

1. วิกฤติค่าเงิน (Currency crisis)


เป็ นวิกฤติการที่ประเทศถูกโจมตีค่าเงินจากนักเก็งกำาไรค่าเงินทำาให้ประเทศที่ใช้
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ต้องลดค่าเงินลง เป็ นเหตุให้ธนาคารกลางต้อง
พยายามตรึงค่าเงินและต้องเสียทุนสำารองระหว่างประเทศ และต้องใช้นโยบาย
ปรับอัตราดอกเบี้ยในประเทศให้อยู่ในระดับสูง เพื่อป้ องกันเงินทุนไหลออกและ
ป้ องกันการถูกโจมตีค่าเงิน เช่น วิกฤติท่ีเกิดในประเทศไทย ปี 2540
2. วิกฤติธนาคาร (Banking crisis)
เป็ นวิกฤติการที่ธนาคารพาณิชย์ประสบปั ญหาสภาพคล่องอย่างรุนแรง หรือไม่
สามารถดำาเนิ นการต่อไปได้ ทำาให้รัฐบาลต้องเข้ามาแทรกแซง ให้ความช่วยเหลือ
หรือเข้าไปยึดกิจการมาดำาเนิ นการเอง
3. วิกฤติหนี้ ระหว่างประเทศ(International debt crisis)
เป็ นวิกฤติการที่ประเทศไม่สามารถชำาระหนี้ คืนได้ ไม่ว่าจะเป็ นหนี้ ภาครัฐหรือ
เอกชน

สาเหตุของวิกฤตเศรษฐกิจ
1.เกิดจากปั จจัยทางเศรษฐศาสตร์ คือระบบกลไกเศรษฐกิจ และการดำาเนิ น
นโยบายเศรษฐกิจที่ผิดพลาด
2.เกิดจากปั จจัยที่ไม่ใช่เศรษฐศาสตร์

วิกฤติเศรษฐกิจทีเ่ กิดจากปั จจัยด้านเศรษฐศาสตร์


1.การหดตัวของการส่งออกและดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลในระดับสูง ซึ่ง
ในปี 2539 การส่งออกของประเทศขยายตัวไม่ถึง 1 % เมื่อเทียบกับปี 2537
และปี 2538 ซึ่งขยายตัว 23 %และ 21% ตามลำาดับ การส่งออกที่ไม่ขยายตัวใน
ปี 2539 ทำาให้มีผลกระทบต่ออุปสงค์มวลรวม ส่งผลทางด้านจิตวิทยา และความ
เชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติ ในเรื่องปั ญหาสภาพคล่องของทุนสำารองระหว่าง
ประเทศและค่าเงิน เพราะประเทศไทยขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมาตลอดตั้งแต่ปี
พ.ศ.2530 และมีขนาดของการขาดดุลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ทำาให้นำาไปส่ก ู าร
โจมตีค่าเงินและเกิดวิกฤติสถาบันการเงินในที่สุด
2.การลงทุนเกินควร ซึ่งเป็ นรากฐานของฟองสบู่ ซึ่งปั จจัยที่ทำาให้มีการลงทุน
มากเกินไปได้แก่ การเปิ ดเสรีทางการเงิน ทำาให้ธุรกิจและสถาบันการเงิน
สามารถกู้ยืมเงินจากต่างประเทศได้ ทำาให้มีการขยายการลงทุนมากเกินไป อีก
ประการหนึ่ ง เกิดจากการที่ราคาอสังหาริมทรัพย์ และตราสารทางการเงินต่างๆมี
ราคาสูงขึ้น ก่อให้เกิดอุปสงค์เพื่อเก็งกำาไร และทำาให้มีการลงทุนเพื่อผลิตสินค้า
ตอบสนองอุปสงค์เพื่อเก็งกำาไร
3.ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ตกต่่า ในช่วงปี 2530 – 2539 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
ไม่ว่าจะเป็ นที่อยู่อาศัย อาคาร สำานักงาน สนามกอล์ฟ สวนเกษตร เติบโตอย่าง
มาก ในปี 2540 เกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจ เป็ นผลมาจากการที่รัฐบาลอนุญาตให้มี
ธุรกรรมวิเทศธนกิจ(Bangkok international banking facilities : bibf)
ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยในตลาดโลกตำ่ากว่าในประเทศมาก จึงทำาให้ผู้ประกอบ
การหันไประดมทุนจากต่างประเทศพร้อมกับระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ โหม
การลงทุนในโครงการอสังหาริมทรัพย์ท่ัวประเทศ และจากการที่ราคา
อสังหาริมทรัพย์และที่ดินเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจึงก่อให้เกิดอุปสงค์เพื่อเก็งกำาไร และดึงดูด
ให้ผู้ประกอบการสมัครเล่นหันมาทำาธุรกิจประเภทนี้ อย่างกว้างขวาง ซึ่งกล่าวได้
ว่า ภาคอสังหาริมทรัพย์เป็ นภาคที่ก่อให้เกิดภาวะฟองสบู่
4.ด่าเนิ นนโยบายเศรษฐกิจมหภาคทีไ ่ ม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม
วิกฤติท่ีเกิดขึ้นในปี 2540 อีกสาเหตุหนึ่ ง คือ การผิดพลาดในการดำาเนิ นนโยบาย
เศรษฐกิจมหภาคในส่วนที่รับผิดชอบโดยธนาคารแห่งประเทศไทย คือ การใช้
ระบบอัตราการแลกเปลี่ยนคงที่และปล่อยให้เงินทุนเคลื่อนย้ายเสรี โดยขาดการ
กำากับดูแลที่มีประสิทธิภาพ ผลดีของระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ คือ ช่วยให้มีการ
ควบคุมเสถียรภาพด้านราคาแต่มีผลเสียต่อดุลบันชีเดินสะดัด กล่าวคือการ
กำาหนดแลกเปลี่ยนคงที่ ในขนะที่ระดับเงินเฟ้ อในประเทศปรับตัวสูงขึ้นเท่ากับว่า
รับบาลช่วยให้ราคาสินค้านำาเข้าได้เปรียบในการแข่งขันกับสินค้าในประเทศทำาให้
ประสิทธิภาพของนโยบายการเงินในการควบคุมปริมาณการเงินด้อยลง กล่าวคือ
ตั้งแต่ประเทศไทยเปิ ด bibf ในปี 2536 มีเงินทุนไหลเข้ามาในประเทศจำานวนมาก
ทำาให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้น ธนาคารแห่งประเทศไทยพยายาม
ดูดซับปริมาณเงินที่มากเกินไป โดยการขายพันธบัตร การดำาเนิ นนโยบายเช่นนี้
ทำาให้อัตราดอกเบี้ยภายในประเทศที่สูงอยู่แล้วไม่ลดลง ซึง ่ เป็ นปั จจัยให้มีการนำา
เงินทุนเข้ามามากยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดกระบวนการเศรษฐกิจฟองสบ่ใู นที่สุด

วิกฤติเศรษฐกิจทีเ่ กิดจากปั จจัยทีไ


่ ม่ใช่เศรษฐศาสตร์

1.พฤติกรรมของธนาคารพาณิ ชย์และบริษท ั เงินทุน


1.1 การจัดหาแหล่งเงินทุนและการบริหารสินเชื่อที่ไม่มีประสิทธิภาพ นับ
ตั้งแต่รัฐบาลอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์และบริษท ั เงินทุนทำาธุรกรรม bibf (วิเทศ
ธนกิจ) แต่แทนที่สถาบันการเงินจะระดมเงินทุนจากเงินฝากภายในประเทศ กลับ
นิ ยมกู้เงินจากต่างประเทศมาปล่อยกู้ในประเทศ เพราะอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของ
ต่างประเทศอยู่ในระดับตำ่าและตำ่ากว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก รวมทั้งไม่ต้องกังวล
เรื่องความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนพฤติกรรมของสถาบันการ
เงินดังกล่าวทำาให้สัดส่วนหนี้ ต่อทุนอยู่ในระดับสูง ทำาให้เกิดความเสี่ยงในการ
บริหารสภาพคล่อง และเกิดความเสี่ยงในเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน ประกอบกับ
สถาบันการเงินปล่อยสินเชื่อกระจุกตัวอยู่ในตลาดที่มีสภาพฟองสบู่ในระดับสูง คือ
ตลาดอสังหาริมทรัพย์และตลาดหุ้น ดังนั้น เมื่อเกิดวิกฤติในตลาดอสังหาริมทรัพย์
และตลาดหุ้น จึงมีผลกระทบต่อสภาพคล่องของสถาบันการเงิน รวมทั้งนำาไปสู่
การสะสมหนี้ ท่ีไม้ก่อให้เกิดรายไดของสถาบันการเงินในที่สุด
1.2 พฤติกรรมของผู้บริหารสถาบันการเงินที่มีการบริหารงานในลักษณะที่
คอร์รัปชั่นโดยการช่วยเหลือญาติพ่ีนอ ้ งหรือนักการเมืองด้วยการให้สน ิ เชื่อในกลุ่ม
ผู้บริหาร ญาติ ธุรกิจในเครือมากเกินไป หรือให้สินเชื่อในโครงการที่มีผลตอบแทน
ตำ่า การตกแต่งบัญชี หรือการสร้างลูกหนี้ ปลอม

2.พฤติกรรมการระดมทุนของธุรกิจ เกิดขึ้นเนื่ องจากมีความผิดพลาดในการ


ระดมทุน คือ มีการกู้มาก จากทั้งในและนอกประเทศ ทำาให้สัดส่วนหนี้ สินต่อทุนสูง
ทำาให้ธุรกิจมีความเสี่ยงสูงนอกจากนี้ ธุรกิจยังได้นำาเงินกู้มาลงทุนในโครงการที่ให้
ผลตอบแทนระยะยาว ธุรกิจบางธุรกิจ เช่นอสังหาริมทรัพย์กู้เงินจากต่างประเท
สมาลงทุนในโครงการที่ให้ผลตอบแทนเป็ นสกุลภายในประเทศโยไม่มีการรับ
ประกันความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เพราะเชื่อมั่นว่าธนาคาร
แห่งประเทศไทยจะยึดมั่นกับระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่สภาพการณ์ดังกล่าว
ทำาให้บริษทั อยู่ในสภาพความเสี่ยงสูงโดยเฉพาะเมื่อการส่งออกหดตัวความเชื่อมั่น
ของนักลงทุนและเจ้าหน้าที่ต่างประเทศลดลง จึงทำาให้ธุรกิจล้มละลายนำาไปสู่
สภาวะฟองสบู่แตกในที่สุด

3.ธนาคารแห่งประเทศไทยบกพร่องในการก่ากับและตรวจสอบสถาบัน
การเงิน การเปิ ดเสรีทางการเงิน โดยให้สถาบันการเงินสามารถกู้เงินจากต่าง
ประเทศได้โดยง่าย ดังนั้นธนาคารแห่งประเทศไทยต้องมีระบบการตรวจสอบ
สถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

You might also like