You are on page 1of 4

บทคัดย่ อ

ชื่อโครงการ การจัดการเรี ยนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : กรณี ศึกษามหาวิทยาลัย


เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ผู้วจิ ยั นางพิณนาภา แสงสาคร
นายประทีป พืชทองหลาง
ทุนอุดหนุนการวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่,
งบประมาณแผ่นดิน ปี 2553

การศึกษาการจัดการเรี ยนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : กรณี ศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช


มงคลล้านนา แบ่งออกเป็ น 2 ระยะ ในระยะที่ 1 นี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติ
และพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลล้านนา กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ทั้ง 6 เขตพื้นที่ ได้แก่
เชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง น่าน ตาก พิษณุโลก จานวนทั้งสิ้ น 975 คน โดยใช้วิธีการสุ่ มแบบแบ่งชั้น
เครื่ องมื อ ที่ ใ ช้ใ นการวิ จ ัย คื อ แบบสอบถามจ านวน 1 ฉบับ แบ่ ง ออกเป็ น 4 ส่ ว น ประกอบด้ว ย
แบบสอบถามลัก ษณะทางชี ว สังคมและภูมิหลัง ความรู้ ค วามเข้าใจเรื่ องปรัชญาเศรษฐกิ จ พอเพียง
ทัศนคติ ต่ อการประยุก ต์ใ ช้ป รั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพียง และพฤติ ก รรมการด าเนิ น ชี วิ ต ตามปรั ชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยวิธีการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย (t-test) การวิเคราะห์ความ
แปรปรวน (ANOVA) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการวิเคราะห์สัมประสิ ทธิ์
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สนั พบว่า
1) นักศึกษาส่ วนใหญ่ เป็ นเพศหญิง คิดเป็ นร้ อยละ 52.0 มีอายุ 19 ปี คิดเป็ นร้อยละ 26.5
มีรายได้เฉลี่ยต่ากว่า 3,000 บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 51.5 นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็ นร้อยละ 97.1
นักศึกษาส่วนใหญ่ศึกษาอยูใ่ นระดับปริ ญญาตรี คิดเป็ นร้อยละ 77.7 ศึกษาอยู่ในชั้นปี ที่ 1 มากที่สุด
คือคิดเป็ นร้อยละ 64.8 เป็ นนักศึกษาคณะบริ หารธุรกิจและศิลปศาสตร์ คิดเป็ นร้อยละ 43.5 โดยศึกษา
ในสาขาวิชาการจัดการ คิดเป็ นร้อยละ 8.4 และส่ วนใหญ่เป็ นนักศึกษาในเขตพื้นที่เชียงใหม่ คิดเป็ น
ร้อยละ 31.6
2) นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่ องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และทัศนคติต่อการประยุกต์ใช้
ปรั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพียงอยู่ในระดับมาก และมีพฤติ ก รรมการด าเนิ น ชี วิต ตามปรั ชญาเศรษฐกิ จ
พอเพียงอยูใ่ นระดับค่อนข้างมาก

[1]
3) นัก ศึ ก ษาหญิ ง มีค วามรู้ ค วามเข้า ใจเรื่ องปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพียงและทัศนคติ ต่ อ การ
ประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูงกว่านักศึกษาชาย แต่ไม่พบความแตกต่างในด้านพฤติกรรมการ
ดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4) นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี มีความรู้ความเข้าใจเรื่ องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทัศนคติต่อ
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูงกว่านักศึกษาระดับประกาศนี ยบัตรชั้นสูง (ปวส.) แต่ไม่
พบความแตกต่างในด้านพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5) นักศึกษาชั้นปี ที่ 1 มีทศั นคติต่อการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูงกว่านักศึกษาชั้น
ปี ที่ 4 ส่วนนักศึกษาที่มีช้นั ปี การศึกษาต่างกันอื่นๆ นั้น ไม่มีความแตกต่างกันในด้านความรู้ความเข้าใจ
เรื่ องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และด้านพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
6) นัก ศึก ษาคณะบริ หารธุ ร กิ จ และศิลปศาสตร์ มีค วามรู้ ความเข้าใจเรื่ องปรัชญาเศรษฐกิ จ
พอเพียงสูงกว่านักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ รวมถึงนักศึกษาคณะบริ หารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ยงั มี
ทัศนคติ ต่ อการประยุก ต์ใช้ปรั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพียง และพฤติ ก รรมการด าเนิ น ชี วิต ตามปรั ช ญา
เศรษฐกิจพอเพียงสูงกว่านักศึกษาคณะวิศวกรรม และคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์
7) นักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในเขตพื้นที่ ต่างกันมีความรู้ความเข้าใจเรื่ องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ทัศนคติ ต่ อการประยุก ต์ใช้ปรั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพียง และพฤติ ก รรมการด าเนิ น ชี วิต ตามปรั ชญา
เศรษฐกิจพอเพียงแตกต่างกัน
8) นักศึกษาที่มีรายได้ต่างกันมีความรู้ความเข้าใจเรื่ องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทัศนคติต่อ
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพฤติกรรมการดาเนิ นชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ไม่แตกต่างกัน
9) ความรู้ความเข้าใจเรื่ องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับทัศนคติต่อการ
ประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อีกทั้ง
ยังพบว่า ทัศนคติต่อการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการ
ดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

[2]
Abstract

Research Title The Philosophy of Sufficiency Economy Learning Management:


a case study of Rajamangala University of Technology Lanna.
Researchers Mrs. Pinnapa Saengsakorn
Mr. Prateep Puchtonglang
Grant/Financial Support Rajamangala University of Technology Lanna, Fiscal year 2010

The Philosophy of Sufficiency Economy Learning Management : a case study of


Rajamangala University of Technology Lanna has divided into 2 phases. This is the first one which
the objective is to study knowledge and understanding of the philosophy of sufficiency economy
(henceforth abbreviated KUPS), the attitudes towards the application of the philosophy of sufficiency
economy (AAPS), and the lifestyle behavior according to the philosophy of sufficiency economy
(LBPS) of students at Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL). The sampling groups
are the students at RMUTL, which composed of groups from Chiangmai, Chiangrai, Lampang, Nan,
Tak, and Pitsanulok which total amount is 975. This amount was collected by stratified random
sampling method. The research instrument is a questionnaire which involve 4 sections, i.e., bio-social
and background characteristics, KUPS, AAPS, and LBPS.
The data analysis was done by commuting independent samples t-test, one-way analysis of
variance (ANOVA), and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The results were as
follow :
1) The largest number of students were female (52 percent), 19 years old (26.5 percent),
received an income lower than 3,000 baht per month (51.5 percent), and were Buddhist by religion
(97.1 percent). Most of the students were in bachelor program (77.7 percent), first-year students (64.8
percent), studying Business Administration and Liberal Arts (43.5 percent), the Field of study was
Management (8.4 percent). The largest number of students were from Chiangmai (31.6 percent).
2) Students had a good KUPS and AAPS at high level, and LBPS at rather high level.
3) Female students had a higher KUPS and AAPS than male students. However, female
and male students were not different in LBPS.
4) Bachelor degree students had a higher KUPS and AAPS than high vocational degree
students. However, bachelor degree and high vocational degree students were not different in LBPS.

[3]
5) The first-year students had a higher AAPS than the fourth-year students. However,
other different class students were not different in KUPS and LBPS.
6) The students of Business Administration and Liberal Arts faculty had a higher KUPS
than the students of Engineering faculty. Moreover, the students of Business Administration and
Liberal Arts faculty had a higher AAPS and LBPS than the students of Engineering faculty, and Art
and Architecture faculty.
7) The different campus students were different in their KUPS, AAPS, and LBPS.
8) The students who have different income did not evince the difference in their KUPS,
AAPS, and LBPS.
9) KUPS correlated positively with AAPS and LBPS. Moreover, AAPS correlated
positively with LBPS.

[4]

You might also like