You are on page 1of 4

นักสื่อสารสุขภาพชาวบ้าน นาม “ทวีชัย อ่อนนวน”

หลังจากการพูดคุยที่ครบรสกับคุณทวีชัย ทำาให้ทราบว่า คุณทวีชัยนอกจากจะเป็ นอาสาสมัคร หรือเรียก

้ ๆ ว่า อสม.
กันสัน (ออ-สอ-มอ) ดีเด่นระดับชาติ ด้วยรางวัลการันตี อสม.ดีเด่น ที่ 1 ของภาคใต้

และที่ 2 ของประเทศไทยแล้ว ยังเป็ นนักสื่อสารสุขภาพพร้อมกับบทบาทนักพัฒนาชุมชนอาสา โดย

ทำาหน้ าทีค
่ นต้นแบบของการร่วมกันพัฒนาและสร้างเสริมสุขภาพชุมชน

เมื่อกล่าวถึงสิ่งดีงามของชุมชนในใจคุณทวีชัยมองว่า จุดเด่นชัดของกระบี่คือ วิถีแห่งความช่วยเหลือ


เกื้อกูล พร้อมด้วยจิตใจที่ห่วงใยอนุรักษ์ธรรมชาติท้องถิ่น ซึ่งแม้ว่าช่วงสิบปี ที่ผ่านมานี้ มีการพัฒนา
กระบี่ให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยว แต่ด้วยความเข้มแข็งของชุมชน ทำาให้สามารถธำารงรักษาวิถีเดิมตาม
วัฒนธรรมและชาติพันธ์ุของกลุ่มต่างๆ ที่อยู่ร่วมกันได้เป็ นอย่างดี

ลักษณะงานอาสาสมัครทีค
่ ุณทวีชัยทำาอย่างต่อเนื่องและสมำ่าเสมอคือ งานที่เล่นกับสื่อ อาทิ งานวิทยุ
งานหอกระจายข่าว งานเผยแพร่ทางเว็บไซท์ งานเวทีสัญจรตามชุมชนต่างๆ โดยเป็ นแกนนำ าเบื้อง
หน้ า เป็ นผู้จัดรายการบอกเล่าสื่อสารเรื่องราวต่างๆ ของชุมชน ทัง้ ความดีงามและอุปสรรคปั ญหา เพื่อ
กระตุ้นผู้ฟังในท้องถิ่นให้เกิดสำานึกที่ดีรวมถึงความร่วมมือในเชิงสร้างสรรค์ต่อชุมชน แม้ว่าคุณทวีชัยจะ
เป็ นชาวบ้านแต่ก็มองเห็นถึงสำาคัญของการใช้ส่ ือเพื่อการพัฒนา ให้เกิดความตระหนักรู้ เกิดทัศนคติ
เชิงพัฒนา เพื่อนำ าสู่การลงมือปฏิบัติ คุณทวีชัยกล่าวไว้อย่างชัดเจนในประเด็นดังกล่าวนี้ว่า

“...ในฐานะชาวบ้านแล้วพยายามจะใช้ช่องทางสื่อจากทุกแขนงที่จะอำานวย เพื่อให้พี่น้อง
ชาวบ้านได้เห็นคุณค่าของตัวเองและทำางานอาสาช่วยสังคม เราพยายามสื่อว่า การสื่อสาร
สังคมไม่ใช่หน้ าที่ขององค์กรหรือหน่วยงานไหนโดยเฉพาะ และให้พี่น้องประชาชนตื่น

ตัว...”
การทำางานของคุณทวีไม่ได้บุกเดี่ยว แต่เป็ นการทำางานที่มีฐานคิดเป็ น “เรา” โดยมีคำา

ว่า “ร่วม” เป็ นตัวตัง้ ซึ่งทำาให้ก่อเกิดการ “รวม” ประสานระหว่างตัวคุณทวีชัย องค์กรภาคี และชุมชน


อย่างลงตัว สำาหรับการร่วมกับภาคีต่างๆ นัน
้ คุณทวีสร้างความชัดเจนในการทำางานโดยเลือกยึดถือ
ยุทธศาสตร์การทำางานจากภาคีเช่นสภาการพัฒนาองค์กรชุมชนจัดการจังหวัดกระบี่ ทำาให้การทำางาน
อาสาของคุณทวีมีทิศทางและเป้าหมายที่ชัดและครอบคลุมในทุกด้าน ซึ่งได้แก่ ประเด็นหลักที่สอด

ประสานกันทัง้ สิ้น 9 ประการด้วยกัน ได้แก่

1) สร้างเสริมให้กองทุนชุมชนเข้มแข็ง ด้วยการริเริ่มและประสานงานต่อเนื่องจนสามารถตัง้ กองทุน

สวัสดิการของชุมชน โดยชุมชน และเพื่อชุมชนขึ้นได้

2) พัฒนาระบบการเงินชุมชน ธนาคารชุมชน ด้วยการสนับสนุนให้พี่น้องในชุมชนร่วมกันบริหารจัดการ

ได้

3) ริเริ่มจิตอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดำาเนินกิจกรรมจิตอนุรักษ์ชุมชนอย่างสมำ่าเสมอ ทัง้ การดูแลป่ าชายเลน

และการจัดการขยะ

4) ทำาการเมืองยิ้มได้ ภายใต้ช่ ือโครงการ “ทำาการเมืองยิม


้ ได้” ร่วมสร้างความเข้าใจกับชุมชนว่าควร

์ ายเสียง เพื่อ
จะทำาอย่างไรให้การเมืองท้องถิ่นดี และชาวบ้านยิ้มได้ อาทิร่วมกันเฝ้ าระวังการซื้อสิทธิข
สร้างรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจ อันมิใช่เพียงแค่แห่แหนกันกาและหย่อนบัตรอย่างเดียว

5) ร่วมทำาสื่อในชุมชน ทำารายการเสียงตามสาย และเว็ปไซท์ โดยมีเนื้อหาในการพัฒนาและสร้าง

เสริมสุขภาพชุมชนภาคใต้ โดยเน้ นสุขภาวะ 4 มิติ ได้แก่ กาย จิต สังคม และปั ญญา เริ่มจากสร้าง

กระบวนการในการเฝ้ าระวังโรค การเฝ้ าระวัง การรักษาพยาบาล สร้างระบบการเฝ้ าระวังในภาค


ประชาชน ส่งเสริมให้ชาวบ้านได้ร่วมกันปลูกผักรับประทานกันเอง รอบบ้านรอบเรือน โดยจับมือกับ
ศูนย์การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมงานแบบภาคีเครือข่าย การกินแจกจ่าย แบ่งปั นกัน ใช้ทฤษฏีปลา
ตัวเดียวกินได้ทัง้ ปี “ถ้าทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ มันก็เป็ นสวัสดิการให้กับประชาชนต่อไปนั ่นเอง”

6) จัดเวทีชาวบ้านร่วมกัน มีกลุ่มงานอาสาจัดเวทีให้ชุมชนได้มาพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน เป็ น

ู คุยมีสาระเข้มเข้น มีกระบวนการทำางานของ อสม.ที่เน้ นว่า “เมื่อมี


ลักษณะสภากาแฟแต่เนื้อหาที่พด

คนพูด ต้องมีคนฟั ง แล้วก็มีคนเอาไปทำาต่อ และมีคนนำ าเสนอต่อ บอกต่อจึงจะถือว่าสร้างระบบเฝ้ าระวัง

ได้จริง” เป็ นกระบวนการที่ อสม.เรียกขานกันว่า หยอด คือ หยอดให้พูด จุดประกายให้คิด และที่คด


ที่พูดนัน
้ เราก็นำากลับมาคิดว่า เราน่าจะมีประเด็นสำาคัญ ๆ อะไรบ้าง มีใครเป็ นคนที่เกี่ยวข้องบ้าง หรือ
เรียกลักษณะ หยอด ที่ว่านี้ได้ว่าเป็ นการกระตุ้นให้คนรอบๆ ข้าง ได้พูด ได้คิดได้ทำา ให้เต็มที่ จนถึงมี
การปฏิบัติร่วมกัน เป็ นการทำากิจกรรมร่วมกันในระดับชุมชน”

7) จัดทำาปฏิทินกิจกรรมชุมชน โดยเริ่มจากทำาปฏิทินกิจกรรมร่วมกัน แต่ละอาทิตย์ทำากิจกรรมอะไร


ให้คนในพื้นที่วางแผนกัน การจัดประชุมให้มีการเขียนแผนที่ความคิด มีการวิเคราะห์ปัญหา จุดประกาย
ตัง้ คำาถามให้ได้คิด พอได้คด
ิ แล้วก็จะรู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่า และก็จะพยายามชวนเพื่อนต่อ มีการ
วางแผนกำาหนดวิสัยทัศน์ด้วย การให้ความสำาคัญกับประเด็นเครือข่าย ไม่ยกให้ใครเป็ นประธาน
ประเด็นอย่างตายตัว แต่ยกให้เป็ นประเด็นๆ ไป

8) มีนวัตกรรมส่งเสริมจิตสาธารณะของประชาชน ภาคชาวบ้านในตัวเมืองจังหวัดกระบี่ x ปั จจุบัน


ทำางานร่วมกับกองพัฒนาสังคมและความมัน
่ คงของจังหวัดกระบี่ ภายใต้ช่ ือโครงการ ตลาดนัดนักบุญ
มีการกรรมการของโครงการทำางานร่วมกับภาคส่วนต่างๆ มีเป้าหมายของตลาดนัด ด้านหนึ่งคือ
ต้องการให้ผู้ทม
ี่ ีเป้าหมายช่วยเหลือผู้อ่ ืน ได้มีช่องทางการเข้าถึงข้อมูลช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในสภาวะ
ความยากลำาบาก อีกด้านหนึ่งคือการค้นหาว่ามีองค์กร ห้างร้านไหน ทีพ
่ อมีศักยภาพในการช่วยเหลือ
สนับสนุนได้บ้าง ซึ่งอาจเป็ นการบริจาค การสร้างอาชีพ การเสริมรายได้ การเกื้อกูลที่อยู่อาศัย ด้านใด
ด้านหนึ่ง โดยมีการออกบูธรับเรื่องราวความเดือดร้อน โดยแบ่งออกเป็ นประเด็น อาทิ บูธไม่ได้รับ
ความเป็ นธรรม บูธการให้คำาแนะนำ าในเรื่องกฎหมาย เป็ นต้น เมื่อจบงานประชาชนก็จะรู้ได้ทราบว่า
หากมีความลำาบากในเรื่องใดจะเข้าไปหาองค์กรหรือหน่วยงานใดได้บ้าง ผ้ท
ู ำางานประจำาบูธคือ ผู้ที่อาสา
เข้ามาเปิ ดตัวในการให้ความช่วยเหลือ ซึ่งลักษณะการทำางานในบูธจะเป็ นแบบพหุภาคี ได้แก่ หน่วยงาน

ราชการ องค์กรชุมชน และเครือข่ายภาคประชาชน ประสานเป็ นอย่างน้ อย 3 ภาคี


9) ทำาด้วยจิตอาสาเชิงรุก จุดเน้ นด้านการป้องกันยาเสพติด ด้วยกระบี่เป็ นจังหวัดท่องเที่ยว นักท่อง

เที่ยวเข้ามามาก ปั ญหาเรื่องยาเสพติด ปั ญหาด้านความมัน


่ คงทางชีวิตและทรัพย์สิน จึงต้องสร้างกลไก
ที่เกิดขึ้นจาก ได้มีการจัดตัง้ ศูนย์คณะทำางานศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้ยาเสพติดชุมชน ซึ่งมีทีมอาสาสมัครจาก
ชุมชนเข้ามาทำางาน

จากยุทธศาสตร์การทำางานที่ครอบคลุมในทุกๆ ด้านที่คุณทวีชัยได้บอกเล่ามาตามที่กล่าวนี้ ประกอบกับ

การทำางานบนฐานคิด “เรา-ร่วม-รวม” และ ยุทธวิธีเฉพาะกลุ่ม (อสม.) “หยอด” จึงไม่น่าแปลกใจ


ว่าเหตุใด? สิ่งสำาคัญที่สัมผัสได้จากการพูดคุยกับคุณทวีชัยคือ? คุณทวีชัยเป็ นภาพสะท้อน?

ย่อหน้ าท้ายนี้เป็ นการสรุปที่สัน


้ สุด แต่ในตอนท้ายที่จูไฮไลท์นี้จะเป็ นการสังเคราะห์ซ่ ึงอาหมอต้องเพิ่มเติมจากที่
ลงพื้นที่ค่ะ

You might also like