You are on page 1of 11

รายวิชาสังคมศึกษา รหัส ใบความรููที ่ 8.

5 แผนการจัดการ
ส 42102 ภูมิศาสตร์ เรียนรููที ่ 8
เทคโนโลยีกับการสำารวจสิง่ เรือ
่ ง GPS ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที ่
แวดลูอมทางภูมิศาสตร์ 5
GPS (Global Positioning Systems
ระบบสำำรวจหำตำำแหน่งพื้ นโลกด้วยดำวเทียม (GPS)
คือ ระบบการค้นหาตำาแหน่งและนำาทางด้วยดาวเทียม
ซึ่งประกอบด้วยดาวเทียมจำานวน 24 ดวง ที่โคจรรอบ
โลกวันละ 2 รอบ ทำาให้เครื่องรับสัญญาณมองเห็นดาวเทียมไม่น้อยกว่า 4 ดวง
บนท้องฟ้ า ไม่ว่าจะอย่่ท่ีใดบนพื้ นผิวโลก เป็ นผลทำาให้สามารถนำาข้อม่ลการรับ
สัญญาณ GPS ไปคำานวณหาตำาแหน่งได้ตลอดเวลา 24 ชัว่ โมงในทุกสภาพ
อากาศและทุกหนทุกแห่งบนพื้ นผิวโลกหรือที่ระดับเหนื อขึ้นไปโดยอัตโนมัติใน
ระดับความถ่กต้อง เป็ นเซนติเมตรถึง 20 เมตรขึ้นอย่่กับคุณภาพของเครื่องรับ
สัญญาณและวิธีการวัด
ประโยชน์ของระบบสำำรวจหำตำำแหน่งพื้นโลกด้วยดำวเทียม
- การนำาร่องจากทีห
่ นึง่ ไปทีอ
่ ืน
่ ๆตามตูองการ
- การติดตามการเคลือ
่ นทีข
่ องคนและสิง่ ของต่างๆ

แสดงการนำาร่องของยานพาหนะต่างๆจากทีห
่ นึง่ ไปทีอ
่ ืน
่ ๆตาม
ตูองการ เช่น เครือ
่ งบิน เรือ รถยนต์ และจักรยานยนต์ เป็ นตูน
แสดงการนำาร่องดูวยเครือ
่ ง แสดงเครือ
่ ง GPS ติดกับโทรศัพท์
GPS ในรถยนต์ มือถือสามารถบอกตำาแหน่งไดู

แสดงเครือ
่ ง PDA ใชูร่วมกับ แสดงเครือ
่ ง GPS ติดตัง้ ร่วมกับ
GPS สำาหรับเดินนำาร่องในเมือง กลูองถ่ายรูปติจิตอล

 การสำารวจรังวัดและการทำาแผนที ่

แสดงการทำาแผนทีไ่ ปรษณียโ์ ทรเลข โรงไฟฟูา โรงพยาบาล สถานี


อนามัย ของจังหวัดนครราชสีมา
แสดงการปรับปรุงเสูนทางคมนาคมของแผนทีภ
่ ูมิประเทศของจังหวัด
นครราชสีมาใหูทันสมัย

แสดงการประยุกต์ใชู Software GPS ในการทำาแผนทีแ


่ ละแปล
ภาพถ่ายทางอากาศ
 ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ชู GPS ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม เ ค รื่ อ ง จั ก ร ก ล เ ช่ น
เครื่อ งจั ก รกลในการทำา เกษตรกรรม เครื่อ งจั ก รกลที ใ่ ชู ใ นการ
ขนส่งบริเวณท่าเรือ

แสดงการประยุกต์ใชูระบบ GPS ในดูานเกษตรกรรม

 การประยุ ก ต์ ใ ชู GPS ในดู า นการขนส่ ง ทางนำ้ า และทางทะเล


(Maritime)

แสดงการประยุกต์ใชูระบบ GPS กับงานทางทะเล

 ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ชู GPS กั บ ร ะ บ บ ก า ร จ ร า จ ร แ ล ะ ก า ร ข น ส่ ง
(Intelligent Transport Systems: ITS) ในการแกูปัญหาจราจร การ

ปรั บ ปรุ ง ความปลอดภั ย การเพิ ม


่ ประสิ ท ธิ ภ าพระบบคมนาคม
ขนส่ง และการใชูระบบการประกันรถยนต์ (L-Commerce)
แสดงการประยุกต์ใชูระบบ GPS กับระบบคมนาคมขนส่งดูานต่าง ๆ
- การประยุกต์ใชู GPS กับการตรวจวัดการเคลือ
่ นตัวของโครงสรูาง
ทางวิศวกรรมหรือเปลือกโลก
- การใชูอูางอิงการวัดเวลาทีเ่ ทีย
่ งตรงทีส
่ ุดในโลก
- การประยุกต์ใชู GPS ในการออกแบบเครือข่าย คำานวณ
ตำาแหน่งทีต
่ ัง้ ดูานโทรคมนาคมและดูานพลังงาน เช่น ระบบไฟฟูา
ระบบนำา
้ มัน
- การประยุกต์ใชู GPS ดูานสิง่ แวดลูอม เช่น การติดตามตรวจสอบ
ดูานสิง่ แวดลูอม ความปลอดภัยดูานสิง่ แวดลูอม
- การประยุกต์ใชู GPS ในดูานอืน
่ ๆ เช่น การเงินการธนาคาร
วิธีกำรหำพิกัดตำำแหน่งโดยใช้ระบบ GPS
เครือ
่ งรับแบบนำาหน
เครือ
่ งรับแบบนำาหน (Navigation Receiver) รับสัญญาณทีเ่ ป็ น
คลืน
่ วิทยุจากดาวเทียม ในขณะเดียวกันก็สรูางรหัส C/A
(Coarse/Acquisition) ขึน
้ มาเปรียบเทียบกับรหัสทีถ
่ อดไดูจากสัญญาณ
เมือ
่ เปรียบเทียบไดูรหัสทีต
่ รงกัน จะทำาใหูรูเวลาทีค
่ ลืน
่ วิทยุใชูในการ
เดินทางจากดาวเทียมมายังเครือ
่ งรับ ในการหาตำาแหน่ง (แบบสาม
มิติ) ตูองวัดระยะทางไปยังดาวเทียมพรูอมกัน 4 ดวง หากจำานวน
ดาวเทียมนูอยกว่า 3 ดวง ค่าตำาแหน่งทีไ่ ดูจะไม่มีความน่าเชือ
่ ถือ และ
ในกรณีทีม
่ ีดาวเทียมอยู่ในทูองฟูามากกว่า 4 ดวง เครือ
่ งรับจะเลือก
ดาวเทียม 4 ดวง ทีม
่ ีรูปลักษณ์เชิงเรขาคณิตทีด
่ ีทีส
่ ุด หรือมีค่า PDOP
ตำ่าทีส
่ ุดมาใชูในการคำานวณตำาแหน่งของเครือ
่ งรับ

แสดงชนิดของเครือ
่ งรับ GPS แบบนำาหน

เ ค รื่ อ ง รั บ แ บ บ รั ง วั ด
การทำา งานของเครื่องรับแบบรังวัดมีหลักการสำา คัญ 3 ประการ คือ
ประการแรก การใชู ค ลื่ น ส่ ง วั ด ระยะแทนการใชู ร หั ส C/A วั ด ระยะ
ทำา ใหู ก ารวั ด ระยะมี ค วามถู ก ตู อ งมากขึ้น เป็ นพั น เท่ า ประการที ส
่ อง
คื อ การใชู วิ ธี ก ารวั ด แบบสั ม พั ท ธ์ เ ป็ นวิ ธี ก ารขจั ด ความคลาดเคลื่อ น
แบบมีระบบ (Systematic Errors) ทีอ
่ ยู่ในขูอมูลหรือทีเ่ กิดขึน
้ ในการวัด
ระยะทางใหู ห มดไปหรื อ ลดนู อ ยลงไดู ดู ว ยเหตุ นี ค
้ วามคลาดเคลื่อ น
ทางตำาแหน่งจึงลดลง ประการทีส
่ าม การวัดระยะดูวยคลื่นส่ง เครื่อง
รั บ สั ญ ญาณวั ด ระยะระหว่ า งเครื่อ งรั บ กั บ ดาวเที ย มไดู เ พี ย งบางส่ ว น
เท่านัน
้ จำาเป็ นตูองอาศัยการประมวลผลช่วยหาระยะทีข
่ าดหายไป
แสดงชนิดของเครือ
่ งรับ GPS แบบรังวัด
วิธก
ี ารทำางานคือ นำาเครือ
่ งรับแบบรังวัดไปวางทีห
่ มุดทีต
่ ูองการหา
ตำาแหน่งเปรียบเทียบกันเป็ นเวลาตัง้ แต่ 30 นาทีขึน
้ ไป จากนัน
้ นำา
ขูอมูลทีไ่ ดูจากการรับสัญญาณมาประมวลผลไดูเป็ น เสูนฐาน และนำา
ขูอมูลดังกล่าว มาประมวลผลร่วมกับขูอมูลทีไ่ ดูจากการรังวัดตำาแหน่
งอืน
่ ๆ ทีต
่ ูองการทราบค่าเพือ
่ หาค่าพิกัดทีถ
่ ูกตูองของตำาแหน่งนัน

การทำางานรังวัด
ขั้นตอนทำำงำนด้วยระบบดำวเทียม GPS
มีขัน
้ ตอนการดำาเนินงานดังนี ้

 การออกแบบระบบเครื อ ข่ า ย การกำา หนดจุ ด ที จ


่ ะติ ด ตั ้ง เครื่ อ ง
GPS (Design the Network)

 การวางแผนการทำา งาน (Planning) การเตรียมขูอมูลทุกอย่างใหู


พรู อ ม เช่ น จำา นวน GPS ที ่จ ะใชู ระยะเวลาที ่ใ ชู วั ด ขู อ มู ล
แนวทางการโคจรของดาวเทียม (Sky Plot)

 การสำา รวจขั ้ น ตู น (Reconnaissance) เป็ นการตรวจสอบความ


พรู อ มของขู อ มู ล เช่ น แผนที ่ ขู อ มู ล ดาวเที ย ม บริ เ วณที จ
่ ะตั ้ง
เครือ
่ ง GPS มีสิง่ กีดขวางทีจ
่ ะก่อใหูเกิดคลืน
่ สะทูอนหรือไม
 การทำา งานภาคสนาม (Field Procedure) ดำา เนินการรับสัญญาณ
GPS โดยจดรายละเอียด ขูอมูลต่าง ๆ ใน

Field Sheet วัดความสูงของเสาอากาศ (ใน

ก ร ณี ก า ร สำา ร ว จ รั ง วั ด ) เ ปิ ด เ ค รื่ อ ง รั บ
สั ญ ญาณและควรตรวจสอบระบบการรั บ
สัญญาณขูอมูลอย่างสมำ่าเสมอเพื่อเตรียม
แ กู ไ ข ปั ญ ห า ก ร ณี เ ค รื่ อ ง รั บ สั ญ ญ า ณ
ขัดขูอง

ขัน
้ ตอนกำรติดตัง
้ และใช้งำนข้อมูล GPS
การติดตัง้ ค่า GPS และการปฏิบัติงาน

 การตัง้ ค่าเวลา GPS ทำา งานบนเวลาของ UTC

(Universal Coordinated Time) หรื อ เวลาที ่เ มื อ ง

กรีนิช (GMT) เมื่อเราอยู่ในประเทศอื่นทีไ่ ม่ใช่กรี


นิช จะตูองมีการกำาหนดเวลาทูองถิน
่ เช่น เราอยู่ในประเทศไทย
ก็จ ะตู อ งกำา หนดเวลาทู อ งถิ น
่ ซึ่ง เป็ น +07.00 Ahead of UTC ที ต
่ ัว
เครือ
่ ง GPS

 การตัง้ ค่าตำาแหน่งพิกัดของค่าคงที ่ (Map Datum) Datum คือพืน



ผิวอูางอิงซึง่ เกิดจากการคำานวณทางคณิตศาสตร์ ซึง่ มีรูปร่างใกลู
เคียงกับโลกมาก ความถูกตูองของตำาแหน่งพิกัดของค่าคงทีท
่ ี่
เรียกว่า Map Datum ซึง่ ค่าเหล่านี ้ มีความแตกต่างกัน สำาหรับ
พืน
้ ที ่ ในแต่ละพืน
้ ที ่ Map Datum ทีใ่ ชูในประเทศไทยคือ Indian
1975 หรือ WGS-84 (ทีเ่ ป็ น Map Datum ใหม่ทก
ี ่ รมแผนทีท
่ หาร
เริม
่ นำามาใชูในปั จจุบัน)

 การบันทึกตำาแหน่ง
- บันทึก, แกูไข และแสดงตำาแหน่งทีส
่ ำาคัญๆ ไดู (Waypoint)
- สามารถระบุสัญลักษณ์ว่าตำาแหน่งทีบ
่ ันทึกไวูนัน
้ เป็ นศูนย์
อาหาร, ปั ๊ มนำา
้ มัน, ทีจ
่ อดรถ, แคมป์ , บริเวณอันตรายตูองระวัง
และอืน
่ ๆ
- แสดงและบันทึกเสูนทางการเดินทางทีผ
่ ่านมาของเรา (Track
Log) - สามารถกำาหนดว่าใหูบันทึกทุกๆ กีว
่ ินาที หรือนาที หรือ
ชัว
่ โมงก็ไดู
- วางแผนการเดินทางโดยใชู Route (Route เป็ นกำาหนดจุดการ

เดินทาง เช่นจะผ่านจุด A แลูวไป B แลูวไป C และจบทีจ


่ ุด D
โดยเครือ
่ งจะลากเป็ นเสูนตรง A-> B-> C-> D-> และจะบอกระยะ
ห่างระหว่างแต่ละจุดดูวย)

กำรใช้งำนกับเครือ
่ งมือ GPS
ปกติ GPS เพียงเครือ
่ งเดียว พรูอมแบตเตอรีอ
่ ัลคาไลน์ ก็เพียงพอ
สำาหรับการใชูงานเบือ
้ งตูนไดูแลูว แต่สำาหรับผููทีต
่ ูองการใชูงานทีซ
่ ับ
ซูอนมากยิง่ ขึน
้ และสามารถโหลดขูอมูลเพือ
่ ขึน
้ ไปเก็บไวูบน PC ไดู ก็
ควรจะมีอุปกรณ์เสริมเพิม
่ เติมเขูามาดูวย ดังนี ้
- เปิ ดใชูในรถยนต์ขณะเดินทาง ควรมีเสาอากาศภายนอก สายต่อที ่
จุดบุหรี ่ และแท่นติดตัง้ ในรถยนต์
- ใชูต่อกับเครือ
่ ง Notebook ในรถยนต์ ควรมีสารต่อเขูา PC และที ่
จุดบุหรีใ่ นตัวเดียวกัน
- ใชูในขณะขับขีจ
่ ักรยาน ควรมีแท่นติดตัง้ บนมือจับจักรยาน
- โหลดขูอมูล/แผนทีข
่ ึน
้ -ลง PC ควรมีสายต่อเขูา PC และซอฟต์แวร์
แผนทีท
่ ัว
่ โลก โดยนำาค่า X,Y,Z ทีไ่ ดูนำาเขูาสู่โปรแกรม GIS เช่น
ARCVIEW เป็ นตูน
- ในกรณีทีไ่ ม่มีสายโหลดหรือตูองการบันทึกรายละเอียดเฉพาะ
ตำาแหน่งสำาคัญทีต
่ ูองการ (Waypoint) สามารถจัดเตรียมตารางบันทึก
ตำาแหน่ง พรูอมรายละเอียดของขูอมูลภาคสนามไดูเช่นกัน ดัง
ตัวอย่างตาราง
UTM_E UTM_N Description Note Hot_link
(สำาหรับบันทึก (สำาหรับบันทึกตำาแหน่งของ
ค่าพิกัด (สำาหรับ
ค่าพิกัด
รายละเอียด พืน
้ ทีท
่ ีส
่ ัมพันธ์กับรูปถ่ายภาค
แนว บันทึกขูอ
แนว
Northin สำาคัญของ สนาม เพือ
่ ทำาการแสดงใน
Easting มูลอืน
่ ๆ)
g
พืน
้ ที ่) โปรแกรม ARCVIEW)

แสดงตัวอย่างการนำาเขูาขูอมูล GPS สู่โปรแกรม ARCVIEW (ก)


แสดงตัวอย่างสรูางตำาแหน่งในโปรแกรม ARCVIEW (ข)

แสดงตัวอย่างผลลัพธ์ในโปรแกรม ARCVIEW พรูอมกับการเชือ


่ มโยง
(Hot link) ภาพจากภาคสนาม (ค)

You might also like