You are on page 1of 2

Multinational Financial Management

Multination Financial Management คือ ความร่วมมือกันในการผลิตสินค้า โดยจะมีการผลิตมากกว่าใน 1 ประเทศ


ข้อดี คือ มีการกระจายความเสี่ยง
ข้อเสีย คือ การตัดสินใจต้องให้ Headquarters เป็นผู้ตัดสินใจ

สาเหตุที่ต้องขยายกิจการไปยังประเทศอื่น
• หาตลาดใหม่ เนื่องจากตลาดเดิมอิ่มตัว หรือเป็นการทดลองตลาด
• หาวัตถุดิบใหม่
• หา technology ใหม่
• To seek production efficiency
• หลีกเลี่ยงการเมืองและกฎ ซึง่ บางสิ่งทำาได้ในประเทศนี้แต่ไม่สามารถทำาในประเทศอื่นได้
• เพื่อความหลากหลาย (diversify)
ความแตกต่างระหว่าง Multinational financial management และ domestic financial
management
• สกุลเงิน เนื่องจากสกุลเงินไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ
• Economic and legal ramifications ตัวอย่างของ Legal ramifications เช่น ในบังคลาเทศ เด็กอายุ 8-10 ขวบ
ทำางานไม่ผิดกฎหมาย แต่ในอเมริกาถือว่าผิดกฎหมาย เป็นต้น สำาหรับทางด้าน Economic นั้นบางประเทศ
เป็นประเทศที่เปิด แต่บางประเทศเป็นประเทศปิด ตัวอย่างของประเทศที่เปิดสำาหรับ Economic เช่น
สิงคโปร์, ฮ่องกง
• ความแตกต่างทางด้านภาษา
• วัฒนธรรมของแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน
• บทบาทของรัฐบาล ซึ่งเป็นสิ่งที่สำาคัญ
• ความเสี่ยงทางการเมือง นโยบายทางการเมืองทำาให้เกิดความเสี่ยงทางการเมือง
Consider the exchange rates
Direct quotations คือ Quotations โดยตรง วิธีคิดจะนำาเงินของเจ้าบ้านขึ้นก่อน เช่น บาท/Yen หรือ บาท/$
Indirect quotations คือ Quotations โดยอ้อม วิธีคิดจะนำาเงินของสกุลเงินที่จะนำามาเปรียบเทียบขึ้นก่อน เช่น Yen/บาท
หรือ $/บาท เป็นต้น โดยส่วนใหญ่แล้วประเทศไทยจะใช้แบบ Indirect quotations
Cross rate คือ ตารางเปรียบเทียบอัตราแลกเปลี่ยนของสกุลเงินเป็นแบบ Matrix จะใช้สำาหรับนักท่องเที่ยวซะส่วนใหญ่
Forward เป็นการตกลงกนไว้และไม่สามารถยกเลิกได้ (เป็นทางการ)
Future เป็นการตกลงกันไว้ และสามารถยกเลิกได้ (ไม่เป็นทางการ) แต่อาจจะเสียค่า Premium ในการยกเลิกสัญญา
European Monetary Union (EMU)
สาเหตุที่มี EMU เพราะ
• ง่ายในการไปประเทศในกลุ่ม ไม่ต้องแลกเงินเป็น Bargaining Power
• Sweden ไม่เข้า EMU เพราะไม่เข้าก็สามารถอยู่ได้
• Denmark ไม่เข้า เพราะสงครามโลกครั้งที่ 2 ไล่พวกนาซี
• Britain ไม่เข้าเพราะไม่อยากใช้สกุลเงินร่วมกับคนอื่น แต่ที่สำาคัญคือมี debt nominee มาก ถ้าเข้าร่วมจะต้อง
ดึง ceiling ลงมา ซึ่งจะทำาให้ debt สูงขึ้น
ข้อเสียของการรวมเป็น EMU คือ ทุกอย่างต้องเหมือนกัน รวมถึงกฎต่างๆ ด้วย ทุกอย่างต้องเสมอภาค
PS. กฎของ EMU ข้อหนึ่งคือไม่สามารถ Lock VISA จากกลุ่มพวกนี้ได้ มีการโยกย้ายแรงงานได้อย่างเสรี

Convertible Currency คือ สกุลเงินที่สามารถแปลงค่าได้ ถ้าไม่สามารถแปลงค่าได้ จะต้องทำา barter


Barter คือ การแลกของโดยไม่ต้องใช้เงิน โดยใช้ของไปแลกของ
Spot rates คือ เป็นอัตราที่ซื้อได้ทันที
Forward rates คือ อัตราที่ตกลงกันไว้ก่อน เช่น ตกลงกันไว้ว่าจะซื้อในอัตรา 300,000 แต่ต่อมาเป็น 350,000 เราก็ยัง
ซื้อได้ในราคา 300,000 ตามที่ตกลงไว้
Forward Discount เงินในอนาคตมีค่าน้อยกว่าปัจจุบัน
Forward Premium เงินในอนาคตมีค่ามากกว่าปัจจุบัน
Purchasing power parity (PPP) คือ อำานาจการซื้อขายแบบเสมอภาค ทฤษฎีนี้บอกว่าราคาของสินค้าชิ้นเดียวกันทั่ว
โลกต้องราคาเท่ากัน แต่ประเทศไทนที่มีอัตราเงินเฟ้อ (Inflation) ราคาของสินค้าชิ้นนั้นก็แพงกว่า เพราะค่าเงินลดลง
• ประเทศที่มี Inflation น้อย อัตราดอกเบี้ยก็น้อย
• ประเทศที่มี Inflation สูง ก็เพิ่มอัตราดอกเบี้ย เพื่อกระตุ้นการใช้เงิน
• ประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อตำ่า ค่าของเงินจะสูง ทำาให้ใช้เงินน้อยในการซื้อของชิ้นเดียวกับประเทศที่มีอัตรา
เงินเฟ้อสูง

Impact of multinational operations


• ประเทศที่มีการใช้ credit มากๆ เป็นประเทศที่สมบูรณ์
o ประเทศที่มีตลาดหลักทรัพย์ที่ไม่สมบูรณ์ต้องไปพึ่งฝั่ง Debt มากขึ้น (กู้เงินมากกว่าการค้า)
o ประเทศที่มีตลาดหลักทรัพย์ จะใช้ Equity มากกว่า Bond
• การส่ง Inventory ไปประเทศอื่นๆ ในโลกไม่ใช่เรื่องง่าย สิ่งที่น่ากลัวคือการส่งของไม่ทัน

You might also like