You are on page 1of 5

ผลตอบแทนและความเสี่ยง ความหมายของผลตอบแทน

บทที่ 4 ‹ความหมายของผลตอบแทนและความเสี่ยง รายได (Income) ที่ไดรับจากการลงทุนบวกกับ


‹การใชการแจกแจงความนาจะเปนในการวัด การเปลี่ยนแปลงของราคาตลาด
ความเสีย่ ง
มักจะแสดงในรูปเปอรเซ็นต (%)
ผลตอบแทนและความเสี่ยง ‹ทัศนคติตอ
‹ความเสีย
 ความเสี่ยง
่ งและผลตอบแทนของกลุม หลักทรัพย ของราคาตลาดตอนตนงวด
(Risk & Return) ‹การกระจายความเสีย ่ ง
‹แบบจําลองการประเมินราคาสินทรัพยสว  นทุน Dt + (Pt - Pt-1 )
The Capital Asset Pricing Model (CAPM)
k= Pt-1
4-1 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-2 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-3 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การคํานวณผลตอบแทนที่
ตัวอยางของผลตอบแทน ความหมายของความเสี่ยง คาดหวัง (Expected Return)
ความผันผวนของผลตอบแทนที่ไดรับ n
ราคาหุน A เมื่อ 1 ปที่ผานมา มีราคา 10 บาท ตอหุน
แตกตางจากผลตอบแทนที่คาดหวังไว k = Σ ( ki )( Pi )
ปจจุบันหุนนี้มีราคาซื้อขาย 9.50 บาท ตอหุน i=1
และผูถือหุนเพิ่งไดรับเงินปนผลไปหุน ละ 1 บาท ทานคาดวาจะไดรับอัตราผลตอบแทน k : ผลตอบแทนที่คาดหวังจากสินทรัพย
คํานวณหาผลตอบแทนที่ไดรับในปที่ผานมา? จากการลงทุน (การออม) ในปนี้เทาใด? ki : ผลตอบแทนสําหรับความเปนไปได ith
ทานไดรับอัตราผลตอบแทนจริงเทาใด? Pi : ความนาจะเปนของผลตอบแทนที่เกิดขึน้
k = 1.00 + (9.50 - 10.00 ) = 5%
10.00 จะเกิดอะไรขึ้นหากเปนการลงทุนในหุนสามัญ? n : จํานวนรวมของความเปนไปได
4-4 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-5 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-6 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การคํานวณสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตัวอยางการคํานวณผลตอบแทนที่ คํานวณหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


(Standard Deviation) คาดหวังและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
n Stock ก n
σ= Σ ( k - k )2( Pi ) ki Pi (ki)(Pi) (ki - k )2(Pi) σ = Σ ( ki - k )2( Pi )
i=1 i i=1
-.15 .10 -.015 .00576
Standard Deviation, σ, เปนคาสถิตทิ ี่ใชวัด -.03 .20 -.006 .00288
ความผันผวนของผลตอบแทนที่เกิดขึน้ จริง .09 .40 .036 .00000 σ = .01728
.21 .20 .042 .00288
วาหางจากคาที่คาดหวังอยางไร .33 .10 .033 .00576
เทากับรากที่สองของความแปรปรวน(Variance) Sum 1.00 .090 .01728 σ = .1315 or 13.15%
4-7 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-8 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-9 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
สัมประสิทธิค ์ วามแปรปรวน
(Coefficient of Variation) ทัศนคติตอ ความเสี่ยง ทัศนคติตอ ความเสี่ยง
คือ อัตราสวนของ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สวนเทียบเทาความเสี่ยง (CE, Certainty สวนเทียบเทาความเสี่ยง > มูลคาที่คาดหวัง
หารดวย ผลตอบแทนที่คาดหวัง ชอบความเสี่ยง (Risk Preference)
Equivalent) คือจํานวนเงินที่แนนอน ซึ่ง
เปนการวัด สวนเทียบเทาความเสี่ยง = มูลคาที่คาดหวัง
บุคคลหนึ่งตองการ ณ เวลาหนึ่ง โดยรับรูวา ไมสนใจความเสี่ยง (Risk Indifference)
ความเสี่ยงตอหนึ่งหนวยผลตอบแทน ไมทําใหเกิดความพึงพอใจที่แตกตาง
CV = σ / k สวนเทียบเทาความเสี่ยง < มูลคาที่คาดหวัง
ระหวางจํานวนเงินที่มีความเสี่ยงซึง่ คาดวา หลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Aversion)
CV ของ ก = .1315 / .09 = 1.46 จะไดรับ ณ เวลาเดียวกัน คนสวนใหญ จัดเปนประเภท หลีกเลี่ยงความเสี่ยง
4-10 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-11 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-12 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การคํานวณผลตอบแทนของ การคํานวณสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ตัวอยางทัศนคติตอความเสี่ยง กลุมหลักทรัพยลงทุน ของกลุมหลักทรัพยลงทุน
m m m
kP = Σ
หากนิสิตมีทางเลือกสองทางระหวาง (1) รับเงินไปเลย 25,000 บาท หรือ
(2) สุมโยนเหรียญ ออกหัวจะไดรับเงิน 100,000 บาท (โอกาส 50%) หรือ ( W )( ki )
i=1 i
σP = Σ j=1
i=1 Σ Wi Wj σij
ออกกอยจะไดรับเงิน 0 บาท (โอกาส 50%) ดังนั้นมูลคาที่คาดหวังของ
การสุม โยนเหรียญ คือ 50,000 บาท kP ผลตอบแทนที่คาดหวังของกลุมหลักทรัพยลงทุน Wi สัดสวนที่ลงทุนในหลักทรัพย i
Wi สัดสวนที่ลงทุนในหลักทรัพย i Wj สัดสวนที่ลงทุนในหลักทรัพย j
หากนิสิตเลือกรับเงิน 25,000 บาท นิสิตจะหลีกเลี่ยงความเสี่ยง
ki ผลตอบแทนที่คาดหวังสําหรับหลักทรัพย i σij ความแปรปรวนรวม (Covariance)
หากนิสิตไมสามารถเลือกได นิสิตจะไมสนใจความเสี่ยง m จํานวนรวมของหลักทรัพยในกลุม ระหวางผลตอบแทนของหลักทรัพย i และ j
หากนิสิตเลือกเสี่ยงโยนหัวกอย นิสิตจะชอบเสี่ยง
4-13 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-14 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-15 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความแปรปรวนรวม สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ ตารางเมทริก ความแปรปรวน


(Covariance) (Correlation Coefficient) และความแปรปรวนรวม
σij = σi σj rij คาสถิตทิ ี่แสดงความสัมพันธเชิงเสนตรง ตัวอยาง 3 หลักทรัพย:
ระหวางตัวแปรสอง คอลัมน 1 คอลัมน 2 คอลัมน 3
σi สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของหลักทรัพย i แถว 1 W1W1σ1,1 W1W2σ1,2 W1W3σ1,3
σj สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของหลักทรัพย j มีคาอยูระหวาง
แถว 2 W2W1σ2,1 W2W2σ2,2 W2W3σ2,3
rij สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Correlation coefficient) -1.0 (ความสัมพันธเชิงลบสมบูรณ) แถว 3 W3W1σ3,1 W3W2σ3,2 W3W3σ3,3
ระหวางผลตอบแทนของหลักทรัพย i และ j ผาน 0 (ไมมีความสัมพันธ)
σi,j = ความแปรปรวนรวมระหวางผลตอบแทน
ถึง +1.0 (ความสัมพันธเชิงบวกสมบูรณ) ของหลักทรัพย i และ j
4-16 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-17 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-18 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
ตัวอยางอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังและ การคํานวณผลตอบแทนที่คาดหวัง การคํานวณสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความเสี่ยงของกลุมหลักทรัพยลงทุน ของกลุมหลักทรัพยลงทุน ของกลุมหลักทรัพยลงทุน
นิสิตกําลังจัดกลุมหลักทรัพยลงทุนของ Wก = 2,000 / 5,000 = .4 หลักทรัพย 2 ตัว:
หุน ก (ตัวอยางเดิม) และ หุน ข โดยนิสิตจะลงทุนใน Wข = 3,000 / 5,000 = .6
หุน ก 2,000 บาท และลงทุนใน หุน ข 3,000 บาท คอลัมน 1 คอลัมน 2
ผลตอบแทนที่คาดหวังและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ kP = (Wก)(kก) + (Wข)(kข) แถว 1 Wก Wก σก,ก Wก Wข σก,ข
หุน ข เทากับ 8% และ 10.65% ตามลําดับ แถว 2 Wข Wก σข,ก Wข Wข σข,ข
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางหุน ก และหุน ข เทากับ 0.75 kP = (.4)(9%) + (.6)(8%)
คํานวณหาผลตอบแทนทีค่ าดหวังและ ตารางเมทริก ความแปรปรวน-ความแปรปรวนรวม
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุม หลักทรัพยลงทุนนี้?
kP = (3.6%) + (4.8%) = 8.4% ของหลักทรัพยสองตัว
4-19 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-20 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-21 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การคํานวณสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การคํานวณสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การคํานวณสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ของกลุมหลักทรัพยลงทุน (ตอ) ของกลุมหลักทรัพยลงทุน (ตอ) ของกลุมหลักทรัพยลงทุน (ตอ)
หลักทรัพย 2 ตัว: หลักทรัพย 2 ตัว: σP = .0028 + (2)(.0025) + .0041
คอลัมน 1 คอลัมน 2 คอลัมน 1 คอลัมน 2 σP = SQRT(.0119)
แถว 1 (.4)(.4)(.0173) (.4)(.6)(.0105) แถว 1 (.0028) (.0025)
แถว 2 (.6)(.4)(.0105) (.6)(.6)(.0113) แถว 2 (.0025) (.0041) σP = .1091 or 10.91%
ตารางเมทริก ความแปรปรวน-ความแปรปรวนรวม ตารางเมทริก ความแปรปรวน-ความแปรปรวนรวม
ของหลักทรัพยสองตัว ของหลักทรัพยสองตัว
4-22 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-23 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-24 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สรุปผลการคํานวณ การกระจายความเสี่ยง (Diversification) ความเสีย่ งที่เปนระบบ


และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ และไมเปนระบบ
หุน ก หุน ข กลุม หลักทรัพยลงทุน หลักทรัพยรวม ความเสี่ยงรวม = ความเสี่ยงที่เปนระบบ +
ผลตอบแทนจากการลงทุน

E(k) 9.00% 8.00% 8.40%


หลักทรัพย E หลักทรัพย F E และ F ความเสี่ยงที่ไมเปนระบบ
S.D. 13.15% 10.65% 10.91% ความเสี่ยงที่เปนระบบ (Systematic Risk) เปนความผันผวนของ
ผลตอบแทนหลักทรัพยหรือกลุมหลักทรัพยลงทุนที่เกี่ยวของกับการ
C.V. 1.46 1.33 1.30 เปลี่ยนแปลงในผลตอบแทนของตลาดโดยรวม
ความเสี่ยงที่ไมเปนระบบ (Unsystematic Risk) เปนความผันผวน
กลุม หลักทรัพยลงทุนจะมี ความเสี่ยงต่ําสุด เวลา เวลา เวลา
ของผลตอบแทนหลักทรัพยหรือกลุมหลักทรัพยลงทุนที่ ไมสามารถ
อธิบายไดจากการเคลื่อนไหวของตลาด ความเสี่ยงชนิดนี้สามารถ
เนื่องมาจากการกระจายความเสีย่ ง การนําหลักทรัพยที่มีความสัมพันธเชิงบวกไมสมบูรณ เลี่ยงไดโดยการกระจายความเสี่ยง
มารวมในกลุมหลักทรัพยลงทุน จะชวยลดความเสี่ยง
4-25 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-26 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-27 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
ความเสีย่ งที่เปนระบบ ความเสีย่ งที่เปนระบบ Capital Asset Pricing Model
และไมเปนระบบ (ตอ) และไมเปนระบบ (ตอ) (CAPM)
ปจจัยตาง ๆ เชน การเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจ ปจจัยตาง ๆ ที่เกิดเฉพาะบริษัทหรืออุตสาหกรรม สมการ CAPM เปนแบบจําลองการประเมินราคา
ผลตอบแทนกลุมหลักทรัพยลงทุน

ผลตอบแทนกลุมหลักทรัพยลงทุน
ของประเทศ หรือการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ ตัวอยางเชน ผูบริหารหลักของกิจการเสียชีวิต
สินทรัพยสวนทุน ที่แสดงความสัมพันธระหวาง
สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานของ

สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานของ
ของโลก หรือปญหาแรงงาน
ความเสีย่ งและผลตอบแทนที่คาดหวัง (ตองการ)
ความเสี่ยงที่ไมเปนระบบ ความเสี่ยงที่ไมเปนระบบ โดยในสมการนี้ ผลตอบแทนทีค่ าดหวัง (ตองการ)
ความเสี่ยงรวม ความเสี่ยงรวม
ของหลักทรัพย เทากับ
ความเสี่ยงที่เปนระบบ ความเสี่ยงที่เปนระบบ อัตราผลตอบแทนที่ไมมีความเสี่ยง บวกดวย
สวนชดเชยความเสีย่ ง (ความเสีย่ งที่เปนระบบ)
4-28
จํานวนหลักทรัพยในกลุมหลักทรัพยลงทุน
ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-29
จํานวนหลักทรัพยในกลุมหลักทรัพยลงทุน
ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-30
ของหลักทรัพย ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

เสนแสดงลักษณะของหลักทรัพย
ขอสมมุตขิ อง CAPM (Characteristic Line) คาเบตา (Beta) คืออะไร?
1. ตลาดทุนเปนตลาดที่มีประสิทธิภาพ ผลตอบแทนของหุน ชวงหางยิ่งแคบ
2. การคาดหมายของนักลงทุน ณ ชวงเวลา
ความสัมพันธยิ่งสูง ดัชนีวัดความเสีย่ งที่เปนระบบ
เดียวกันจะเหมือนกัน Beta = Rise
Run คานี้วัด ความออนไหว ของผลตอบแทนหลักทรัพยตอการ
3. ผลตอบแทนที่ไมมีความเสีย่ ง เปนผลตอบแทน เปลี่ยนแปลงของผลตอบแทนกลุมหลักทรัพยตลาด
ที่ไดแนนอน (ใชตั๋วเงินคงคลัง หรือพันธบัตร
รัฐบาล) คาเบตา (beta) ของกลุมหลักทรัพย คือคาเบตาของ
ผลตอบแทนของ
4. กลุมหลักทรัพยตลาด (Market portfolio) กลุมหลักทรัพยตลาด หลักทรัพยในกลุมหลักทรัพยลงทุน ถัวเฉลีย่ ถวงน้ําหนัก
ประกอบดวยความเสีย่ งที่เปนระบบเทานั้น
(ใชSET Index) Characteristic Line
4-31 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-32 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-33 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

เสนแสดงลักษณะของหลักทรัพย เสนหลักทรัพยในตลาด
และคาเบตาตาง ๆ (Security Market Line) เสนหลักทรัพยในตลาด (SML)
Beta > 1
ผลตอบแทนของหลักทรัพย
(aggressive) ki = kRF + bi(kM - kRF) ki = kRF + βi(kM - kRF)
Beta = 1

ผลตอบแทนที่ตองการ
เสน Characteristic line
Beta < 1 ki อัตราผลตอบแทนที่ตองการของหุน i
แตละเสนมีความชันตางกัน (defensive) kRF อัตราผลตอบแทนที่ไมมีความเสี่ยง สวนชดเชยความ
kM เสี่ยง
βi คาเบตา (beta) ของหุน i (ความเสี่ยงที่เปนระบบ
ผลตอบแทนของกลุม ของหุน i) kRF ผลตอบแทนที่ไมมี
หลักทรัพยตลาด
kM ผลตอบแทนที่คาดหวังของกลุมหลักทรัพยตลาด ความเสี่ยง
βM = 1.0

4-34 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-35 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-36 ความเสี่ยงที่เปนระบบ (Beta) ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
การคํานวณอัตรา ผลตอบแทนทีต ่ อ งการ การคํานวณมูลคาที่แทจริง
ผลตอบแทนทีต่ อ งการ ของหุนบริษัทนนทรี (Intrinsic Value)
นายเขียวตองการคํานวณอัตราผลตอบแทนที่ นายเขียวตองการคํานวณ มูลคาที่แทจริง ี่ของหุนบริษัท
ตองการของหุนบริษัทนนทรี k = kRF + βi(kM - kRF) นนทรี โดยใช Constant growth model นายเขียวคาดวา
อัตราผลตอบแทนที่ไมมีความเสี่ยง (kRF) 6% k = 6% + 1.2(10% - 6%) เงินปนผลในงวดตอไป จะเทากับ 0.50 บาท และจะขยายตัว
อัตราผลตอบแทนที่คาดหวังของตลาด 10% คงที่ในอัตรา 5.8% ปจจุบันหุนนี้ขายในราคา 15 บาท
ความเสี่ยงที่เปนระบบ (beta) 1.2 k = 10.8% มูลคาที่แทจริงของหุนนี้เปนเทาใด?
อัตราผลตอบแทนที่ตองการสูงกวาอัตราผลตอบแทน
อัตราผลตอบแทนที่ตองการ ของหุน ราคาของหุนนี้ สูงกวามูลคา (Overpriced) หรือ
ของตลาด เพราะบริษัทนนทรีมีคาเบตาสูงกวา
บริษัทนนทรี เปนเทาใด? ต่ํากวามูลคา (Underpriced)?
คาเบตาของตลาด (1.0)
4-37 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-38 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-39 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การคํานวณมูลคาที่แทจริง
(Intrinsic Value) เสนหลักทรัพยในตลาด (SML)
0.50
มูลคาที่แทจริง = 10.8%
หุน X (ราคาต่ําไป)

ผลตอบแทนที่ตองการ
- 5.8% ทิศทางการ
เคลื่อนไหว ทิศทางการ
= 10 เคลื่อนไหว

หุนนี้มี ราคาที่สูงกวามูลคา(OVERVALUED) kRF หุน Y (ราคาสูงไป)


เนื่องจากราคาตลาด (15 บาท) สูงกวา
มูลคาที่แทจริง(Intrinsic value) (10 บาท) ความเสี่ยงที่เปนระบบ (Beta)
4-40 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 4-41 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

You might also like