You are on page 1of 4

หุนสามัญและหุนบุริมสิทธิ ลักษณะพื้นฐานของหุนสามัญ

บทที่ 18 ‹ อธิบายลักษณะพื้นฐานของหุนสามัญ หุนสามัญ (Common stock) -- หลักทรัพย


‹ ระบุสิทธิทางกฎหมายของผูถือหุน ที่แสดงฐานะความเปนเจาของในบริษัท
หุนสามัญและหุนบุริมสิทธิ ‹ อธิบายสิทธิในการซื้อหุนสามัญ
กรรมสิทธิ์ของผูถือหุน สามัญกอใหเกิด
‹ คํานวณมูลคาของสิทธิ
สิทธิในการควบคุมกิจการในระยะยาว
‹ จัดประเภทของหุน ตามผลตอบแทนและ
(Common and Preferred Stock) ความเสี่ยง
‹ อธิบายลักษณะพื้นฐานของหุนบุริมสิทธิ
18-1 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-2 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-3 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ชนิดของหุนสามัญ ชนิดของหุนสามัญ (ตอ) ประเภทของหุนสามัญ


บริษัทบางแหงออกจําหนายหุนสามัญมากกวา 1ประเภท
‹หุนจดทะเบียน (Authorized stock) -- ‹หุนซื้อคืน (Treasury stock) -- หุนที่บริษัท คือ หุนประเภท A และหุนประเภท B
จํานวนหุน สูงสุดที่สามารถนําออกจําหนายได ซื้อคืนกลับมาโดยผานตลาดหลักทรัพยหรือ ‹ ในอดีตหุนประเภท A ไมมีสิทธิในการออกเสียงและหุน
โดยไมตองแกไขขอบัญญัติของการจัดตั้ง โดยการเสนอขอซื้อ (Tender offer) ประเภท B มีสิทธิออกเสียง ดังนั้นผูที่ถือหุนประเภท B จะเปน
ผูควบคุมบริษัท
บริษัท ‹หุนที่ออกจําหนายและอยูในมือผูถือหุน
 ‹ ปจจุบันหุนประเภท A จะมีสิทธิในการออกเสียงและไดรับเงิน
ปนผล หุนประเภท A ถือโดยประชาชน ในขณะที่หุนประเภท
‹หุนที่ออกจําหนายแลว (Issued stock) -- หุน
 (Outstanding stock) -- เทากับจํานวนหุน ที่ B จะถือโดยผูจัดตั้งบริษัทและไมไดรับเงินปนผลจนกวาบริษัท
ที่ผูถือหุน ซือ้ ไปแลว ซึ่งปกติจะมีจํานวนนอย ออกจําหนายแลวหักดวยจํานวนหุน ซือ้ คืน จะมีระดับกําไรที่แนนอน ภายใตเงื่อนไขเหลานี้หุนประเภท B
จะเรียกวาหุน ของผูกอตั้ง (Founders shares)
18-4 กวาหุนจดทะเบียน ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-5 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-6 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การวัดมูลคา ตัวอยางการวัดมูลคา การวัดมูลคา (ตอ)


ก. ราคาที่ตราไว (Par value) -- ราคาหนาตั๋ว (Face value) บริษัท นนทรี จํากัด ข. มูลคาตามบัญชีตอ หุน (Book value per share) --
‹ ราคาหุนที่กําหนดตามความประสงคของผูกอตั้งบริษัท หุนสามัญ (ราคาตราไว 10 บาท ; อยูในมือ คํานวณโดยหารบัญชีสว นของผูถ ือหุน ในงบดุล
ในหนังสือบริคณหสนธิ บริษัทไมสามารถจายเงินปนผล ผูถือหุน 10,000 หุน) ฿ 100,000
จนทําใหมูลคาสวนของผูถือหุนลดลงต่ํากวายอดรวมใน ดวยจํานวนหุนที่อยูใ นมือผูถ ือหุน
บัญชีหุนสามัญ ซึ่งเปนเหตุผลของการกําหนดราคาที่ สวนเกินมูลคาหุน 400,000
กําไรสะสม 650,000
ค. มูลคาชําระบัญชี (Liquidating value) -- ราคา
ตราไวใหต่ํา ตลาดปจจุบันของสินทรัพยบริษัทหักดวยยอด
‹ ปกติบริษัทจะจําหนายหุนสามัญในราคาสูงกวาราคา รวมสวนของผูถือหุน 1,150,000
ตรา ผลตางระหวางราคาที่ผูถือหุนจายซื้อและราคาตรา รวมของหนี้สนิ หุนบุริมสิทธิ และคาใชจายใน
จะปรากฎในบัญชีสวนเกินมูลคาหุน (Paid-in-capital) การชําระบัญชี
18-7 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-8 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-9 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
ตัวอยางการวัดมูลคา (ตอ) การวัดมูลคา (ตอ) สิทธิทางกฎหมายของผูถือหุน
บริษัท นนทรี จํากัด ง. มูลคาตลาดตอหุน (Market value per share) -- ‹ สิทธิในกําไร (Right to Earnings) -- ผูถือหุนสามัญมีสิทธิ
หุนสามัญ (ราคาตราไว 10 บาท ; อยูในมือ ราคาหุนที่มีการซื้อขาย ณ ปจจุบันในตลาด ไดรับกําไรหลังภาษีและหลังจากจายเงินปนผลใหกับผูถือ
ผูถือหุน 10,000 หุน) ฿ 100,000 หุนบุริมสิทธิไปแลว กําไรสวนที่เหลือสามารถนําไป
สวนเกินมูลคาหุน 400,000 ‹ มูลคาตลาดตอหุนมักจะสูงกวามูลคาตามบัญชี จายเงินปนผลหรือสะสมเปนกําไรในอนาคตของผูถือหุน
กําไรสะสม 650,000 ตอหุน แตบางครั้งอาจต่ํากวา เมื่อกิจการนั้นมี ‹ สิทธิจองซื้อหุนใหม (Right to Purchase New Shares) --
รวมสวนของผูถือหุน 1,150,000 ปญหาทางการเงิน ขอกําหนดของบริษัทมักจะใหสิทธิจองซื้อหุนใหมกับผูถือ
มูลคาตามบัญชีตอหุนของบริษัทนนทรี เทากับ หุนสามัญ ซึ่งหมายถึงสิทธิในการซื้อหุนใหมที่
= ฿1,150,000 / 10,000 หุน = ฿11.50 ตอหุน ออกจําหนายโดยบริษัท
18-10 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-11 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-12 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สิทธิทางกฎหมายของผูถือหุน สิทธิในการออกเสียง วิธกี ารออกเสียง


‹ ผูถือหุนสามัญจะเลือกคณะกรรรมการบริหารซึ่งจะเปนผู
‹สิทธิในการออกเสียง (Right to Vote) -- ผูถือหุน วิธีการออกเสียงเปนสิง่ สําคัญ
เลือกฝายบริหารของบริษัท การเลือกตั้งตามปกติจะทําป
สามัญ 1 หุนมีสิทธิออกเสียงได 1 เสียง การ ในการจะเลือกใหใครเปนผูค วบคุมบริษัท
ละครั้งในการประชุมประจําป
เลือกตั้งคณะกรรมการบริหารเปนการใชสิทธิออก
‹ ผูถือหุนบางคนอาจมาใชสิทธิดวยตนเอง (in person) หรือ ‹ วิธีระบบเสียงขางมาก (Majority vote) -- ผูถือหุนแตละหุน
เสียงที่สําคัญทีส่ ุด แตก็ยังมีการใชสิทธิในลักษณะ อาจโอนสิทธิในการออกเสียงใหกับตัวแทน (by proxy) จะออกเสียงไดเพียง 1 เสียงเพื่อเลือกกรรมการเพียง 1
อื่นอีก เชน การออกเสียงเพื่อแกไขปรับปรุง ‹ สิทธิในการแตงตั้งตัวแทน (Proxy) -- เอกสารมอบอํานาจ ตําแหนง วิธีนี้ผูที่ถือหุนสามัญมากกวา 50% สามารถเลือก
ขอกําหนดของบริษัทหรือขอบัญญัติทางกฎหมาย การออกเสียงใหตัวแทน ความพยายามที่จะควบคุมบริษัท กรรมการบริษัทไดทั้งหมดและครองอํานาจการควบคุม
การอนุมัติการควบหรือรวมกิจการ การเปลี่ยน เรียกวา Proxy fight ซึ่งรวมถึงขอกลาวหาวาอีกฝายหนึ่ง ทั้งหมดของบริษัท
นโยบายบริษัท และการใหอํานาจกับหุนประเภท ไมไดกระทําการใหเกิดผลตอบแทนที่ดีที่สุดแกผูถือหุน
18-13 ตาง ๆ ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-14 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-15 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

จํานวนหุนที่ตองมีเพื่อเลือกกรรมการ
วิธกี ารออกเสียง (ตอ) ตัวอยางวิธีการออกเสียง และไดตามวิธีลงคะแนนแบบสะสม
‹วิธีลงคะแนนแบบสะสม (Cumulative vote) -- ผูถือ นายเขียวถือหุนในบริษัท นนทรี จํากัด จํานวน 100 หุน
จํานวนกรรมการ จํานวนหุนที่
หุนแตละหุนมีสิทธิออกเสียงได 1 เสียงสําหรับเลือก และมีกรรมการ 9 ตําแหนงใหเลือก ที่ตองการเลือก X อยูในมือผูถือหุน
+1
กรรมการแตละตําแหนง แตผูถือหุนอาจออกเสียง ‹ วิธีระบบเสียงขางมาก : นายเขียวอาจออกเสียง 100 เสียง จํานวนกรรมการทั้งหมด +1
ทั้งหมดเลือกกรรมการเพียงทานเดียว หรือแบง ที่บริษัทตองการเลือก
(1 เสียงตอหุน) สําหรับกรรมการแตละตําแหนง สูงสุดไมเกิน
คะแนนเสียงระหวางกรรมการหลายทาน วิธีนี้ผูที่ถือ 100 เสียงตอตําแหนง ‹ เชน ตองการเลือกกรรมการและไดจํานวน 3 ตําแหนง
หุนนอยกวา 50% สามารถเลือกกรรมการไดอยาง ‹ วิธีลงคะแนนแบบสะสม : นายเขียวอาจออกเสียง 900 เสียง จากกรรมการทั้งหมด 9 ตําแหนง (หุนที่อยูในมือผูถือหุน
นอยที่สุดหนึ่งทาน ดังนั้นวิธีลงคะแนนแบบสะสมนี้ (100 เสียง x 9 ตําแหนง) เพื่อใชเลือกกรรมการ 1 ตําแหนง หรือ 100,000 หุน )
จะชวยใหกลุมผูถือหุนสวนนอยมีเสียงในการ อาจแบงเสียงใหกับใครนอยางไรก็ไดใน 9 คน 3 x 100,000 + 1 = 30,001 เสียง
9+1
18-16 บริหารงาน ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-17 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-18 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
มูลคาสิทธิ (Value of Right) เมื่อหุนซื้อขายกัน
สิทธิจองซื้อหุนใหม สิทธิจองซื้อหุนใหม (ตอ) ในราคารวมสิทธิ (Stock Price Rights-On)

‹สิทธิจองซื้อหุนใหม (Preemptive Right) : ‹บริษัทมีหุนที่ออกจําหนายแลว 60,000 หุนและ ‹ราคาซื้อหุนตามสิทธิ (Subscription price)


ขอกําหนดของบริษัทมักจะใหสิทธิจองซื้อ ตองการจะออกหุน ใหมจํานวน 20,000 หุน จะต่ํากวาราคาตลาดของหุนสามัญ
หุนใหมกับผูถือหุน สามัญ ซึ่งหมายถึงสิทธิ ‹ผูถอ
ื หุนสามัญจะไดรับ 1 สิทธิ สําหรับแตละหุนที่ ‹มูลคาของสิทธิเทากับมูลคาหุนที่ลดลงหลัง
ในการซือ้ หุน ใหมทอี่ อกจําหนายโดยบริษัท ถือ ดังนั้นจํานวนสิทธิรวมเทากับ 60,000 สิทธิ วันขายหุนไมรวมสิทธิ (ex-rights date)
‹หากตองการซื้อหุน  ออกใหม 1 หุน ในราคาซื้อ ‹มูลคาของสิทธิ = (Pro - S)/(N+1)
‹สิทธิจองซื้อหุนใหมจะใหสิทธิผูถือหุนใน เมื่อ Pro = ราคาตลาดของหุน ที่รวมสิทธิ
หุน ตามสิทธิ ตองใชสทิ ธิจํานวน
การซื้อหุนใหมในสัดสวนที่ถืออยูในปจจุบัน = 60,000/20,000 = 3 สิทธิ S = ราคาซื้อหุนตามสิทธิ
N = จํานวนสิทธิที่ตองการ
18-19 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-20 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-21 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

มูลคาสิทธิ (Value of Right) เมื่อหุนซื้อขายกัน


ในราคาไมรวมสิทธิ (Stock Price Ex-Rights) ประเภทของหุนสามัญ ประเภทของหุนสามัญ (ตอ)
‹เมื่อหุนซื้อขายกันในราคาที่ไมรวมสิทธิ ‹ตลาดหุนประกอบดวยหุนสามัญหลายประเภท ‹หุนบริษัทชั้นดี (Blue Chip Stocks) : คือหุนที่มี
ราคาหุนจะลดลงเทากับมูลคาสิทธิ นับตั้งแตหุนประเภทระมัดระวัง (Extremely คุณภาพสูง เปนหุนของบริษัทที่ผูลงทุนมีความ
‹มูลคาของสิทธิ = (Pex - S)/N conservative) จนถึงหุนสามัญประเภทเก็งกําไร เชื่อมั่นสูง เชน General Motors, IBM และ Xerox
เมื่อ Pex = ราคาตลาดของหุน ที่ไมรวมสิทธิ สูง (Highly speculative) หุนของบริษัทกลุมนี้เปนลักษณะไมหวือหวา
S = ราคาซื้อหุนตามสิทธิ ‹พิจารณาตามลักษณะผลตอบแทนและความ (Conservative investments) หุนเหลานี้จะให
N = จํานวนสิทธิที่ตองการ เสีย่ งของหุน จําแนกหุนสามัญออกเปน 5 เงินปนผลพอสมควรและมีการขยายตัวที่
ประเภทหลัก พอประมาณ
18-22 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-23 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-24 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ประเภทของหุนสามัญ (ตอ) ประเภทของหุนสามัญ (ตอ) ประเภทของหุนสามัญ (ตอ)


‹หุนที่มีการขยายตัวสูง (Growth Stocks) : คือหุน
 ที่ ‹หุนที่ไมตกต่ําตามภาวะตลาดและหุนที่ผันผวนสูง ‹หุนเก็งกําไร (Speculative Stocks) : คือหุน
 ที่มี
คาดวาจะมีการขยายตัวในกําไรตอหุน และราคา (Defensive and Cyclical Stocks) ความเสีย่ งและผลตอบแทนสูง ซึ่งจะครอบคลุมถึง
Defensive stocks คือหุนที่มีราคาคงที่ หรืออาจ
ในอนาคตที่มั่นคง ขณะที่ยังคงสวนกําไรที่สูงไว หุนของบริษัทที่จัดตั้งใหมรวมทั้งหุนของบริษัทเดิม
เพิ่มขึ้นในชวงธุรกิจตกต่ํา ดังนั้นหุนประเภทนี้จึงมี
‹หุนกอรายได (Income Stocks) : คือหุน
 ที่มีประวัติ ความออนไหวตอวงจรเศรษฐกิจนอย เชน หุนใน ที่เริ่มประสบปญหาทางดานการเงิน กําไรของหุน
การจายเงินปนผลมั่นคงและมีจํานวนมากเปน กลุมสินคาอุปโภคและสาธารณูปโภค ประเภทนี้ จะไมแนนอนและไมมั่นคง โดยปกติหุน
Cyclical stocks คือหุนที่มีราคาเปลี่ยนแปลง กลุมนี้จะขายในราคาที่มีอัตรา P/E สูง นักลงทุนใน
เวลานาน เชน หุนของธุรกิจสาธารณูปโภค มากกวาราคาตลาดโดยรวม เชน หุนของธุรกิจ หุนประเภทนี้มีแนวโนมที่จะซื้อขายหุน นี้ในระยะสัน้
จําหนายเครื่องมืออุตสาหกรรม
18-25 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-26 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-27 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
ลักษณะพื้นฐานของหุนบุริมสิทธิ ประเภทของหุนบุริมสิทธิ ประเภทของหุนบุริมสิทธิ (ตอ)
หุนบุริมสิทธิ (Preferred stock) -- หลักทรัพยชนิด หุนบุริมสิทธิชนิดสะสม (Cumulative preferred หุนบุริมสิทธิชนิดไถถอนได (Callable preferred
ผสม มีลกั ษณะกึง่ หนี้สินและกึ่งหุนสามัญ เงินปน stock) -- หุนบุริมสิทธิชนิดที่ผูถอื หุนจะไดรับเงิน stock) -- หุนบุริมสิทธิที่อาจถูกไถถอนคืนตามดุลย
ผลเงินปนผลหุน บุริมสิทธิจะเหมือนกับการจาย ปนผลคางจายทั้งหมด กอนที่บริษัทจะจายเงิน พินิจของบริษัทที่ออกจําหนาย ดวยจํานวนเงินที่
ปนผลใหแกผถู ือหุน สามัญ ระบุไวในสัญญา ซึ่งปกติจะมากกวาราคาที่ตราไว
ดอกเบี้ยตามที่ระบุไวในหนาตั๋วของหุนกูช นิด
ตอเนื่อง แตไมเหมือนหุนกูต รงที่ผูถือหุนบุริมสิทธิ ‹คุณสมบัติเชนนี้ทําใหคณะกรรมการบริหารตอง ‹สวนที่เพิ่มขึ้นนี้เรียกวา สวนเกินมูลคาจากการเรียกคืน
ดูแลเงินปนผลใหเปนปจจุบัน หากบริษัทไมได (Call premium) ซึ่งขอกําหนดนี้อาจไมทําใหผูถือหุน
ไมสามารถใชแงกฎหมายฟองรองกับบริษัทกรณี จายเงินปนผลหุนบุริมสิทธิ คณะกรรมการบริหาร
ไมจายเงินปนผลได พอใจ ดังนั้นอัตราผลตอบแทนของหุนชนิดนี้จึงสูงกวา
ตองออกมาอธิบายเหตุผล หรือในบางกรณีอาจ ปกติ
ตองเสนอปนผลเปนหุนสามัญใหมแทน
18-28 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-29 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-30 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ประเภทของหุนบุริมสิทธิ (ตอ) ประเภทของหุนบุริมสิทธิ (ตอ) ภาษีที่เกี่ยวของกับหุนบุริมสิทธิ


หุนบุริมสิทธิชนิดแปลงสภาพได (Convertible หุนบุริมสิทธิชนิดรวมรับ (Participating preferred ‹หุนบุริมสิทธิมีผลตอบแทนหลังภาษีเปนที่นา
preferred stock) -- หุน บุริมสิทธิที่สามารถแปลง stock) -- หุนบุริมสิทธิที่บริษัทยอมจายเงินปนผล
สภาพเปนหุนสามัญไดตามอัตราสวนที่กําหนดไว มากกวาอัตราที่กําหนดไว หากผูถอื หุนสามัญจะ ดึงดูดใจสําหรับบริษัทที่ลงทุน เนื่องจากมีขอ
ตามดุลยพินิจของผูถอื หุนบุริมสิทธิ ไดรับเงินปนผลเพิ่มขึ้นอีก ไดเปรียบทางภาษีของหุนบุริมสิทธิซึ่งมากกวาหุน
‹เชนหุนบุริมสิทธิ 10% ราคาตราไวหุนละ 100 บาท ไถถอน ‹แผนการรวมรับอาจมีหลายชนิด แตโดยทั่วไป ผูถือหุน กูหากมองในทัศนะของผูลงทุน โดยกฎหมายภาษี
คืนในราคา 110 บาท และสามารถแปลงสภาพเปนหุน สามัญมักไดรับเงินปนผลเทากับเงินปนผลหุนบุริมสิทธิ อากรอนุญาตใหบริษัทผูลงทุนไมตองนําเงินปนผล
สามัญได 2 หุน ถาหุนสามัญมีราคาตลาดหุนละ 60 บาท กอน เงินปนผลสวนที่เหลือจะถูกปนสวนให เทา ๆ กัน หุนบุริมสิทธิมารวมในการคํานวณภาษี
ผูถือหุนบุริมสิทธิควรจะแปลงสภาพกอนวันครบกําหนด ระหวางผูถือหุนสามัญและผูถือหุนบุริมสิทธิ ดังนั้นหุน
ไถถอนคืนเพราะหุนสามัญ 2 หุน มีมูลคา 120 บาท แตละชนิดจะไดรับเงินปนผลตอหุนในจํานวนที่เทากัน
18-31 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-32 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 18-33 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ภาษีที่เกี่ยวของกับหุนบุริมสิทธิ
‹โดยทั่วไปบริษัทที่ลงทุนสามารถหัก 70% ของเงิน
ปนผลหุนบุริมสิทธิออกจากการคํานวณภาษี
‹เชน บริษัท X ถือหุนบุริมสิทธิของบริษัท Y ซึ่ง
จายเงินปนผล 12% หากอัตราภาษีเทากับ 40%
ผลตอบแทนของหุนบุริมสิทธิหลังภาษีเทากับ
= 12%[1-(0.4)(1-0.3)] = 10.56%
‹เปรียบเทียบกับการลงทุนในหุนกู ดอกเบี้ย 12%
ผลตอบแทนของหุนกูหลังภาษีเทากับ
= 12%(1-0.4) = 7.2%
18-34 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

You might also like