You are on page 1of 27

5

การคํ
การคําานวณอั
นวณอัตตราผลตอบแทนตราสารหนี
ราผลตอบแทนตราสารหนี้้

30-June-04 ศูนยซื้อขายตราสารหนี้ไทย
สารบัญ
ƒ Current Yield
ƒ Yield to Maturity
ƒ Yield on a zero-coupon bond
ƒ Yield to call
ƒ Yield to put
ƒ Yield on floating - rate bond
ƒ Total Rate of Return
ƒ Measuring yield for a bond portfolio : Weighted average portfolio
yield
2
อัตราผลตอบแทนปจจุบัน (Current Yield)
ƒ อัตราผลตอบแทนปจจุบัน (Current Yield)
ƒ เปนการคํานวณอัตราผลตอบแทนอยางงาย โดยนําดอกเบี้ยที่ไดรับจาก
ตราสารหนี้นั้น (Coupon) หารดวย ราคาของตราสารหนี้
ƒ สวนใหญจะใชเพื่อคํานวณตนทุน หรือ กําไรจากการลงทุนในพันธบัตร
ระยะสั้นๆ เชน หากอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น 1 สัปดาห หรือ 3 เดือน สูง
กวา current yield การถือพันธบัตรนั้นจะกอใหเกิด running cost หรือ
เรียกวา negative carry หรือ negative funding
อัตราผลตอบแทนปจจุบัน = ดอกเบี้ยของตราสารหนี้(ทั้งป)
ราคาของตราสารหนี้
3
อัตราผลตอบแทนปจจุบัน (Current Yield)
ƒ ตัวอยางที่ 1 นาย ก กูเงินจากธนาคารที่อัตราดอกเบี้ย 8.75% และซื้อ
พันธบัตรมีราคาตราไว 1,000 บาท จายดอกเบี้ยรอยละ 10 ตอป จาย
ดอกเบี้ยปละ 2 ครั้ง โดยซื้อที่ราคา(Clean Price) 1,036.30บาท
Current Yield = ( 0.10 ) x 1,000 = 9.65%
1,036.30
ƒ นาย ก ได current yield จากการลงทุนในพันธบัตร 9.65% และเสีย
ดอกเบี้ยเงินกูเพียง 8.75% ดังนั้น นาย ก จะไดอัตราผลตอบแทนเปน
net carry หรือ net funding 0.90% ทั้งนี้โดยไมคํานึงถึงกําไรหรือ
ขาดทุนที่จะเกิดขึ้นในชวงที่นาย ก ขายพันธบัตรดังกลาวออก
4
อัตราผลตอบแทนถึงวันหมดอายุ (Yield to Maturity)
ƒ อัตราผลตอบแทนคํานวณจนถึงวันหมดอายุ หรือวันครบกําหนดไถ
ถอน Yield to Maturity, YTM)
ƒ เปน อัตราคิดลด ( r ) ที่ทําใหมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดที่ไดรับ
จากตราสารหนี้ เทากับ ราคาในปจจุบัน
ƒ สูตรการคํานวณ
N
Pd = ∑ Cn + Mn
n=1 ( 1 + r )n ( 1 + r )n
ƒ โดย Pd = ราคาตราสารหนี้ (Bond Dirty Price)

5
อัตราผลตอบแทนถึงวันหมดอายุ (Yield to Maturity)
ƒ สมมติฐาน คือ ผูลงทุนจะถือตราสารหนี้ไปจนหมดอายุ โดยดอกเบี้ยที่ผู
ลงทุนไดรับจะถูกนําไปลงทุนตอที่อัตราผลตอบแทนเดียวกัน
ƒ ดังนั้น ขอจํากัดของ YTM คือ การลงทุนที่เกิดขึ้นจริงอาจไมเปนไปตาม
สมมติฐาน เชน นักลงทุนไมไดถือจนครบกําหนดอายุ โดยอาจขายกอน
และเกิด Capital Gain หรือ Loss ขึ้น หรือการนําดอกเบี้ยไปลงทุนตอ
แลวไมไดรับอัตราผลตอบแทนเทากับอัตรา YTM เดิม
ƒ อัตราผลตอบแทน YTM จะถูกอางอิงในรูปของรอยละตอป หากตรา
สารหนี้มีการจายดอกเบี้ยมากกวา 1 ครั้งตอป ตองใชอตั รา YTM ตอ
งวดในการคํานวณราคา
6
Yield to maturity for Semi-annual Coupon Bond
ƒ จากตัวอยางที่ 1 นาย ก ซื้อพันธบัตรอายุ 2 ป มีราคาตราไว 1,000 บาท
จายดอกเบี้ยรอยละ 10 ตอป จายดอกเบี้ยปละ 2 ครั้ง โดยซื้อที่ราคา(Clean
Price) 1,036.30บาท คํานวณ YTM (r) เทากับ อัตรารอยละ 8 ตอป
50 50 50 50 + 1,000

1 ม.ค. 45 1 ก.ค. 45 1 ม.ค. 46 1 ก.ค. 46 1 ม.ค. 47


PV หรือ 1
P0 = 50 / (1+ r/2)
50 / (1+ r/2)2
1,036.30
50 / (1+ r/2)3
บาท
50 / (1+ r/2)4 + 1,000/ (1+ r/2)4
7
Yield on a Zero-coupon Bond
ƒ Zero-coupon bonds บางครั้งเรียกวา Strips จะไมมีการจายดอกเบี้ย
ตลอดอายุของตราสาร และมีกระแสเงินเพียงครั้งเดียว คือ มูลคาที่ตราไว
เมื่อครบกําหนด ดังนั้น Zero-coupon bonds จะซื้อขายที่ราคาสวนลด
จากมูลคาหนาตั๋วเสมอ
P = M
(1+ r/2)n
r = M 1/n –1
P

8
Yield on a Zero-coupon Bond
ƒ ตัวอยางที่ 2 พันธบัตรชนิดดอกเบี้ยทบตน อายุ 5 ป ซื้อขายกันที่ราคา
777.95 บาท อัตราผลตอบแทน Yield to maturity มีคาเทากับเทาใด
ƒ ในกรณีนี้มีสมมติฐานวาการคํานวณอัตราผลตอบแทนเทียบเคียงกับ
พันธบัตรทั่วไปที่จายดอกเบี้ยปละ 2 ครั้ง ดังนั้น n เทากับ 10 งวด

r = M 1/n – 1
P
= 1,000 1/10 – 1 = 0.02543 = 5.0854%
777.95

9
ตราสารหนี้แฝงสิทธิ (Bonds with embedded Options)
ƒ การคํานวณราคาและอัตราผลตอบแทนที่กลาวถึงมาขางตน เปนตรา
สารหนี้แบบธรรมดา (Plain Vanilla Coupon Bonds)
ƒ ตราสารหนี้ในปจจุบันมักจะมีสิทธิ(Option) พวงมาดวยเชน สิทธิที่จะ
ซื้อคืน(Call Option) หรือ สิทธิที่จะขายคืน(Put Option) โดยนักลงทุน
สามารถตรวจสอบขอมูลไดจากหนังสือชี้ชวน(Prospectus)
ƒ ตราสารหนี้ประเภทแฝงสิทธิที่จะซื้อคืน(Callable Bond) คือตราสาร
หนี้ที่ใหสิทธิแกผูออกตราสาร สามารถไถถอนหนี้คืนกอนกําหนดได
ƒ ตราสารหนี้ประเภทแฝงสิทธิที่จะขายคืน(Puttable Bond) คือตราสาร
หนี้ที่ใหผูถือมีสิทธิขายคืนใหกับผูออกกอนกําหนดได
10
Yield to Call
ƒ กรณีตราสารหนี้ประเภทแฝงสิทธิที่จะซื้อคืน(Callable Bond) ทําใหผูที่
ลงทุนในตราสารอาจจะลงทุนไมครบกําหนดไถถอน เนื่องจากผูออกตรา
สารอาจไถถอนกอนกําหนด
ƒ ดังนั้น การคํานวณอัตราผลตอบแทน Yield to Maturity จึงไมอาจทําได
ตองเปลี่ยนเปนการคํานวณ Yield to Call แทน โดยมีสมมติฐานวาตรา
สารจะถูกไถถอนในวันแรกที่ใหสิทธิไถถอน (First Call Date)
ƒ สูตรการคํานวณจะใชสูตรเดียวกับ Yield to Maturity แตจํานวนงวด
ของกระแสเงิน จะคํานวณถึงวันแรกที่ใหสิทธิไถถอน และราคาไถถอน
จะไมใชราคาหนาตั๋วของตราสาร แตจะเทากับราคาไถถอนที่กําหนดไว
11
Yield to Call
ƒ สูตรการคํานวณ
Nc
Pd = ∑ Cn + Pc
n=1 ( 1 + rca )n ( 1 + rca )Nc

โดย rca = yield-to-call


Nc = จํานวนงวดที่จายดอกเบี้ยจนถึงวันแรกที่ใหสิทธิไถถอน
Pc = ราคาไถถอน(call price) ณ วันที่สมมติใหมกี ารไถถอน

12
Yield to Call
ƒ ตัวอยางที่ 3 นาย ก ซื้อพันธบัตรอายุ 5 ป มีราคาตราไว 1,000 บาท จายดอกเบี้ย
รอยละ 10 ตอป จายดอกเบี้ยปละ 2 ครั้ง โดยซื้อที่ราคา(Clean Price) 1,036.30บาท
ผูออกมีสิทธิที่จะไถถอนคืนกอนกําหนดเมื่อพันธบัตรครบ 2 ป ที่ราคา 1,020 บาท
จงคํานวณหา yield-to-call
ƒ คํานวณ Rc (yield-to-call) มีคาเทากับ 8.91%
50 50 50 50 + 1,020
1 ม.ค. 45 1 ก.ค. 45 1 ม.ค. 46 1 ก.ค. 46 1 ม.ค. 47
PV หรือ
50 / (1+ r/2)1
P0 =
50 / (1+ r/2)2
1,036.30
50 / (1+ r/2)3
บาท 50 / (1+ r/2)4 + 1,020/ (1+ r/2)4
13
Yield to Put
ƒ กรณีตราสารหนี้ประเภทแฝงสิทธิที่จะขายคืน(Puttable Bond) ทําใหผู
ที่ลงทุนในตราสารอาจจะลงทุนไมครบกําหนดไถถอน เนื่องจากผูถือ
ตราสารอาจขอไถถอนกอนกําหนด
ƒ ดังนั้น การคํานวณอัตราผลตอบแทน Yield to Maturity จึงไมอาจทํา
ได ตองเปลี่ยนเปนการคํานวณ Yield to Put แทน โดยมีสมมติฐานวา
ตราสารจะถูกไถถอนในวันแรกที่ใหสิทธิไถถอน (First Put Date)
ƒ สูตรการคํานวณจะใชสูตรเดียวกับ Yield to Maturity แตจํานวนงวด
ของกระแสเงิน จะคํานวณถึงวันแรกที่ใหสิทธิไถถอน และราคาไถถอน
จะไมใชราคาหนาตั๋วของตราสาร แตจะเทากับราคาไถถอนที่กําหนดไว
14
Yield to Put
ƒ สูตรการคํานวณ
Nd
Pd = ∑ Cn + Pp
n=1 ( 1 + rp )n ( 1 + rp )Nd

โดย rp = yield-to-put
Nd = จํานวนงวดที่จายดอกเบี้ยจนถึงวันแรกที่ใหสิทธิไถถอน
Pp = ราคาไถถอน(put price) ณ วันที่สมมติใหมกี ารไถถอน

15
Yield on Floating Rate Bond
ƒ ตราสารหนี้ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว มักจะกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม
เปนระยะๆ ซึ่งอาจจะเปนทุก 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ป โดยจะเปลี่ยนแปลงไป
ตามอัตราดอกเบี้ยที่อางอิง เชน อัตราดอกเบี้ยตั๋วเงินคลัง (T-bill rate) หรือ
London Inter-bank Offer Rate (LIBOR) หรือ Minimum Lending Rate
(MLR) และบวกสวนตาง (Spread หรือ Margin)ที่กาํ หนดไว
ƒ ดังนั้น การคํานวณ YTM จึงไมอาจทําได เพราะไมทราบกระแสเงินในอนาคต
ทีแ่ นนอน
ƒ วิธีคํานวณทีน
่ ยิ มกัน คือ คํานวณหา Effective Margin หรือ การประมาณคา
Spread หรือ Margin เฉลี่ยทีน่ ักลงทุนคาดวาจะไดรับตลอดอายุของการ
ลงทุน
16
Yield on Floating Rate Bond
ƒ วิธีคํานวณหา Effective Margin ทําไดดังนี้
1. กําหนดกระแสเงินในอนาคต โดยสมมติใหอัตราดอกเบี้ยอางอิงไมเปลี่ยนแปลง
ตลอดอายุของการลงทุน
2. กําหนด Margin หรือ Spread (หลายๆคา) ที่จะบวกกับอัตราดอกเบี้ยอางอิง เพื่อ
ใชเปนอัตราคิดลดคํานวณหาคาปจจุบันของกระแสเงินสด
3. คํานวณหามูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดทีไ่ ดจากอัตราคิดลดหลายๆคา
4. เปรียบเทียบมูลคาปจจุบันกับราคาตราสาร
5. เลือกคา Margin ที่มูลคาปจจุบันเทากับราคาตราสาร นั่นคือ Effective Margin
6. หากมูลคาปจจุบันไมเทากับราคาตราสาร ตองเปลี่ยนคา Margin คํานวณลองผิด
ลองถูกไปเรื่อยๆ
17
Yield on Floating Rate Bond
ƒ ตัวอยาง นักลงทุนซื้อตราสารประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัวอายุ 1 ป อัตรา
ดอกเบี้ย MLR+1 โดยกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหมทกุ 6 เดือน ราคา 1,001.90
บาท (MLR=6%) จงคํานวณหาอัตราผลตอบแทนของตราสาร
ชวง MLR Cash Flow PV ของ Cash Flowโดยใชอัตราคิดลด(MLR+Margin ตางๆ)
80(6.8%) 90(6.9%) 100(7%)
1 6% 35 33.8491 33.8328 33.8164
2 6% 1,035 968.0533 967.1178 966.1836
PV = 1,001.9024 1,000.9506 1,000.0000
ƒ Effective Margin คือ 80 Basis Point
ƒ นัน
่ คือ อัตราผลตอบแทนเทากับ MLR + 80 Basis Point (0.80%)
18
อัตราผลตอบแทนสุทธิ (Total Rate of Return )
ƒ เปนการคํานวณอัตราผลตอบแทน โดยใชหลักการวา เมื่อนักลงทุนซื้อ
ตราสารหนี้ จะไดรับดอกเบี้ยในระหวางที่ถือครองตราสารอยู และ
สามารถนําดอกเบี้ยที่ไดรับไปลงทุนตอในอัตราผลตอบแทนตางๆ และ
เมื่อขายตามระยะเวลาที่ตองการลงทุน (Investment Horizon)ก็อาจมี
กําไรหรือขาดทุนจากการที่ราคาของหุนกูมีการเปลี่ยนแปลงไปได
ƒ การคํานวณ Total Rate of Return มี 5 ขั้นตอน ดังนี้

19
อัตราผลตอบแทนสุทธิ (Total Rate of Return )
ƒ ขั้นตอนที่ 1 คํานวณหาดอกเบี้ยรับทั้งหมดในชวงที่จะลงทุน บวกดวย
ผลตอบแทนที่ไดจากการนําเอาดอกเบี้ยไปลงทุนตอในอัตราทีน่ กั ลงทุนคาดวา
จะไดรับ ( I )
ƒ สูตรการคํานวณ
I = C (1 + r )N – 1
r
โดย C = ดอกเบี้ยรับในแตละงวด 6 เดือน
r = อัตราดอกเบี้ยที่คาดวาจะไดรับเมือ่ นําดอกเบี้ย (C)ไปลงทุนตอ
N = จํานวนงวดการรับดอกเบี้ยจนครบระยะเวลาทีต่ องการลงทุน
(สําหรับ Semi-annual coupon bond งวดการรับดอกเบี้ยปละ 2 ครั้ง)
20
อัตราผลตอบแทนสุทธิ (Total Rate of Return )
ƒ ขั้นตอนที่ 2 กําหนดราคาตราสารที่คาดวาขายไดเมื่อครบกําหนด
ระยะเวลาที่ตองการลงทุน โดยราคาที่คาดวาจะขายไดจะเทากับ Cash
Flow ที่ยังเหลืออยู Discount ดวยอัตราผลตอบแทนที่คาดไว
ƒ ขั้นตอนที่ 3 นําเอาดอกเบี้ยรับรวมดอกเบี้ยจากการนําไปลงทุนตอ บวก
กับราคาที่คาดวาจะขายไดเมื่อครบกําหนด
ƒ ขั้นตอนที่ 4 คํานวณหา Total Rate of Return จากสูตร
Total cash value 1/n - 1
Purchase price of bond
ƒ ขั้นตอนที่ 5 Total Return ที่ไดสําหรับ 6 เดือน ตองคูณ 2 เปน Annual
21
อัตราผลตอบแทนสุทธิ (Total Rate of Return )
ƒ ตัวอยาง นักลงทุนมีแผนที่จะลงทุนในตราสารประมาณ 3 ป โดยจะซื้อ
ตราสารอายุ 5 ป อัตราดอกเบี้ย 8% ในราคา 900 บาท อัตราผลตอบแทน
(YTM) 10.6% นักลงทุนคาดวาจะนําเอาดอกเบี้ยไปลงทุนตอในอัตรา
10% และเมื่อครบกําหนด 3 ป คาดวาจะสามารถขายตราสารในอัตรา
ผลตอบแทน (YTM) ที่ 7% อัตราผลตอบแทนสุทธิ (Total Return)
ของตราสารนี้จะเปนเทาใด
ƒ ขั้นตอนที่ 1 คํานวณดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจากการลงทุนตอ
I = C (1 + r )N – 1
r
22
อัตราผลตอบแทนสุทธิ (Total Rate of Return )
I = 40 (1 + 0.05 )6 – 1 = 272.0765 บาท
0.05
ƒ ขั้นตอนที่ 2 คํานวณราคาตราสารที่คาดวาจะขายได = 1,018.3654
40 40 40 40 + 1,000
ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5
PV หรือ
P0 = 40 / (1+ .035)1
40 / (1+ .035)2
1,018.3654
40 / (1+ .035)3
บาท 40 / (1+ .035)4 + 1,000/ (1+ .035)4
23
อัตราผลตอบแทนสุทธิ (Total Rate of Return )
ƒ ขั้นตอนที่ 3 ผลตอบแทนที่เปนตัวเงินจากการลงทุน คือ
272.0765 + 1,018.3654 = 1,290.4419 บาท
ƒ ขั้นตอนที่ 4 คํานวณ Total Return
Total cash value 1/n - 1
Purchase price of bond
1,290.4419 1/6 - 1 = 0.061898 = 6.1898%
900
ƒ ขั้นตอนที่ 5 เปลี่ยนเปน Annual Total Return จะไดเทากับ 12.3795%

24
Measuring yield for Bond Portfolio: Weighted Average Yield

ƒ นักลงทุนทีม
่ ีพอรตการลงทุนในตราสารหนี้ตั้งแต 2 ตราสารขึน้ ไป ยอมสนใจที่จะ
คํานวณอัตราผลตอบแทนของพอรต วิธีการคํานวณหาอัตราผลตอบแทนมีหลาย
วิธี ไดแก Weighted average portfolio yield หรือ Portfolio internal rate of
return
ƒ ในที่นี้จะอธิบายวิธีคํานวณ Weighted average portfolio yield
ƒ สูตรการคํานวณ
r port = MV1r1 + MV2r2 + MV3r3 + . . . . . . . . . . . + MVnrn
โดย r port คือ อัตราผลตอบแทนเฉลีย่ ของพอรต
MVp คือ สัดสวนมูลคาตลาดของตราสาร p เทียบกับมูลคาตลาดของพอรต
r p คือ อัตราผลตอบแทน Yield to Maturity ของตราสาร p
n คือ จํานวนตราสารทีม่ ีในพอรตการลงทุน
25
Measuring yield for Bond Portfolio: Weighted Average Yield
ƒ ตัวอยาง พอรตการลงทุนหนึ่งลงทุนใน 3 ตราสารหนี้ ระยะเวลาครบกําหนด
ตั้งแต 5 ป ถึง 10 ป อัตราผลตอบแทนแตกตางกัน ตามรายละเอียดตาราง
ดานลาง จงคํานวณหาอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของพอรต
รายละเอียดตราสาร จํานวนลงทุน ราคา YTM มูลคาตลาด
(ลานหนวย) ตอหนวย % (ลานบาท)
1. Coupon 6% due 2005 0.5 103.15 1.35 51.58
2. Coupon 2.75% due 2008 0.5 98.36 3.20 49.18
3. Coupon 4% due 2013 0.5 92.55 5.01 46.28
รวมพอรตการลงทุน 147.04

26
Measuring yield for Bond Portfolio: Weighted Average Yield
ƒ มูลคาตลาดรวมของพอรต = 147.04 ลานบาท
ƒ คํานวณสัดสวนมูลคาตลาดของแตละตราสารเทียบกับมูลคาตลาดของ
พอรต
MV1 = 51.58 / 147.04 = 0.35 r1 = 1.35%
MV2 = 49.18 / 147.04 = 0.33 r2 = 3.20%
MV3 = 46.28 / 147.04 = 0.32 r3 = 5.01%
ƒ คํานวณหาอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของพอรต
r port = MV1r1 + MV2r2 + MV3r3 + . . . . . . . . . + MVnrn
= 0.35 (0.0135) + 0.33 (0.032) + 0.32 (0.0501)
= 0.031317 หรือเทากับ 3.1317%
27

You might also like