You are on page 1of 102

สาขา: อุตสาหการ วิชา: IE01 Industrial Work Study

ขอที่ : 1
ผลิตภาพของแรงงาน (Labor Productivity) คืออะไร
คําตอบ 1 : อัตราสวนระหวางปริมาณหนวยสินคาชนิดหนึ่งที่ผลิตไดตอเงินลงทุนทั้งหมดที่ใชในการผลิตสินคาทุกชนิด


คําตอบ 2 : อัตราสวนระหวางปริมาณหนวยสินคาทั้งหมดที่ผลิตไดในแตละปตอจํานวนชั่วโมงทํางานทั้งหมดของพนักงานทั้งหมดที่ใชในการผลิต

่ า
คําตอบ 3 : อัตราสวนระหวางปริมาณหนวยสินคาทั้งหมดที่ผลิตไดตอวัตถุดิบทั้งหมดที่ใชในการผลิต


คําตอบ 4 : อัตราสวนระหวางปริมาณหนวยสินคาทั้งหมดที่ผลิตไดตอจํานวนเครื่องจักรทั้งหมดที่ใชในการผลิต

ขอที่ : 2

จ ำ ห

ดัชนีผลิตภาพโดยเฉลี่ย (Average Productivity Index) ของพนักงานแตละคนสามารถหาไดอยางไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เวลามาตรฐานโดยรวมในการผลิตสินคาชนิดหนึ่งโดยพนักงานทั้งหมดหารดวยเวลารวมทั้งหมดที่ใชสําหรับผลิตสินคานั้น แลวคูณดวย 100
คําตอบ 2 : จํานวนหนวยสินคาทุกชนิดที่ผลิตในชวงเวลาที่กําหนด หารดวยจํานวนพนักงานทั้งหมดในชวงเวลาที่กําหนดนั้น
คําตอบ 3 : จํานวนเฉลี่ยของหนวยสินคาชนิดหนึ่งที่ผลิตโดยพนักงานคนหนึ่ง ๆ ในชวงเวลาที่กําหนด

ิท
คําตอบ 4 : จํานวนหนวยสินคาที่ผลิตในชวงเวลาใด ๆ หารดวยจํานวนพนักงานทั้งหมดของหนวยงานนั้น

นส

ขอที่ : 3


การศึกษาวิธีการทํางาน (Method Study) หมายถึงอะไร

คําตอบ 1 :

อ ส
การศึกษาขั้นตอนวิธีการทํางานของคนงานและเครื่องจักรพรอมกันเพื่อทําใหผลผลิตสูงสุด โดยวิเคราะหหาเวลามาตรฐานในการทํางานเพื่อใชวัดประสิทธิภาพของ


พนักงานแตละคน

กร
การศึกษาวิธีการทํางานอยางเปนระบบโดยมีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาวิธีการทํางานใหเปนมาตรฐานทําใหเกิดการทํางานที่ดีที่สุดโดยตั้งมาตรฐานเวลาในการทํางานและ
คําตอบ 2 :
ฝกหัดคนงานใหทํางานตามที่กําหนดไว


ิ ว
คําตอบ 3 : การศึกษาระบบและขั้นตอนการทํางานโดยมีจุดมุงหมายเพื่อลดตนทุนการผลิตและทําใหคนงานทํางานไดรวดเร็วมากขึ้น

าว
คําตอบ 4 : การศึกษาการทํางานอยางใดอยางหนึ่งของคนงาน เครื่องจักร และอุปกรณตาง ๆ ในการผลิตเพื่อลดเวลาที่ใชผลิตและชวยประหยัดทรัพยากรตาง ๆ

ขอที่ : 4

ส ภ
ใครไดรับการยกยองใหเปน บิดาแหงการศึกษาการเคลื่อนไหว
คําตอบ 1 : Frederick W. Taylor
คําตอบ 2 : Arthur E. Mudth
คําตอบ 3 : Maslow
คําตอบ 4 : Frank B. Gilbreth
1 of 102

ขอที่ : 5
ประโยคตอไปนี้ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : การเพิ่มผลผลิต คือ อัตราสวนระหวางปริมาณของหนวยที่ผลิตไดตอคน
คําตอบ 2 : เออรกอนอมิกส เปนการศึกษาระหวางคนและสิ่งแวดลอม
คําตอบ 3 : การศึกษาเวลาเรียกอีกอยางหนึ่งวา การวัดผลงาน
คําตอบ 4 : การหยุดเนื่องจากเครื่องจักรเสีย ถือวาเปนการหยุดพักใหกับพนักงาน

่ า ย
ขอที่ : 6


ขอใดตอไปนี้ไมใชหลักการเพิ่มผลผลิตที่เกี่ยวของกับตัวพนักงานโดยเนนที่พนักงาน


คําตอบ 1 : CAD/CAM

จ ำ
คําตอบ 2 : QCC


คําตอบ 3 : TQM

า้
คําตอบ 4 : TPM

ขอที่ : 7
ิธ์ ห
ิท
ขอใดตอไปนี้ ถือวาเปนการเพิ่มผลผลิตของวัสดุ (Material Productivity)


คําตอบ 1 : ดําสามารถพับถุงไดมากขึ้น 20 ใบตอวัน

ว น
คําตอบ 2 : กิ่งขายขาวแกงไดกําไรเพิ่มขึ้น 200 บาท


คําตอบ 3 : ปานวลเอาเศษผาที่ตัดเสื้อมาทําที่เช็ดเทา


คําตอบ 4 : พี่แววขายสมตําดีมาก จึงไปซื้อมะละกอมาเพิ่มอีก 5 กิโลกรัม

ขอ
กร
ขอที่ : 8


องคประกอบที่สําคัญที่สุดของการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา คืออะไร



คําตอบ 1 : สถานที่ปฏิบัติงาน

าว
คําตอบ 2 : เครื่องจักร


คําตอบ 3 : อุปกรณขนถายวัสดุ


คําตอบ 4 : คน

ขอที่ : 9
ความหมายของ “พนักงานปกติ (Normal Worker)” ในศาสตรของการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา (Motion and Time Study) คืออะไร
คําตอบ 1 : พนักงานที่มีทักษะอยูในเกณฑเฉลี่ยและใชความพยายามในระดับปานกลางทํางานนั้น ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับพนักงานทั้งหมด
คําตอบ 2 : พนักงานที่ไมผิดปกติทางดานความคิดและมีสุขภาพสมบรูณแข็งแรง
2 of 102
คําตอบ 3 : พนักงานที่สามารถทํางานไดตามปกติโดยอาจจะทํางานไดมากหรือนอยบางตามสภาวะจิตใจของพนักงานคนนั้น ๆ
คําตอบ 4 : พนักงานที่ทํางานแบบเดิมเปนประจําโดยไมเคยเปลี่ยนไปทํางานประเภทอื่น ๆ เลย

ขอที่ : 10
Time Study เรียกอีกอยางหนึ่งวาอะไร
คําตอบ 1 : Motion Study
คําตอบ 2 :


Work Study

่ า
คําตอบ 3 : Work Measurement


คําตอบ 4 : Time Measurement

ขอที่ : 11

จ ำ ห

การวัดผลงาน (Work Measurement) หมายถึงขอใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การหาเวลาในการทํางาน
คําตอบ 2 : การวัดประสิทธิภาพในการทํางาน
คําตอบ 3 : การวัดหาปริมาณงาน

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2, และ 3 ถูก

นส

ขอที่ : 12


เวลามาตรฐาน (Standard Time) คืออะไร
คําตอบ 1 :

อ ส
เวลาในการทํางานเฉลี่ยของกลุมพนักงาน


คําตอบ 2 : เวลาในการผลิตตอหนวยตอวัน

กร
คําตอบ 3 : เวลาการทํางานพื้นฐาน (Basic หรือ Normal time) ที่มีการคิดรวมคาเวลาเผื่อหรือเวลาลดหยอน (Allowance time) ในการทํางาน


คําตอบ 4 : จํานวนหนวยที่ผลิตไดตอเวลาหนึ่งหนวย

ขอที่ : 13

าว ศ


เวลาจริง (Actual หรือ Real หรือ Observed หรือ Subtracted Time) ในศาสตรของการศึกษาเวลาหรือการวัดงานหมายถึงอะไร


คําตอบ 1 : เวลาที่ใชจริง ๆ ในการทํางาน ซึ่งไดจากการจับเวลาการทํางานของคนงานที่เลือกมา
คําตอบ 2 : เวลาที่ใชในการทํางานของคนงานและเครื่องจักร โดยที่คนงานอาจจะตองรอคอยการทํางานของเครื่องจักรในบางชวงเวลา
คําตอบ 3 : เวลาการทํางานจริงของหัวหนางานในการตรวจสอบการทํางานของคนงานที่ตนควบคุมดูแล
คําตอบ 4 : เวลาที่คนงานใชในการผลิตชิ้นงานหนึ่ง ๆ โดยไมรวมเวลาขนยายชิ้นงานจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง

ขอที่ : 14 3 of 102
เวลาปกติ (Basic หรือ Normal Time) ในศาสตรของการศึกษาเวลาหรือการวัดงานหมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : เวลาที่คนงานและเครื่องจักรใชในการทํางานปกติรวมกันในชวงเวลาหนึ่ง ๆ ของการทํางานนั้น ๆ
คําตอบ 2 : เวลาที่ควรใชในการทํางานของคนงานที่มีประสิทธิภาพปกติในสภาวะแวดลอมที่เปนปกติ
คําตอบ 3 : เวลาที่คนงาน (ไมรวมเครื่องจักร) ใชทํางานหนึ่ง ๆ ในสภาวะแวดลอมปกติหรือไมปกติก็ได
คําตอบ 4 : เวลาที่คนงานใชตรวจสอบเครื่องจักรที่ใชในการผลิตชิ้นงานวาสามารถทํางานไดปกติหรือไม

ขอที่ : 15

่ า ย
เวลามาตรฐาน (Standard Time) ในศาสตรของการศึกษาเวลาหรือการวัดงานหมายถึงอะไร


คําตอบ 1 : เวลาที่คนงานและเครื่องจักรใชในการทํางานปกติรวมกันในชวงเวลาหนึ่ง ๆ ของการทํางานนั้น ๆ


คําตอบ 2 : เวลาที่ควรใชในการทํางานของคนงานที่มีประสิทธิภาพปกติในสภาวะแวดลอมที่เปนปกติ

จ ำ
คําตอบ 3 : เวลาที่คนงานใชทํางานหนึ่ง ๆ ที่ตองทําการศึกษาในสภาวะแวดลอมปกติหรือไมปกติก็ไดแตตองไมรวมเวลาลดหยอน


คําตอบ 4 : เวลาที่ควรใชในการทํางานของคนงานที่มีประสิทธิภาพปกติในสภาวะแวดลอมที่เปนปกติโดยรวมเวลาเผื่อหรือเวลาลดหยอน (Allowance Time) ดวย

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 16
Motion Study เรียกอีกอยางหนึ่งวาอะไร

ิท
คําตอบ 1 : Time Study


คําตอบ 2 : Time Measurement

ว น
คําตอบ 3 : Work Measurement


คําตอบ 4 : Method Study

อ ส

ขอที่ : 17

กร
องคประกอบเบื้องตนในการทํางานคืออะไร


คําตอบ 1 : Input, Process และ Output



คําตอบ 2 : Raw Materials, Man และ Machine

าว
คําตอบ 3 : Raw Materials, Process และ Product


คําตอบ 4 : Input, Method และ Output

ขอที่ : 18

ขอใดตอไปนี้ไมสัมพันธกัน
คําตอบ 1 : การศึกษาวิธีการทํางาน และ วิธีการทํางานมาตรฐาน
คําตอบ 2 : การศึกษาเวลา และ เวลามาตรฐาน
คําตอบ 3 : การปรับปรุงการทํางาน และวิธีการทํางานมาตรฐานอันใหม
4 of 102
คําตอบ 4 : การปรับปรุงการทํางาน และการผลิตผลิตภัณฑตัวใหม
ขอที่ : 19
ขอใดตอไปนี้จัดเปนสวนสนับสนุนใหการผลิตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
คําตอบ 1 : เครื่องจักร
คําตอบ 2 : วัสดุ
คําตอบ 3 : แสงสวาง


คําตอบ 4 : วัตถุดิบ

น่ า

ขอที่ : 20


ดัชนีประเมินผลตัวใดที่พิจารณาถึงการสงสินคาไดทันตามที่ลูกคาตองการ
คําตอบ 1 : ประสิทธิภาพ (Efficiency)

มจ
า้
คําตอบ 2 : ประสิทธิผล (Effectiveness)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : สมรรถนะ (Performance)
คําตอบ 4 : ผลิตภาพ (Productivity)

ขอที่ : 21

ส ิท
ว น
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง


คําตอบ 1 : งานสวนเกินที่เกิดขึ้นจากการออกแบบ ทําใหการประกอบผลิตภัณฑทําไดยากขึ้น


คําตอบ 2 : งานสวนเกินที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาดของคน ทําใหคนงานเกิดความเมื่อยลา


คําตอบ 3 : งานสวนเกินที่เกิดขึ้นจากวิธีการทํางานที่ไมมีประสิทธิภาพ ทําใหทํางานไดชากวาที่กําหนด
คําตอบ 4 :

กร ข
งานสุทธิ (Net หรือ Basic Work) คือสวนของงานที่จําเปน หรืองานสวนที่เหลือจากการตัดงานสวนเกินตางๆ ออกแลว

ขอที่ : 22


ิ ว
าว
ขอใดกลาวไมถูกตอง


คําตอบ 1 : วิชา Work Study ประกอบดวย 2 สวนคือ Methods Design และ Work Measurement


คําตอบ 2 : นักคิดหรือนักวิชาการที่มีสวนเกี่ยวของกับวิชา Work Study ที่จะตองกลาวถึง คือ Deming และ Juran
คําตอบ 3 : ประสิทธิผล (Effectiveness) เปนองศาของความสําเร็จในการบรรลุเปาหมาย
คําตอบ 4 : ผลิตภาพ (Productivity) ไมไดวัดออกมาเปนเปอรเซ็นต แตสามารถวัดออกมาเปนตัวเลขที่ไมจําเปนตองนอยกวาหนึ่ง

ขอที่ : 23
ขอใดที่ไมเกี่ยวของและ/หรือสอดคลองกับขออื่น ๆ
5 of 102
คําตอบ 1 : Work Sampling
คําตอบ 2 : Activity Sampling
คําตอบ 3 : Random Observation
คําตอบ 4 : Stop Watch Time Study

ขอที่ : 24
ขอใดคือความหมายของงานภายนอก (Outside Work) เมื่อคนทํางานรวมกับเครื่องจักร
คําตอบ 1 : คนงานหยุดทํางานขณะที่เครื่องจักรทํางาน

่ า ย

คําตอบ 2 : คนงานทํางานในขณะที่เครื่องจักรทํางาน


คําตอบ 3 : คนงานทํางานในขณะที่เครื่องจักรหยุด

จ ำ
คําตอบ 4 : คนงานและเครื่องจักรหยุดทํางาน

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
25
ขอใดคือความหมายของงานภายใน (Inside Work) เมื่อคนทํางานรวมกับเครื่องจักร
คําตอบ 1 : คนงานทํางานในขณะที่เครื่องจักรทํางาน

ิท
คําตอบ 2 : คนงานและเครื่องจักรหยุดทํางาน


คําตอบ 3 : คนงานหยุดในขณะที่เครื่องจักรทํางาน

ว น
คําตอบ 4 : คนงานทํางานในขณะที่เครื่องจักรหยุดทํางาน

ส ง

ขอที่ : 26


เวลาที่เครื่องจักรเดินที่มาตรฐาน (Machine Running Time at Standard) หมายถึงอะไร

กร
คําตอบ 1 : เวลาที่เครื่องจักรทํางานทั้งหมด


คําตอบ 2 : เวลาที่เดินเครื่องจักรในสภาวะทั่วไป



คําตอบ 3 : เวลาที่เครื่องจักรมีไวทํางาน

าว
คําตอบ 4 : เวลาที่เดินเครื่องในการทํางานจริงที่สภาพเครื่องจักรที่ดีที่สุด

ขอที่ : 27

ส ภ
จงเรียงลําดับการศึกษาการทํางาน

1. นิยาม 2. วัด 3. ตรวจ 4. ใชงาน 5. เลือก 6. ดํารง 7. บันทึก


คําตอบ 1 : 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7
คําตอบ 2 : 1, 4, 2, 5, 3, 7, 6
คําตอบ 3 : 5, 7, 3, 2, 1, 4, 6 6 of 102

คําตอบ 4 : 5, 1, 2, 3, 7, 6, 4
ขอที่ : 28
การศึกษาการทํางาน (Work Study) ประกอบดวยอะไรบาง
คําตอบ 1 : การจัดการโรงงานและการศึกษากรรมวิธีการทํางาน
คําตอบ 2 : การบํารุงรักษาและการควบคุมคุณภาพ
คําตอบ 3 : การศึกษาการผลิตและการประเมินคุณภาพ


คําตอบ 4 : การศึกษาวิธีการทํางานและการวัดผลงาน

น่ า

ขอที่ : 29


การออกแบบวิธีการผลิตผลิตภัณฑใหม (Method Design) ในศาสตรการศึกษางาน สามารถแบงเปน 3 ขั้นตอน นั้น มีขั้นตอนใดบาง
คําตอบ 1 : การสํารวจความตองการของลูกคา การผลิตผลิตภัณฑ และ การสงมอบผลิตภัณฑ

มจ
า้
คําตอบ 2 : การวางแผนการผลิต การเตรียมการผลิต และ การผลิต

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การออกแบบผลิตภัณฑ การจัดการการผลิต และ การผลิต
คําตอบ 4 : การวางแผนดานวัสดุ การวางแผนดานการผลิต และ การผลิต

ขอที่ : 30

ส ิท
ว น
การออกแบบวิธีทํางานสําหรับผลิตผลิตภัณฑใหมจะตองมีการวางแผนการผลิต ซึ่งมีขั้นตอนพื้นฐาน 6 ขั้นตอน คือขั้นตอนใดบาง


คําตอบ 1 : การรวบรวมขอมูลความตองการของลูกคา การจัดซื้อวัตถุดิบ การเตรียมเครื่องจักร/อุปกรณ การกําหนดวันเริ่มผลิต การควบคุมคุณภาพ และ การสงมอบสินคา


คําตอบ 2 : การวิเคราะหตลาด การจัดเตรียมวัตถุดิบ การจัดเตรียมเครื่องจักร/อุปกรณ การจัดเตรียมคนงาน การผลิตผลิตภัณฑ และ การควบคุมคุณภาพ


คําตอบ 3 : การจัดเตรียมวัตถุดิบ การจัดเตรียมเครื่องจักร การจัดเตรียมคนงาน การทดสอบระบบการผลิต การดําเนินการผลิต และ การตรวจสอบคุณภาพ
คําตอบ 4 :

กร ข
การออกแบบผลิตภัณฑ การออกแบบกระบวนการผลิต การออกแบบวิธีทํางาน การออกแบบเครื่องมือ/อุปกรณ การออกแบบผังโรงงาน และ การกําหนดเวลามาตรฐาน

ขอที่ : 31


ิ ว
าว
ขอใดตอไปนี้ เปนการออกแบบการทํางานที่ทําใหการทํางานนั้นงายขึ้น


คําตอบ 1 : สุดา ซื้อผาสาลูมาทําผาออมเพราะซักงาย และแหงเร็ว


คําตอบ 2 : แกวทําพื้นบานเปนแบบหินออน เพราะงายตอการดูแลรักษา
คําตอบ 3 : วุฒิจะรีดผาทีละมากๆ เพื่อจะไดประหยัดคาไฟฟา
คําตอบ 4 : เปยกใชรถเข็นเพื่อสงผักใหลูกคา

ขอที่ : 32
ในการออกแบบสถานีงาน (Work Station Design) ควรคํานึงถึงในขอใด
7 of 102
คําตอบ 1 : Man Space
คําตอบ 2 : Machine Utilization
คําตอบ 3 : Materials Handling
คําตอบ 4 : Working Method

ขอที่ : 33
สิ่งที่ควรคํานึงถึงในการออกแบบวิธีทํางาน (Method Design) คืออะไร
คําตอบ 1 : Body Movement

่ า ย

คําตอบ 2 : Operator Movement


คําตอบ 3 : Materials Handling

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
34
ขอใดคือหลักขั้นตนในการออกแบบการทํางานในดานคาใชจายของการผลิตผลิตภัณฑตัวใหม
คําตอบ 1 : ใชเครื่องจักรที่ทันสมัยในการผลิตจํานวนมากจะทําใหตนทุนต่ําลง

ิท
คําตอบ 2 : ใชคนและเครื่องจักรใหนอยที่สุด


คําตอบ 3 : มีคาใชจายต่ําสุด เกิดจากการใชเครื่องจักร อุปกรณและสถานีงานที่มีรูปแบบงาย ๆ

ว น
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ส ง

ขอที่ : 35


การผลิตสินคาชนิดหนึ่งจะตองผลิตใน 4 สถานี โดยทําการผลิตตามลําดับ (แบบอนุกรม) จงระบุวาสถานีใดเปนจุดคอขวด สถานีที่ 1 ใชเวลาทํางาน 5 นาที สถานีที่ 2 ใชเวลาทํางาน

กร
8 นาที สถานีที่ 3 ใชเวลาทํางาน 22 นาที สถานีที่ 4 ใชเวลาทํางาน 15 นาที


คําตอบ 1 : สถานีที่ 1



คําตอบ 2 : สถานีที่ 2

าว
คําตอบ 3 : สถานีที่ 3


คําตอบ 4 : สถานีที่ 4

ขอที่ : 36

คอคอดหรือคอขวดในกระบวนการผลิตคืออะไร
คําตอบ 1 : จุด 2 จุด หยุดชะงักหรือขัดของพรอมกัน
คําตอบ 2 : กระบวนการผลิตทั้งหมดหยุดชะงัก
คําตอบ 3 : กระบวนการผลิตขั้นตอนสุดทายหยุดชะงัก
คําตอบ 4 : จุดใดจุดหนึ่งซึ่งมีผลใหการปฎิบัติการผลิต ณ จุดตอ ๆ ไปหยุดชะงักหรือขัดของ 8 of 102
ขอที่ : 37
ขอที่สําคัญที่สุดที่ตองทํากอน ในการออกแบบวิธีการทํางานหรือศึกษาวิธีการดําเนินงานคือขอใด
คําตอบ 1 : แปลงขอมูลจากตัวผลิตภัณฑใหเปนขั้นตอนการทํางานเบื้องตน
คําตอบ 2 : กําหนดจุดเริ่มตนและสิ้นสุดของงานใหแนชัด
คําตอบ 3 : ทําความเขาใจกับสัญลักษณที่ใชบันทึกขั้นตอนการทํางาน


คําตอบ 4 : ตรวจสอบขอมูลที่บันทึกกับขั้นตอนการทํางานจริง

น่ า

ขอที่ : 38


การออกแบบกระบวนการผลิตสามารถใชขอมูลจากขอใดได
คําตอบ 1 : Assembly Drawing

มจ
า้
คําตอบ 2 : ชิ้นสวนตนแบบ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : กระบวนการผลิตของผลิตภัณฑที่คลายกัน
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2, และ 3 ถูก

ขอที่ : 39

ส ิท
ว น
สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบวิธีการทํางาน (Method Design) คือขอใด


คําตอบ 1 : ความสูงพนักงาน


คําตอบ 2 : ตําแหนงการวางชิ้นงาน


คําตอบ 3 : การเขา - ออก ของวัตถุดิบ
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

กร ข
ขอที่ : 40


ิ ว
าว
การออกแบบกระบวนการผลิตที่เหมาะสมจะมีผลอยางไรตอขั้นตอนการผลิต


คําตอบ 1 : ไมมีการเคลื่อนที่ยอนกลับในกระบวนการผลิต


คําตอบ 2 : ไมมี Work In Process เมื่อสิ้นสุดการทํางานใน 1 วัน
คําตอบ 3 : ไมมีของเสียในกระบวนการผลิต
คําตอบ 4 : พนักงานไมเมื่อยลา

ขอที่ : 41
ขอใดเปนการออกแบบวิธีการทํางานที่ถูกตอง
9 of 102
คําตอบ 1 : ผลิตภัณฑน้ําหนัก 5 กิโลกรัมเคลื่อนที่บนสายพานลําเลียง และถูกยกลงมาประกอบตอบนโตะ เพื่อลดปญหาคอขวด
คําตอบ 2 : หนาจอแสดงผลและปุมควบคุมอยูที่ระดับสายตา เพื่อใหมือและตาทํางานสอดคลองกัน
คําตอบ 3 : ใชมือซาย-ขวาชวยกันจับยึดชิ้นงาน
คําตอบ 4 : ใช V-Block ในการตั้งตําแหนงชิ้นงานทรงกลม

ขอที่ : 42
งานขอใดที่ไมควรถูกเลือกมาทําการปรับปรุงโดยใชศาสตรการศึกษางาน
คําตอบ 1 : งานที่เปนคอขวด

่ า ย

คําตอบ 2 : งานที่มีความสูญเปลาจากการเคลื่อนยาย


คําตอบ 3 : งานที่มีความสูญเปลาจากเครื่องรอคน

จ ำ
คําตอบ 4 : งานที่มีความสูญเปลาจากการผลิตมากเกินไป

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
43
ขอใดจัดเปนการออกแบบวิธีการทํางานในขั้นการวางแผนของการออกแบบการทํางาน
คําตอบ 1 : การพิจารณาลําดับของขั้นตอน

ิท
คําตอบ 2 : การกําหนดขนาดพื้นที่


คําตอบ 3 : การพิจารณาวาพนักงานจะทํางานอยางไร

ว น
คําตอบ 4 : การพิจารณาสิ่งแวดลอมในการทํางาน

ส ง

ขอที่ : 44


การนําวิธีการทํางานที่ออกแบบไปใชอยูในขั้นตอนใดของการออกแบบการทํางานและสิ่งที่ควรปฏิบัติในขั้นตอนนี้คือขอใด

กร
คําตอบ 1 : Production – Verification of method-time relation


คําตอบ 2 : Preproduction - Verification of method-time relation



คําตอบ 3 : Production – Correction of production condition

าว
คําตอบ 4 : Preproduction – Correction of production condition

ขอที่ : 45

ส ภ
ในการพัฒนาหรือปรับปรุงวิธีการทํางานควรคํานึงถึงขอใด
คําตอบ 1 : หลัก Eliminate, Simplify, Combine, Rearrange
คําตอบ 2 : หลัก QCC
คําตอบ 3 : หลัก 5ส
คําตอบ 4 : หลัก 7 Wastes
10 of 102
ขอที่ : 46
การทดลองใชวัสดุและอุปกรณเพื่อการผลิต อยูในขั้นตอนใดของการออกแบบการทํางาน
คําตอบ 1 : Planning
คําตอบ 2 : Prototype
คําตอบ 3 : Preproduction
คําตอบ 4 : Production

่ า ย

ขอที่ : 47


ในการออกแบบวิธีการทํางานใหม ควรคํานึงถึงขอใด

จ ำ
คําตอบ 1 : หลัก ESCR


คําตอบ 2 : หลัก 5R

า้
คําตอบ 3 : หลัก 5ส

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ ขอ 2

ิท
ขอที่ : 48


พื้นที่ทํางานสูงสุด (Maximum Working Areas) ในการวิเคราะหการเคลื่อนไหวโดยหลักการประหยัดการเคลื่อนไหว (Principle of Motion Economy) เปนอยางไร

ว น
คําตอบ 1 : เปนพื้นที่ที่คนงานสามารถเอื้อมมือ แขนบน และแขนลางไปถึงได โดยไมตองโนมตัวไปดวย


คําตอบ 2 : เปนพื้นที่เฉพาะบริเวณทํางานของคนงานแตละคนที่จะเดินไปมาในขณะทํางาน


คําตอบ 3 : เปนพื้นที่ภายในโรงงานที่คนงานสามารถเดินไปมาไดมากที่สุดในขณะทํางาน


คําตอบ 4 : เปนพื้นที่ใด ๆ ของโรงงานที่คนงานสามารถเคลื่อนตนเองไปไดขณะทํางาน

กร ข

ขอที่ : 49



ขอใดไมใชหลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการใชสวนตาง ๆ ของรางกาย

าว
คําตอบ 1 : มือทั้งสองขางควรจะเริ่มตนและหยุดการเคลื่อนไหวพรอมกัน


คําตอบ 2 : แขนทั้งสองขางควรเคลื่อนไหวในทิศทางตรงขามกันพรอมกันและสมมาตรกัน


คําตอบ 3 : มือควรสามารถเคลื่อนไหวโดยเคลื่อนแบบซิกแซกหรือเคลื่อนเปนเสนตรงแลวเปลี่ยนทิศทางอยางรวดเร็วได
คําตอบ 4 : มือทั้งสองขางไมควรวางงานพรอมกัน ยกเวนเวลาพัก

ขอที่ : 50
ขอใดเปนหลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ
คําตอบ 1 : การใชเครื่องพิมพดีดควรเคลื่อนไหวนิ้วมือแบบราบรื่น ไมซิกแซก หรือ เปลี่ยนทิศทางอยางรวดเร็วเพื่อลดความเมื่อยลา
11 of 102
คําตอบ 2 : ควรใชงานเครื่องจักรตาง ๆ ที่ความเร็วรอบที่เหมาะสมเพื่อยืดอายุการใชงานของเครื่องจักร
คําตอบ 3 : อุปกรณชวยงาน เชน คานงัด (Levers) ชะแลง (Crossbars) ควรวางไวในตําแหนงที่คนงานตองขยับตัวไดคอนขางมากเพื่อเพิ่มการไดเปรียบเชิงกล
คําตอบ 4 : เครื่องมือและวัสดุควรวางในลักษณะเตรียมวางเขาที่ (Pre-position)

ขอที่ : 51
ขัอใดตอไปนี้ ไมใชหลักการทํางานเพื่อใหเกิดการประหยัดการเคลื่อนไหว
คําตอบ 1 : มือทั้ง 2 ขางตองไมวางในเวลาเดียวกัน ยกเวนตอนพักงาน
คําตอบ 2 : มือทั้ง 2 ขางตองเริ่มตน และสิ้นสุดการเคลื่อนไหวไมพรอมกัน

่ า ย

คําตอบ 3 : การเคลื่อนไหวของแขนและมือแบบวงโคงตอเนื่อง จะนิยมมากกวาแบบเสนตรง


คําตอบ 4 : ควรพิจารณาจังหวะและทาทางในการทํางาน ของพนักงานประกอบ

จ ำ

ขอที่ :

า้
52
จงระบุวาขอใดเปนประโยชนโดยตรงตอคนงานเมื่อจัดวิธีการทํางานในขั้นตอนประกอบโบลทและแหวน (Bolt and Washer) โดยใหแขนทั้งสองขางของคนงานเคลื่อนไหวในทิศทาง

ิธ์ ห
ตรงขามกัน พรอมกัน และ สมมาตรกัน
คําตอบ 1 : ชวยลดการสะเทือนบนรางกายทําใหคนงานสามารถปฏิบัติงานโดยไมตองใชความพยายามทางรางกายและจิตใจมากนัก

ิท
คําตอบ 2 : ชวยเสริมสรางความมีสมาธิแกคนงานในขณะปฏิบัติงานเพราะตองระมัดระวังชิ้นสวนตาง ๆ หลนจากโตะทํางาน


คําตอบ 3 : ชวยเพิ่มความสามารถของกลามเนื้อแขนของคนงานในการจับและเคลื่อนยายชิ้นสวน โบลท และ แหวน เพื่อนํามาประกอบกัน


คําตอบ 4 : ชวยลดเวลาในการปฏิบัติงาน ทําใหคนงานมีเวลาไปทํางานอื่น ๆ ซึ่งเปนการเพิ่มประสิทธิผลใหกับองคกร

ง ว

ขอที่ :


53


การเคลื่อนไหวของมือควรจะเคลื่อนไหวใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได เปนแนวทางหนึ่งของการประหยัดการเคลื่อนไหว ซึ่งอยูในหลักการขอใด

กร
คําตอบ 1 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการจัดสถานที่ทํางาน


คําตอบ 2 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการใชสวนตาง ๆ ของรางกาย



คําตอบ 3 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องมือ และ อุปกรณ

าว
คําตอบ 4 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการใชอุปกรณพิเศษในการทํางานของคนงาน

ขอที่ : 54

ส ภ
ขอใดเปนการใชโมเมนตัม (Momentum) ชวยทํางาน
คําตอบ 1 : การใชมือดันกลองบรรจุขวดน้ําหวานที่ไหลลงมาจากทางลาดเอียงใหหยุดไหลเพื่อปดฝากลอง
คําตอบ 2 : การขันสกรูขนาดเล็กดวยไขควง
คําตอบ 3 : คนงานผลักกลองบรรจุขวดน้ําหวานที่ไหลมาบนลูกกลิ้งใหเคลื่อนไปยังขั้นตอนการผลิตตอไป
คําตอบ 4 : การยกกลองบรรจุขวดน้ําหวานวางบนโตะทํางานเพื่อปดฝากลอง
12 of 102
ขอที่ : 55
เครื่องมือและวัสดุตองมีที่วางที่แนนอนไมเคลื่อนยายไปมาเพื่อชวยใหคนงานมีนิสัยในการวางเครื่องมือและวัสดุใหเปนระเบียบ อีกทั้งชวยใหเกิดการปรับปรุงการทํางานใหดีขึ้นโดย
อัตโนมัตินั้นเปนแนวทางหนึ่งของการประหยัดการเคลื่อนไหว ซึ่งอยูในหลักการขอใด
คําตอบ 1 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการใชสวนตาง ๆ ของรางกาย
คําตอบ 2 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องมือ และ อุปกรณ
คําตอบ 3 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการใชอุปกรณพิเศษในการทํางานของคนงาน


คําตอบ 4 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการจัดสถานที่ทํางาน

น่ า

ขอที่ : 56


โดยทั่วไปคนทั่วไปมักจะทํางานโดยใชมือขางใดขางหนึ่งที่ตนถนัดทํางาน เชน การประกอบโบลตและแหวน (Bolts and Washers) มือขางหนึ่งจะถือชิ้นสวน (โบลต) ที่เริ่มประกอบ


ไวเฉยๆ สวนมืออีกขางหนึ่งจะมีการเคลื่อนไหวไปหยิบชิ้นสวนตางๆ (แหวน) มาประกอบเขากับชิ้นสวนที่ถืออยู ซึ่งการทํางานอยางนี้ไมเปนที่พึงปรารถนา เพราะเปนการใชมือขาง


เดียวทํางาน จากการที่มืออีกขางหนึ่งถือชิ้นสวน (โบลต) ไวเฉยๆ ดังนั้นจึงมีการวิเคราะหการทํางานของมือทั้งสองขางดวยแผนภูมิมือขวาและมือซาย (Left and Right Hand

า้
Chart) อยากทราบวาการวิเคราะหดังกลาวจะเกิดประโยชนอยางไร

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ชวยประหยัดการเคลื่อนไหวของมือทั้งสองขางโดยใหมือทั้งสองขางเริ่มตนและหยุดการเคลื่อนไหวพรอมกัน อีกทั้งมือทั้งสองขางไมควรวางงานพรอมกัน
คําตอบ 2 : ลดการทํางานของมือขางที่คนงานถนัดทําใหคนงานไมเมื่อยลามากเกินไป ซึ่งจะเกิดผลเสียตอคุณภาพของงานที่ทําอยูและอาจจะเกิดอันตรายตอคนงานได

ิท
การใชแผนภูมิมือขวาและมือซายมาวิเคราะหการทํางานจะมีประโยชนตอการทํางานในทุกสวนงานขององคกรโดยทําใหทราบวาการทํางานจะเกิดความสูญเสียอยางไร
คําตอบ 3 :


บาง


คําตอบ 4 : เพื่อเพิ่มความสะดวกแกผูบริหารองคกรในการบริหารงานบุคคลใหคนงานทํางานอยางมีความสมดุล ซึ่งจะชวยใหการผลิตสินคามีคุณภาพเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

ง ว

ขอที่ : 57


การสงชิ้นงานโดยปลอยลงไป (Drop Deliveries) ควรใชในการทํางานเพื่อประโยชนอะไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

กร ข
ลดการใชมือทั้งสองขางในการยกชิ้นงานที่ทําเสร็จไปวางในตําแหนงที่ตองการ อีกทั้งยังสามารถประหยัดเวลาการทํางานของคนงานได
ชวยใหคนงานพัฒนาการทํางานไดอยางสม่ําเสมอและตอเนื่องตลอดเวลา อีกทั้งยังชวยใหผูปฏิบัติงานในขั้นตอนอื่น ๆ ทํางานไดงายขึ้น


ิ ว
คําตอบ 3 : ลดความพยายามในการจัดลําดับการทํางานของฝายวางแผนการผลิต อีกทั้งยังชวยใหการทํางานของคนงานแลวเสร็จตามกําหนดการมากขึ้น

าว
คําตอบ 4 : ชวยเสริมสรางใหคนงานทุก ๆ คนในองคกรเขาใจหลักการทํางานที่เหมาะสมและชวยลดของเสียที่เกิดขึ้นได

ขอที่ : 58

ส ภ
ในการประกอบนอต แหวน และ โบลท (Nut, Washer, and Bolt) ตามลําดับ โดยกลองที่ใชใส นอต แหวน และ โบลท จะมีจํานวนสองชุดวางไวทางดานซายมือและดานขวามือของ
คนงาน และกลองที่ใสนอตจะถูกวางไวหางจากตําแหนงที่คนงานยืนอยูไกลที่สุด (แตคนงานยังสามารถเอื้อมมือไปหยิบนอตได) ถัดมาจะวางกลองที่ใสแหวนและกลองที่ใสโบลทตาม
ลําดับ นั่นคือกลองที่ใสโบลทจะอยูใกลตําแหนงที่คนงานยืนอยูมากที่สุด สําหรับขั้นตอนการประกอบ คนงานจะใชมือทั้งสองขางไปหยิบนอตจากกลองดานซายมือและดานขวามือดวย
มือซายและมือขวาตามลําดับ เพื่อนํามาวางไวในอุปกรณชวยจับยึดที่มีสองจุดทางดานซายมือและดานขวามือของคนงาน จากนั้นคนงานก็จะเอื้อมมือซายและมือขวาไปหยิบแหวนที่
ใสไวในกลองดานซายมือและดานขวามือ เพื่อนํามาวางบนนอต แลวคนงานจะเอื้อมมือซายและมือขวาไปหยิบโบลทที่ใสไวในกลองดานซายมือและดานขวามือ เพื่อนํามาขันเขากับ
แหวนและนอตที่วางไวในอุปกรณจับยึด ซึ่งการทํางานดังกลาวขางตนของคนงาน จะเปนไปอยางราบรื่น อยากทราบวาใชหลักการประหยัดการเคลื่อนไหว (Principle of Motion
Economy) ประการใดเปนสําคัญในการดําเนินงานดังกลาว
13 of 102
คําตอบ 1 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการออกแบบอุปกรณพิเศษชวยในการทํางาน
คําตอบ 2 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการจัดสถานที่ทํางาน
คําตอบ 3 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ และหลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการใชสวนตางๆของรางกาย
คําตอบ 4 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการทํางานของคนงานและเครื่องจักร

ขอที่ : 59
การเชื่อมประสานทอทรงกระบอกที่ปลายทอดานหนึ่ง ซึ่งทอนี้ยาวประมาณสองเมตร และถูกจับยึดดวยลูกกลิ้ง (Roller) สองอันที่ปลายทอทั้งสองดาน และลูกกลิ้งจะหมุนดวย


มอเตอรไฟฟา จากมอเตอรไฟฟาจะมีสายควบคุม โยงไปถึงสถานที่ทํางานของคนงานที่ทําหนาที่เชื่อมทอนี้ ซึ่งการควบคุมมอเตอรไฟฟานี้ จะทําโดยคนงานที่ทําหนาที่เชื่อมทอ ดวย

่ า
การใชเทาเหยียบแปนเหยียบ ที่ทําหนาที่เปนสวิตชของสายควบคุมการหมุนของมอเตอรไฟฟา เพื่อใหลูกกลิ้งหมุนทอไปยังตําแหนงที่คนงานตองเชื่อมทั้งหมดสามจุด อยากทราบวา


การออกแบบแปนเหยียบนี้เปนการใชหลักการประหยัดการเคลื่อนไหว (Principle of Motion Economy) ประการใดเปนสําคัญในการดําเนินงานดังกลาวขางตน

ำ ห
คําตอบ 1 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการจัดสถานที่ทํางาน


คําตอบ 2 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการทํางานของคนงานและเครื่องจักร


คําตอบ 3 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : หลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับการทํางานของคนงานหลายคนรวมกัน

ขอที่ : 60

ิท
ลักษณะของทาทํางานที่ดี เชน ทายืนที่ดีและถูกตองของคนงานในขณะทํางานควรเปนอยางไร
คําตอบ 1 :

นส
การยืนของคนงานอาจจะเอียงไปขางหนาเพื่อเหยียดแขนและมือทั้งสองขางไปยกชิ้นงานที่อยูดานหนาซึ่งวางไวคอนขางไกลจากตัวคนงานโดยไมยากนัก


คําตอบ 2 : การยืนของคนงานตองใหรางกายตั้งตรงสวนของคอและศีรษะโนมเอียงไปดานหนาเพื่อชวยในการมองชิ้นงานไดชัดเจนยิ่งขึ้น

ส ง
คําตอบ 3 : การยืนของคนงานใหเปนไปตามความถนัดของแตละคนเพราะขนาดรางกายของคนงานแตละคนไมเทากันบางคนสูงบางคนเตี้ย


คําตอบ 4 : การยืนของคนงานตองใหศีรษะ คอ หนาอก และทองอยูในแนวดิ่ง เพื่อใหกระดูกโครงรางรับน้ําหนักสวนใหญและมีความเครียดที่กลามเนื้อนอยที่สุด

ขอที่ : 61

กร ข

หลักการประหยัดการเคลื่อนไหว (Principle of Motion Economy) ที่เกี่ยวกับการใชสวนตาง ๆ ของรางกายนั้นสามารถดําเนินการไดอยางไร

าว ศ

คําตอบ 1 : โดยการนําเครื่องจักรกึ่งอัตโนมัติหรือเครื่องจักรอัตโนมัติมาใชทํางานแทนคนงานใหมากที่สุด
คําตอบ 2 : โดยการกระจายงานตาง ๆ ใหคนงานทุกคนในทุกสวนงานไดทํางานอยางสม่ําเสมอและเทาเทียมกัน


คําตอบ 3 : โดยลดการเคลื่อนไหวที่ไมจําเปนในการทํางานนั้น ๆ และใชสวนตาง ๆ ของรางกายอยางเหมาะสม


คําตอบ 4 : ใชเครื่องจักรอัตโนมัติและใชคนงานที่มีความชํานาญและมีทักษะมาก ๆ ในการทํางานนั้น ๆ มาดําเนินการ

ขอที่ : 62
บริเวณปฏิบัติงานธรรมดา (Normal Working Areas) ในการวิเคราะหการเคลื่อนไหวโดยหลักการประหยัดการเคลื่อนไหว (Principle of Motion Economy) เปนอยางไร
คําตอบ 1 : เปนพื้นที่ที่คนงานสามารถเอื้อมมือ และแขนลางไปถึงไดโดยตองใชแขนบนยื่นไปดวย
คําตอบ 2 : เปนพื้นที่ที่คนงานสามารถเอื้อมมือ และแขนลางไปถึงไดโดยไมตองใชแขนบนยื่นไปดวย 14 of 102
คําตอบ 3 : เปนพื้นที่ที่คนงานสามารถเอื้อมมือ แขนบน และแขนลางไปถึงไดโดยมีการโนมตัวไปดวย
คําตอบ 4 : เปนพื้นที่ที่คนงานสามารถเอื้อมมือ แขนบน และแขนลางไปถึงไดโดยไมมีการโนมตัวไปดวย

ขอที่ : 63
ในขณะทํางานตองพยายามใชการเคลื่อนไหวของรางกายประเภทที่ต่ําที่สุดเทาที่จะทําได ซึ่งประเภทของการเคลื่อนไหวนี้ไดสรางขึ้นตามแกนหมุนตาง ๆ ของสวนตาง ๆ ของรางกาย
อยากทราบวาแกนหมุนที่หัวไหลจะชวยในการเคลื่อนไหวของอวัยวะสวนใดของรางกาย
คําตอบ 1 : แขนบน แขนลาง มือ และ นิ้วมือ

่ า ย
คําตอบ 2 : แขนบน แขนลาง และ มือ เทานั้น


คําตอบ 3 : ลําตัวทอนบน แขนบน แขนลาง มือ และ นิ้วมือ


คําตอบ 4 : แขนลาง มือ และ นิ้วมือ เทานั้น

จ ำ

ขอที่ : 64

า้
ในขณะทํางานตองพยายามใชการเคลื่อนไหวของรางกายประเภทที่ต่ําที่สุดเทาที่จะทําได ซึ่งประเภทของการเคลื่อนไหวนี้ไดสรางขึ้นตามแกนหมุนตาง ๆ ของสวนตาง ๆ ของรางกาย

ิธ์ ห
อยากทราบวาแกนหมุนที่ขอศอกจะชวยในการเคลื่อนไหวของอวัยวะสวนใดของรางกาย
คําตอบ 1 : แขนบน แขนลาง มือ และ นิ้วมือ

ิท
คําตอบ 2 : แขนบน แขนลาง และ มือ


คําตอบ 3 : ลําตัวทอนบน แขนบน แขนลาง มือ และ นิ้วมือ


คําตอบ 4 : แขนลาง มือ และ นิ้วมือ

ง ว

ขอที่ : 65


ในขณะทํางานตองพยายามใชการเคลื่อนไหวของรางกายประเภทที่ต่ําที่สุดเทาที่จะทําได ซึ่งประเภทของการเคลื่อนไหวนี้ไดสรางขึ้นตามแกนหมุนตาง ๆ ของสวนตาง ๆ ของรางกาย

กร ข
อยากทราบวาแกนหมุนที่ทองจะชวยในการเคลื่อนไหวของอวัยวะสวนใดของรางกาย
คําตอบ 1 : แขนบน แขนลาง มือ และ นิ้วมือ


คําตอบ 2 : แขนบน แขนลาง และ มือ

าว ศ

คําตอบ 3 : ลําตัวทอนบน แขนบน แขนลาง มือ และ นิ้วมือ
คําตอบ 4 : แขนลาง มือ และ นิ้วมือ

ขอที่ : 66
ส ภ
ขอใดไมใชหลักการประหยัดการเคลื่อนไหว (Principle of Motion Economy) ที่เกี่ยวกับการใชสวนตาง ๆ ของรางกาย
คําตอบ 1 : ใชเครื่องมือ 2 ชิ้นหรือมากกวาเขารวมกันทํางานในทุกโอกาสที่สามารถทําได
คําตอบ 2 : การเคลื่อนไหวของแขนทั้งสองขางควรจะเหมือนกันในเวลาเดียวกันแตในทิศทางตรงกันขาม
คําตอบ 3 : ใชการเคลื่อนไหวแบบวงโคงตอเนื่องมากกวาการเคลื่อนไหวแบบเสนตรงแลวมีการเปลี่ยนทิศทางกะทันหัน
คําตอบ 4 : มือทั้งสองขางจะตองไมวางงานในเวลาเดียวกันยกเวนตอนพักงาน
15 of 102
ขอที่ : 67
ขอใดไมใชหลักการประหยัดการเคลื่อนไหว (Principle of Motion Economy) ที่เกี่ยวกับการจัดสถานที่ทํางาน
คําตอบ 1 : เครื่องมือและวัสดุที่ใชในการทํางานตองจัดเตรียมไวในตําแหนงที่แนนอนเพื่อลดเวลาในการคนหาเมื่อตองการใชงาน
คําตอบ 2 : ใชโมเมนตัมของตัวคนงานชวยในการทํางาน แตถาในกรณีที่ตอตานกับกลามเนื้อของคนงานขณะทํางานตองลดโมเมนตัมลงใหเหลือนอยที่สุด
คําตอบ 3 : ใชกลองหรือภาชนะเก็บของเพื่อนําของนั้น ๆ ไปวางใหใกลกับผูปฏิบัติงานมากที่สุด
คําตอบ 4 : สีของบริเวณที่ปฏิบัติงานตองตัดกันกับงานที่กระทํา เพื่อลดความเมื่อยลาของนัยตา

่ า ย

ขอที่ : 68


ขอใดไมใชหลักการประหยัดการเคลื่อนไหว (Principle of Motion Economy) ที่เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องมือ และ อุปกรณ

จ ำ
คําตอบ 1 : คานงัด พวงมาลัยกากบาท และพวงมาลัยวงกลม ตองวางในตําแหนงที่ผูใชงานเมื่อใชงานแลวมีการเปลี่ยนตําแหนงของลําตัวผูใชงานนอยที่สุด


คําตอบ 2 : งานที่ตองใชมือถือเอาไวควรขจัดออกไปโดยการใชจิก หรือ ฟกซเจอร (Jigs and Fixtures) เขามาทําแทน

า้
คําตอบ 3 : ใชเครื่องมือ 2 ชิ้นหรือมากกวาเขารวมกันทํางานในทุกโอกาสที่สามารถทําได

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เครื่องมือและวัสดุที่ใชในการทํางานตองจัดเตรียมไวในตําแหนงที่แนนอนเพื่อลดเวลาในการคนหาเมื่อตองการใชงาน

ิท
ขอที่ : 69


เครื่องมือชวยในการบันทึกขอมูลตัวใด สามารถใหขอมูลในการปรับปรุงโดยใชหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดไดมากที่สุด

ว น
คําตอบ 1 : แผนผังการไหล (Flow Diagram)


คําตอบ 2 : แผนภูมิกิจกรรม (Activity Chart)


คําตอบ 3 : แผนภูมิมือซาย-มือขวา (Left-Right Hand Chart)


คําตอบ 4 : แผนภูมิการผลิต (Process Chart)

กร ข

ขอที่ : 70



ขอใดไมเกี่ยวของกับหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด

าว
คําตอบ 1 : การใชสวนตาง ๆ ของรางกาย


คําตอบ 2 : การจัดสถานที่ทํางาน


คําตอบ 3 : การออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ
คําตอบ 4 : การจัดผังโรงงานใหเกิดการเคลื่อนไหวนอยที่สุด

ขอที่ : 71
การออกแบบความสูงโตะ-เกาอี้ที่ใชนั่งในการทํางานตรงตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดขอใด
คําตอบ 1 : การใชสวนตาง ๆ ของรางกาย
16 of 102
คําตอบ 2 : การจัดสถานที่ทํางาน
คําตอบ 3 : การออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ
คําตอบ 4 : การยศาสตร

ขอที่ : 72
ตัวอยางการออกแบบเครื่องมือและอุปกรณที่มีผลตอการเคลื่อนไหวอยางประหยัดคือขอใด
คําตอบ 1 : การออกแบบปุมหยุดฉุกเฉินบนเครื่องจักร
คําตอบ 2 : การออกแบบตําแหนงปุมควบคุมและแสดงผลบนเครื่องจักร

่ า ย

คําตอบ 3 : การออกแบบพื้นที่รองรับเครื่องจักร


คําตอบ 4 : การกําหนดความสวางในบริเวณที่เครื่องจักรทํางาน

จ ำ

ขอที่ :

า้
73
หลักการการเคลื่อนไหวอยางประหยัดประกอบดวยอะไรบาง

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การศึกษาดานเทคนิค การจัดการทางดานเศรษฐศาสตร การใชโครงรางมนุษย
คําตอบ 2 : การใชโครงรางมนุษย การจัดตําแหนงสถานที่ปฎิบัติงาน การออกแบบเครื่องมือ

ิท
คําตอบ 3 : การจัดตําแหนงสถานที่ปฎิบัติงาน การวิจัยและพัฒนาคน การทดสอบวัสดุ


คําตอบ 4 : การออกแบบเครื่องมือ การออกแบบโรงงาน การวางแผนการผลิต

ขอที่ :

ง ว น

74


ขอใดมีความสัมพันธกับหลักการการเคลื่อนไหวอยางประหยัด


คําตอบ 1 : แผนภูมิกระบวนการผลิต

กร
คําตอบ 2 : แผนภูมิคนและเครื่องจักร


คําตอบ 3 : แผนภูมิมือซายและมือขวา



คําตอบ 4 : แผนภูมิการไหล

ขอที่ : 75

ภ าว

ขอใดไมใชหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด
คําตอบ 1 : การใชโครงรางมนุษย
คําตอบ 2 : การจัดตําแหนงของสถานที่การปฎิบัติงาน
คําตอบ 3 : การวางทาทางที่ไมถูกตองตามความเหมาะสมของงาน
คําตอบ 4 : การออกแบบเครื่องมือ

17 of 102
ขอที่ : 76
หัวขอใดเปนสวนหนึ่งของหลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวของกับการจัดสถานที่ทํางาน
คําตอบ 1 : การจัดเรียงเครื่องมือและวัสดุเปนเสนตรงบนโตะ ทําใหทํางานไดสะดวกและงาย
คําตอบ 2 : ไมควรมีตําแหนงที่ตั้งของเครื่องมือและวัสดุที่แนนอนตายตัว เพราะจะทําใหการทํางานไมยืดหยุน
คําตอบ 3 : ควรใชการสงวัสดุดวยการยกจากลางขึ้นบนเมื่อทําได
คําตอบ 4 : ควรจัดเกาอี้ใหมีความสูงพอดีเพื่อใหเกิดมีภาพทาการนั่งที่ดีและสบายแกคนงานทุกคน

่ า ย
ขอที่ : 77


ขอใดเปนสวนหนึ่งของหลักการประหยัดการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวของกับการออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ


คําตอบ 1 : ควรพิจารณาถึงการทดแทนการเคลื่อนไหวดวยมือ หรือสวนอื่นของรางกายเพื่อลดจํานวนพนักงานลง

จ ำ
คําตอบ 2 : ไมควรออกแบบเครื่องมือที่มีหลายหนาที่ในตัว เพราะจะเกิดความสับสนในการใชงาน


คําตอบ 3 : ควรออกแบบเครื่องมือและอุปกรณใหมีการควบคุมไดงาย รวดเร็วขึ้น และปลอดภัย อาจใชคนควบคุม ณ หนางานก็ได

า้
คําตอบ 4 : ควรยกเลิกงานที่ทําดวยเทาและใชมือหรือจิ๊กและฟกซเจอรเปนหลัก

ขอที่ : 78
ิธ์ ห
ิท
เพราะเหตุใดการเคลื่อนไหวของแขนและมือจึงควรเปนแนวโคง


คําตอบ 1 : ทําใหเกิดความตอเนื่องในการเคลื่อนไหว

ว น
คําตอบ 2 : ทําใหเกิดความสวยงามเปนระเบียบในการจัดวางอุปกรณ


คําตอบ 3 : ทําใหความเร็วในการทํางานคงที่


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3 ถูก

ขอ
กร
ขอที่ : 79


การเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนไหวของมือในขณะทํางานมีผลทําใหเกิดอะไร



คําตอบ 1 : ความเร็วในการทํางานลดลง

าว
คําตอบ 2 : การจัดเรียงกลองชิ้นสวนทําไดยาก


คําตอบ 3 : ทําใหมือไดรับบาดเจ็บ


คําตอบ 4 : รัศมีการทํางานนอยลง

ขอที่ : 80
การจัดวางชิ้นสวนเพื่อใชประกอบผลิตภัณฑตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด ควรเปนอยางไร
คําตอบ 1 : ควรวางไวตรงหนาและใกลตัวพนักงานเพื่อลดการเคลื่อนไหว
คําตอบ 2 : ควรวางไวเปนแนวเสนตรงเพื่อใหหยิบใชไดงาย
18 of 102
คําตอบ 3 : ควรวางเปนแนวโคงตามการเคลื่อนไหวของมือ และมีระยะหางจากตัวพนักงานในตําแหนง Normal Reach
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 81
ขอใดไมใชผลของการใชพื้นลาดเอียงชวยในการปลอยวัสดุ ตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด
คําตอบ 1 : ทําใหชิ้นงานเคลื่อนที่สะดวก
คําตอบ 2 : ทําใหชิ้นงานเคลื่อนที่เขามาใกลตัวพนักงาน
คําตอบ 3 : ลดการแตกหักของชิ้นงาน

่ า ย

คําตอบ 4 : ลดระยะการเอื้อมของพนักงาน

ขอที่ : 82

จ ำ ห

ขอใดเปนผลของการใชพื้นลาดเอียงชวยในการปลอยวัสดุ ตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ลดความฝดในการทํางาน
คําตอบ 2 : ลดการใชกลองบรรจุอุปกรณ
คําตอบ 3 : ลดการแตกหักของชิ้นงาน

ิท
คําตอบ 4 : ลดระยะการเอื้อมของพนักงาน

นส

ขอที่ : 83


ขอใดเปนการใชหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดในการออกแบบการทํางาน
คําตอบ 1 :

อ ส
การออกแบบการวางชิ้นสวนที่ใชในการประกอบบนโตะงาน ตามลําดับการประกอบเปนผลิตภัณฑ


คําตอบ 2 : การออกแบบผลิตภัณฑใหสามารถจับถือไดงายโดยการใชมือทั้งสองขาง

กร
คําตอบ 3 : การออกแบบผลิตภัณฑใหมีน้ําหนักเบา


คําตอบ 4 : การออกแบบโตะทํางานใหมีพื้นที่วางชิ้นสวนอยางกวางขวาง

ขอที่ : 84

าว ศ


ขอใดเปนการใชมือในการทํางานไดถูกตองตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด


คําตอบ 1 : การใชมือปรับปุมควบคุมที่ระดับศีรษะ
คําตอบ 2 : การใหมือเคลื่อนที่ไป - กลับอยางตอเนื่องครบรอบ
คําตอบ 3 : การหยิบชิ้นงานที่วางบนพื้นหองทํางาน
คําตอบ 4 : การใชเทาชวยในการจับยึดชิ้นงาน

ขอที่ : 85 19 of 102
ใครเปนผูคิดหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด
คําตอบ 1 : Newton
คําตอบ 2 : Gilbreth
คําตอบ 3 : Taylor
คําตอบ 4 : Therblig

ขอที่ : 86

่ า ย
การเคลื่อนไหวแบบใดถือวามีการเคลื่อนไหวนอยที่สุดตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด


คําตอบ 1 : การคลื่อนไหวของแขน


คําตอบ 2 : การเคลื่อนไหวของขา

จ ำ
คําตอบ 3 : การเคลื่อนไหวของขอศอก


คําตอบ 4 : การเคลื่อนไหวของนิ้วมือ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 87
การเคลื่อนไหวที่มีการเปลี่ยนทิศทางแบบหักมุมอยางกะทันหันจะมีผลอยางไร ตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด

ิท
คําตอบ 1 : เกิดความเมื่อยลา


คําตอบ 2 : ใชเวลานานขึ้น

ว น
คําตอบ 3 : เสี่ยงตอการเกิดอันตรายของขอมือได


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

อ ส

ขอที่ : 88

กร
ขอใดถูกตองตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด


คําตอบ 1 : พนักงานควรนั่งทํางานเพื่อปองกันความเมื่อยลา



คําตอบ 2 : งานที่มีความละเอียดมากจะตองการแสงสวางนอยเพื่อปองกันสายตาพลามัว

าว
คําตอบ 3 : การทํางานที่มีการเปลี่ยนทาการนั่งและการยืนไดจะลดความเมื่อยลาที่เกิดขึ้นได


คําตอบ 4 : เกาอี้นั่งทํางานแบบแตกตางกันจะมีผลตอการทํางานไมตางกัน

ขอที่ : 89

ขอใดไมถือวาเปนการใชหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดเนื่องจากการจัดสถานที่ทํางาน
คําตอบ 1 : การวางตําแหนงการวางเครื่องมือ
คําตอบ 2 : การพิจารณาการสงงานเขา - ออก
คําตอบ 3 : การวิเคราะหการเคลื่อนที่ของคนในสถานที่ทํางาน
20 of 102
คําตอบ 4 : การกําหนดลําดับในการจัดวางเครื่องมือ
ขอที่ : 90
ขอใดไมถือวาเปนการใชหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดเนื่องจากการใชสวนตางๆรางกาย
คําตอบ 1 : การใชมือขางที่ถนัดในการทํางาน
คําตอบ 2 : การใชสายตาในการคนหา
คําตอบ 3 : การใชกลามเนื้อในการยกของ


คําตอบ 4 : การเคลื่อนไหวของลําตัวเพื่อใหทํางานไดคลองขึ้น

น่ า

ขอที่ : 91


ขอใดไมถือวาเปนการใชหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดเนื่องจากการออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ
คําตอบ 1 : การคํานึงถึงการกระจายน้ําหนักของมือในขณะทํางาน

มจ
า้
คําตอบ 2 : การใชเครื่องมือหนึ่งชิ้นตองานหนึ่งงาน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การใชจิ๊ก ฟกซเจอรชวยในการจับยึด
คําตอบ 4 : การใชอุปกรณจับยึดที่ถูกควบคุมดวยเทา

ขอที่ : 92

ส ิท
ว น
ขอใดถือวาเปนอุปสรรคในการออกแบบการทํางานตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด


คําตอบ 1 : ความถนัดของมือซาย - ขวา


คําตอบ 2 : ความสวางในที่ทํางาน


คําตอบ 3 : ความแตกตางของความสูงของพนักงาน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

กร ข
ขอที่ : 93


ิ ว
าว
การออกแบบพื้นที่บนโตะงาน ควรคํานึงถึงขอใดตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด


คําตอบ 1 : ระยะการเคลื่อนไหวของแขน


คําตอบ 2 : ระยะการเคลื่อนไหวของพนักงาน
คําตอบ 3 : ระยะการเคลื่อนที่ระหวางสถานีงาน
คําตอบ 4 : ระยะการเคลื่อนที่ของเครื่องมือ

ขอที่ : 94
ขอใดเปนการเคลื่อนไหวพื้นฐาน ตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด
21 of 102
คําตอบ 1 : Ballistic Motion
คําตอบ 2 : Continuous Motion
คําตอบ 3 : Controlled Motion
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 95
ขอใดเปนการเคลื่อนไหวของแขนและมือในตําแหนง Normal Reach
คําตอบ 1 : การหยิบชิ้นงานจากกลองชิ้นงานตรงหนาและอยูเหนือศีรษะโดยที่แขนเหยียดตรง

่ า ย

คําตอบ 2 : การหยิบชิ้นงานจากกลองชิ้นงานตรงหนาโดยที่แขนงอ และไหลไมหอ


คําตอบ 3 : การหยิบชิ้นงานจากกลองชิ้นงานดานขางโดยที่แขนเหยียดตรง

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 2 และ 3 ถูก

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
96
ขอใดเปนการเคลื่อนไหวของแขนและมือในตําแหนง Maximum Reach
คําตอบ 1 : การหยิบชิ้นงานจากกลองชิ้นงานตรงหนาโดยที่แขนเหยียดตรง

ิท
คําตอบ 2 : การหยิบชิ้นงานจากกลองชิ้นงานตรงหนาโดยที่แขนเหยียดตรง และตัวโนมไปขางหนา


คําตอบ 3 : การหยิบชิ้นงานจากกลองชิ้นงานตรงหนาโดยที่แขนเหยียดตรง ตัวโนมไปขางหนา และยกกนขึ้น

ว น
คําตอบ 4 : การหยิบชิ้นงานจากกลองชิ้นงานดานขางโดยที่แขนงอ

ส ง

ขอที่ : 97


ขอใดเปนการใชหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดในการทํางาน

กร
คําตอบ 1 : ใชสายพานชวยในการลําเลียง


คําตอบ 2 : ใชแรงโนมถวงในการปลอยชิ้นสวน



คําตอบ 3 : ใชรถยกชวยในการยกของ

าว
คําตอบ 4 : ใชเครื่องจักรอัติโนมัติ

ขอที่ : 98

ส ภ
องคความรูใดเกี่ยวของนอยที่สุดกับการศึกษาการเคลื่อนไหวเชิงอนุภาคหรือแบบไมโคร
คําตอบ 1 : Principle of Motion Economy
คําตอบ 2 : Fundamental Hand Motion
คําตอบ 3 : Memo Motion Study
คําตอบ 4 : Material Handling
22 of 102
ขอที่ : 99
ขอใดเปนสวนหนึ่งของหลักการประหยัดของการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวของกับการใชรางกายของคน
คําตอบ 1 : มือทั้งสองไมควรทํางานพรอมกัน
คําตอบ 2 : ควรใชแรงโมเมนตัมชวยคนทํางานเทาที่เปนไปได
คําตอบ 3 : ควรใชสายตากับการทํางานโดยตรง และใหครอบงําสายตาใหมากหลายจุดเพื่อเปนการผอนคลาย
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

่ า ย

ขอที่ : 100


ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของมือตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด

จ ำ
คําตอบ 1 : มือซาย - ขวามีการเคลื่อนไหวในทิศทางตรงกันขามในขณะทํางาน


คําตอบ 2 : มือซายจับยึดชิ้นงาน ในขณะที่มือขวาประกอบชิ้นงาน

า้
คําตอบ 3 : มือซาย - ขวาชวยกันจับยึดชิ้นงาน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : มือซาย - ขวาเคลื่อนไหวในทิศเดียวกันขณะทํางาน

ิท
ขอที่ : 101


ขอใดตอไปนี้เปนตัวอยางการประยุกตใชหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดในการทํางาน

ว น
คําตอบ 1 : ใชจิ๊กและฟกซเจอรชวยจับยึดชิ้นงาน


คําตอบ 2 : การจัดใหชิ้นสวนในการประกอบเรียงกัน


คําตอบ 3 : การออกแบบใหมือซาย - ขวา ชวยกันจับยึดชิ้นงาน


คําตอบ 4 : การออกแบบใหทั้งสองมือตองกดเครื่องปมพรอมกัน

กร ข

ขอที่ : 102



ขอใดถูกตองตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด

าว
คําตอบ 1 : ใชมือในการทํางานใหมากที่สุด


คําตอบ 2 : ใชมือในการทํางานใหนอยที่สุด


คําตอบ 3 : ใหมือมีการเคลื่อนไหวใหมากที่สุด
คําตอบ 4 : ใหมือมีการเคลื่อนไหวใหนอยที่สุด

ขอที่ : 103
จงเปรียบเทียบ (1) การเคลื่อนไหวของแขนและมืออยางตอเนื่องเปนเสนโคง และ(2) การเคลื่อนไหวของแขนและมือที่เปลี่ยนทิศทางกะทันหัน ในการทํางานแบบเดียวกัน
คําตอบ 1 : (1) ใชเวลานอยกวา (2)
23 of 102
คําตอบ 2 : (1) ใชเวลามากกวา (2)
คําตอบ 3 : (1) จะเกิดความเมื่อยลามากกวา (2)
คําตอบ 4 : (1) และ (2) ชวยลดเวลาและลดความเมื่อยลาเทา ๆ กัน

ขอที่ : 104
ตัวอยางการออกแบบเครื่องมือตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดคือขอใด
คําตอบ 1 : คอนตี
คําตอบ 2 : ไขควงวัดไฟ

่ า ย

คําตอบ 3 : ประแจเลื่อน


คําตอบ 4 : คานงัด

จ ำ

ขอที่ :

า้
105
ขอใดเปนจริงสําหรับ Motion Patterns ของมือตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ใชในการออกแบบการทํางานกอนที่จะทํา PTS
คําตอบ 2 : เปนสิ่งที่เกิดหลังจากที่สถานีงานถูกออกแบบเรียบรอยแลว

ิท
คําตอบ 3 : เหมาะกับการทํางานที่เปนคูโดยใชสองมือ


คําตอบ 4 : ใชสําหรับการออกแบบวิธีการนําชิ้นงานเขา - ออกโตะงาน

ขอที่ :

ง ว น

106


ขอใดไมใชลักษณะการเคลื่อนไหวของแขนและมืออยางตอเนื่อง ตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด


คําตอบ 1 : เปนการเคลื่อนไหวเลียนแบบธรรมชาติ

กร
คําตอบ 2 : ทําใหเวลาการทํางานคงที่


คําตอบ 3 : การเคลื่อนไหวไมหยุดชะงัก



คําตอบ 4 : ขึ้นอยูกับมุมในการเอียงกลองใสชิ้นงาน

ขอที่ : 107

ภ าว

การทํางานที่ตองใชมือและสายตาพรอมกัน จะมีผลอยางมากตอกันเมื่อไร
คําตอบ 1 : งานที่ตาและมือตองเคลื่อนไหวเปนระยะทางที่ยาว
คําตอบ 2 : การเลือกชิ้นงานที่มีสีสันตางกันในกลองชิ้นงานขนาดเล็ก
คําตอบ 3 : การตรวจสอบชิ้นงานดวยตาเปลา
คําตอบ 4 : การประกอบชิ้นงานขนาดเล็ก

24 of 102
ขอที่ : 108
ขอใดไมถูกตองตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด
คําตอบ 1 : งานทุกอยางตองมีการออกแบบการทํางานตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดเพื่อใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
คําตอบ 2 : ประสิทธิผลของการออกแบบการทํางานตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด คือการที่ทํางานตามลักษณะที่ควรจะทํา
คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพของการออกแบบการทํางานตามหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด คือการทํางานที่ใหไดงานที่ถูกตอง
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

่ า ย
ขอที่ : 109


การออกแบบใหเครื่องตรวจสอบชิ้นงานวางบนโตะงานและจอแสดงผลวางอยูบนชั้นเหนือโตะงาน เปนการใชหลักการออกแบบการเคลื่อนไหวอยางประหยัดในดานใดบาง 1. ดานการ


ใชรางกาย 2. ดานการจัดสถานที่ทํางาน 3. การออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ


คําตอบ 1 : เฉพาะ 1 คือพิจารณาที่การใชมือและสายตา

มจ
คําตอบ 2 : 2 และ 3 คือจัดโตะงานและเครื่องมือใหใชงานงาย

า้
คําตอบ 3 : เฉพาะ 3 คือออกแบบใหเครื่องตรวจสอบใชงานงาย

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 1 และ 2 คือจัดโตะงานและเครื่องมือใหใชงานงาย

ิท
ขอที่ : 110


จากการใชหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัด ในการปรับปรุงงานการประกอบชิ้นสวน อิเลคโทรนิคงานหนึ่งพบวา สามารถลดเวลาเฉลี่ยตอชิ้นในการประกอบจาก 0.084 นาที


เหลือ 0.055 นาที จงหาวาสามารถประกอบชิ้นงานไดมากขึ้นกี่เปอรเซ็นต

ง ว
คําตอบ 1 : 65%


คําตอบ 2 : 56%


คําตอบ 3 : 53%


คําตอบ 4 :

กร
50%


ขอที่ :



111

าว
จากหลักการเคลื่อนไหวอยางประหยัดของการใชสวนตาง ๆ ของรางกาย ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : การเคลื่อนไหวเปนเสนโคงไมแตกตางกับการเคลื่อนไหวเปนแนวเสนตรงเพราะตองมีการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนไหวอยางกะทันหัน

ส ภ
คําตอบ 2 : มือทั้งสองขางควรเริ่มตนทํางาน ควรสิ้นสุดการทํางาน และควรวางพรอม ๆ กัน
คําตอบ 3 : มือและสวนตาง ๆ ของรางกายควรมีการเคลื่อนไหวนอยที่สุดแตสามารถทํางานไดตามที่ตองการ
คําตอบ 4 : โมเมนตัมในการทํางานของพนักงานขึ้นอยูกับความยากงายของงานที่ทํา

ขอที่ : 112
แนวทางในการปรับปรุงวิธีการทํางานใหดีกวาเดิมนั้นจะตองพิจารณาอะไรบาง
คําตอบ 1 : ตัดทอนงานที่ไมจําเปนออก รวมการทํางานที่คลายกัน เปลี่ยนลําดับขั้นตอนการทํางาน และ ทําใหการทํางานที่จําเปนงายขึ้น 25 of 102

คําตอบ 2 : ระดมสมองบุคลากรทุกสวนงานในองคกรเพื่อออกแบบวิธีการทํางานใหสามารถผลิตสินคาหรือบริการไดมากขึ้นและสนองตอความตองการของลูกคาอยางตอเนื่อง
คําตอบ 3 : ฝายผลิตรวบรวมขอมูลของสินคา เชน รูปลักษณะทางกายภาพ ชนิด วัสดุที่ใช หนาที่ของสินคานั้น เพื่อนํามาปรับปรุงวิธีการทํางานและ/หรือการผลิตสินคาไดงายขึ้น
ฝายออกแบบผลิตภัณฑและฝายผลิตรวมกันกําหนดลักษณะของสินคานั้น ๆ ใหสอดคลองกับความตองการของลูกคาแลวจึงกําหนดวิธีการทํางานและ/หรือกระบวน
คําตอบ 4 :
การผลิต เพื่อใหการผลิตสินคาเปนไปตามความตองการของลูกคา

ขอที่ : 113
ปจจุบันยางรถยนตโดยเฉพาะยางรถเกงสามารถหอหุมเก็บอากาศไวภายในไดโดยไมตองใชยางใน ซึ่งชวยใหการประกอบยางรถเกงทําไดรวดเร็วขึ้น อยากทราบวามีการใชแนวทางใด


ในการปรับปรุงวิธีการทํางาน (ใสยางรถเกง) ดังกลาวขางตน

น่ า
คําตอบ 1 : การเปลี่ยนลําดับขั้นตอนการทํางานใหม


คําตอบ 2 : ทําใหการทํางานที่จําเปนงายขึ้น


คําตอบ 3 : ตัดทอนงานที่ไมจําเปนออกไป


คําตอบ 4 : เปลี่ยนแปลงวัสดุและนําหลักการทางวิทยาศาสตรมาประยุกต

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 114
ขอใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกับการปรับปรุงการทํางาน

ิท
คําตอบ 1 : Rearrange


คําตอบ 2 : Simplify


คําตอบ 3 : Reuse

ง ว
คําตอบ 4 : Eliminate

ขอที่ :

อ ส

115

กร
เมื่อพิจารณาถึงหลักทั่วไปของการจัดแสงสวางในสถานปฏิบัติงาน ขอใดตอไปนี้ที่ผิดไปจากหลักการ
คําตอบ 1 : หลอดไฟควรติดตั้งในทิศทางที่ไมสอง หรือสะทอนเขาตา
คําตอบ 2 :


ิ ว
ออกแบบเพื่อใชแสงจากธรรมชาติใหมากที่สุด เชน แสงสวางจากหนาตาง ประตู และหลังคา

าว
คําตอบ 3 : พนักงานที่ถนัดซายเมื่ออยูในทานั่งทํางาน ควรจัดแสงสองเขาทางดานหลังทางซายมือ
คําตอบ 4 : ควรจัดบริเวณที่ทํางานใหมีระดับความเขมแสงที่เหมาะสมกับลักษณะงาน

ขอที่ : 116
ส ภ
การปรับปรุงวิธีการทํางานโดยศาสตรการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา (Motion and Time Study) มักจะใชแผนภาพ (Diagram) และแผนภูมิ (Chart) เปนเครื่องมือชวยปรับปรุง
วิธีการทํางาน อยากทราบวามีแผนภูมิใดบาง
คําตอบ 1 : แผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart)
คําตอบ 2 : แผนภูมิการปฏิบัติงาน (Operation Chart)
คําตอบ 3 : แผนภูมิของคนและเครื่องจักร (Man and Machine Chart) 26 of 102
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก
ขอที่ : 117
วิธีที่ใชปรับปรุงการผลิตและการทํางานโดยตั้งคําถามทุก ๆ อยางที่เกี่ยวของกับงานที่ทํา อยากทราบวาควรจะเริ่มดวยการตั้งคําถามอะไรบาง? ตามลําดับ
คําตอบ 1 : อะไร ? ใคร ? เมื่อไร ? ที่ไหน ? ทําไม ?
คําตอบ 2 : ทําไม ? ใคร ? ที่ไหน ? เมื่อไร ? อยางไร ?
คําตอบ 3 : อะไร ? ใคร ? ที่ไหน ? เมื่อไร ? อยางไร ? ทําไม ?


คําตอบ 4 : ทําไม ? อะไร ? เมื่อไร ? ที่ไหน ? อยางไร ?

น่ า

ขอที่ : 118


ขอใดตอไปนี้จัดเปนการทํางานที่ไมจําเปนและควรหลีกเลี่ยง
คําตอบ 1 : การตรวจสอบภายหลังในทุกขั้นตอนการทํางานยอย

มจ
า้
คําตอบ 2 : การสงตอชิ้นงานจากการอัดขึ้นรูปดวยเครื่องอัดไปยังเครื่องเจาะเพื่อทําการเจาะ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การสงชิ้นงานที่ถูกพนสีไปสถานีงานตอไปโดยใชสายพานแขวนในระยะทางที่ยาวเพื่อรอใหสีแหง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 119

ส ิท
ว น
การลดความเครียดและความเมื่อยลาของคนงานที่เกิดขึ้นจากการนั่งทํางานสามารถดําเนินการไดอยางไร


คําตอบ 1 : ใหคนงานทํางานโดยนั่งบนเกาอี้ที่มีความสูงมากซึ่งเปนทานั่งแบบกึ่งนั่งกึ่งยืน


คําตอบ 2 : ใหคนงานนั่งทํางานและยืนทํางานสลับกันบางตามแตคนงานตองการโดยที่โตะทํางานจะมีความสูงเทาใดก็ได


คําตอบ 3 : การนั่งทํางานของคนงานแตละคนตองคํานึงถึงวาคนงานนั้น ๆ มีความสูงเทาใด ถาคนงานคอนขางเตี้ยก็ควรใหยืนทํางาน
คําตอบ 4 :

กร ข
จัดหาเกาอี้ใหมีความสูงที่เหมาะสมกับโตะทํางานของคนงานแตละคนและควรจะกําหนดทานั่งทํางานที่ดีใหแกคนงาน

ขอที่ : 120


ิ ว
าว
ขอใดตอไปนี้เปนการปรับปรุงการทํางานเพื่อลดงานสวนเกินในการผลิต


คําตอบ 1 : การเปลี่ยนลําดับการทํางานใหสอดคลองกับผังการผลิต


คําตอบ 2 : การเพิ่มขั้นตอนการตรวจสอบเพื่อลดของเสีย
คําตอบ 3 : การเพิ่มเครื่องจักรเพื่อเพิ่มกําลังการผลิต
คําตอบ 4 : การใชเครื่องจักรอัตโนมัติทํางานแทนพนักงาน

ขอที่ : 121
ขั้นตอนใดที่ควรตัดออกในการปรับปรุงงาน
27 of 102
คําตอบ 1 : การรอคอย
คําตอบ 2 : การขนสง
คําตอบ 3 : การตรวจสอบ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 122
หลักการปรับปรุงงานที่เรียกวา ECRS ยอมาจากอะไร
คําตอบ 1 : Estimate Combine Reduce Sample

่ า ย

คําตอบ 2 : Eliminate Combine Re-arrange Simplify


คําตอบ 3 : Eliminate Combine Reduce Simplify

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
123
การปรับปรุงโดยลดเวลาวางงานเปรียบเทียบไดกับเทคนิคการปรับปรุงขอใด
คําตอบ 1 : Elimination

ิท
คําตอบ 2 : Simplify


คําตอบ 3 : Combination

ว น
คําตอบ 4 : Time Reduction

ส ง

ขอที่ : 124


ในการปรับปรุงโดยใชหลักการ Elimination สิ่งที่ควรทําเปนอยางแรก คืออะไร

กร
คําตอบ 1 : ตัดการเคลื่อนที่ที่ไมจําเปน


คําตอบ 2 : ตัดการทํางานที่ไมจําเปน



คําตอบ 3 : ตัดการตรวจสอบที่ไมจําเปน

าว
คําตอบ 4 : ตัดการรอที่ไมจําเปน

ขอที่ : 125

ส ภ
ขอใดไมจัดเปน Simplify
คําตอบ 1 : ทําการเคลื่อนที่ใหงายขึ้น
คําตอบ 2 : ทําการทํางานใหงายขึ้น
คําตอบ 3 : ทําการตรวจสอบใหงายขึ้น
คําตอบ 4 : ทําใหการใชงานของผลิตภัณฑงายขึ้น
28 of 102
ขอที่ : 126
การปรับปรุงโดยใชหลัก Combination พบมากกับกิจกรรมใด
คําตอบ 1 : รวมการทํางานเขากับการเคลื่อนที่
คําตอบ 2 : รวมการทํางานหนึ่งเขากับการทํางานอื่น
คําตอบ 3 : รวมการเคลื่อนที่เขากับการเคลื่อนที่
คําตอบ 4 : รวมการตรวจสอบเขากับการเคลื่อนที่

่ า ย

ขอที่ : 127


การเพิ่มสถานีงานที่ทํางานแบบเดียวกันมากกวา 1 สถานีงานเพื่อลดเวลาการผลิตตรงตามหลักการปรับปรุงขอใด

จ ำ
คําตอบ 1 : Elimination


คําตอบ 2 : Simplify

า้
คําตอบ 3 : Combination

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Rearrange

ิท
ขอที่ : 128


การใชจิ๊ก ฟกเจอรชวยในการทํางานตรงกับหลักการปรับปรุงขอใด

ว น
คําตอบ 1 : Elimination


คําตอบ 2 : Simplify


คําตอบ 3 : Combination


คําตอบ 4 :


Rearrange

ว กร
ขอที่ : 129



องคประกอบในการพิจารณาเลือกอุปกรณขนถายวัสดุมีอะไรบาง

าว
คําตอบ 1 : ความทนทาน ความสวยงาม กระบวนการผลิต คาใชจาย


คําตอบ 2 : ผังโรงงาน ความทนทาน กระบวนการผลิต คาใชจาย


คําตอบ 3 : การเคลื่อนที่ของการผลิต ความทันสมัย ความปลอยภัย คาใชจาย
คําตอบ 4 : คุณสมบัติวัสดุ ผังโรงงาน การเคลื่อนที่ของการผลิต คาใชจาย

ขอที่ : 130
ขอใดตอไปนี้ไมใชองคประกอบของการเลือกงานที่จะทําการศึกษาวิธีการทํางาน
คําตอบ 1 : การพิจารณาในแงเศรษฐศาสตร
29 of 102
คําตอบ 2 : การพิจารณาในแงการบริหารและการจัดการ
คําตอบ 3 : การพิจารณาในแงเทคนิค
คําตอบ 4 : ปฎิกิริยาของคน

ขอที่ : 131
การทํางานอยางไรจึงเปนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ
คําตอบ 1 : สวนของงานเบื้องตน (Basic Work) มากกวาสวนของงานที่เปนสวนเกิน
คําตอบ 2 : สวนของงานเบื้องตน (Basic Work) นอยกวาสวนของงานที่เปนสวนเกิน

่ า ย

คําตอบ 3 : สวนของงานเบื้องตน (Basic Work) เทากับสวนของงานที่เปนสวนเกิน


คําตอบ 4 : สวนของงานเบื้องตน (Basic Work) เทากับเวลาไรประสิทธิภาพ

จ ำ

ขอที่ :

า้
132
ขอใดเปนหลักการปรับปรุงงานเพื่อเพิ่มผลผลิตทางดานความเร็วของการผลิต

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เทคนิค VE และ CAD
คําตอบ 2 : Thailand Quality Award (TQA) และ ISO 9001 : 2000

ิท
คําตอบ 3 : Elimination, Rearrange, Combination, Simplification และ 7 Wastes


คําตอบ 4 : Concurrent Engineering และ Failure Mode and Effect Analysis (FMEA)

ขอที่ :

ง ว น

133


ขอใดไมใชผลที่ไดจากการปรับปรุงวิธีการทํางาน


คําตอบ 1 : ทําใหทํางานงายขึ้น

กร
คําตอบ 2 : ทําใหลดขั้นตอนในการทํางาน


คําตอบ 3 : ไดวิธีการทํางานมาตรฐานในการผลิตผลิตภัณฑตัวใหม



คําตอบ 4 : ทําใหลดเวลาในการทํางาน

ขอที่ : 134

ภ าว

ทําไมจึงควรใหมีการตรวจสอบที่จําเปนในการศึกษาเพื่อปรับปรุงวิธีการทํางาน
คําตอบ 1 : ลดการใชเครื่องมือตรวจสอบ
คําตอบ 2 : ทําใหไดผลิตภัณฑที่ดีเกินความตองการ
คําตอบ 3 : ลดคาใชจายที่เพิ่มขึ้นโดยไมจําเปน
คําตอบ 4 : ลดโอกาสในการเกิดของเสีย

30 of 102
ขอที่ : 135
การลดการเคลื่อนที่ที่ไมจําเปนจะทําใหเกิดผลในขอใด
คําตอบ 1 : ลดโอกาสของการเกิดของเสียในขณะขนยาย
คําตอบ 2 : ลดเวลาการทํางานลงได
คําตอบ 3 : ลดระยะทางในการขนยาย
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

่ า ย
ขอที่ : 136


การเปลี่ยนแปลงการทํางานจากเดิมใชคนยกแผนเหล็กมาเปนใชรถยกแทนเทียบไดกับหลักการปรับปรุงขอใด


คําตอบ 1 : Eliminate

จ ำ
คําตอบ 2 : Simplify


คําตอบ 3 : Combine

า้
คําตอบ 4 : Rearrange

ขอที่ : 137
ิธ์ ห
ิท
การยกเลิกสถานีงานวัดขนาดหลังการตัดชิ้นงาน แลวใหพนักงานตัดทําการวัดขนาดหลังตัดชิ้นงานเสร็จเปนการปรับปรุงโดยใชเทคนิคใด


คําตอบ 1 : Eliminate

ว น
คําตอบ 2 : Simplify


คําตอบ 3 : Combine


คําตอบ 4 : Rearrange

ขอ
กร
ขอที่ : 138


การรวมงานเขาดวยกันจะทําใหเกิดผลขอใด



คําตอบ 1 : ลดจํานวนคนงาน

าว
คําตอบ 2 : ลดการขนยาย


คําตอบ 3 : ลดขั้นตอนการทํางาน


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 139
วัตถุประสงคในการวิเคราะหขอมูลเพื่อการปรับปรุงคืออะไร
คําตอบ 1 : วิเคราะหหางานสวนเกิน
คําตอบ 2 : วิเคราะหหาตนทุนการผลิต
31 of 102
คําตอบ 3 : วิเคราะหหาผลิตภาพการผลิต
คําตอบ 4 : วิเคราะหหาชิ้นงานมีตําหนิ

ขอที่ : 140
งานสวนที่จําเปนคืออะไร
คําตอบ 1 : งานสวนที่ทําใหเปอรเซ็นตความสําเร็จของผลิตภัณฑมากขึ้น
คําตอบ 2 : งานสวนที่เมื่อถูกตัดออกแลวทําใหการทํางานหยุดชะงัก
คําตอบ 3 : งานสวนที่ตองใชคนที่มีความชํานาญทํา

่ า ย

คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3 ถูก

ขอที่ : 141

จ ำ ห

งานสวนที่ไมจําเปนคืออะไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : งานสวนที่ไมทําใหเปอรเซ็นตความสําเร็จของผลิตภัณฑเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : งานสวนที่ไมตองใชความชํานาญ
คําตอบ 3 : งานสวนที่เมื่อถูกตัดออกแลวไมมีผลทําใหการทํางานหยุดชะงัก

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

นส

ขอที่ : 142


การศึกษาเสนทางการสงชิ้นสวนระหวางผลิตไปยังขั้นตอนการผลิตตอไป พบวามีเสนทางการเคลื่อนที่ยอนกลับไปมา ในการปรับปรุงควรทําอยางไร
คําตอบ 1 :

อ ส
จัดเสนทางการผลิตใหมใหเรียงตอกันเปนเสนตรง


คําตอบ 2 : เปลี่ยนลําดับการผลิตใหมเพื่อใหเกิดการเคลื่อนที่ทางเดียว

กร
คําตอบ 3 : จัดการผลิตใหมใหเรียงตอกันเปนตัวยู


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 143

าว ศ


การปรับปรุงโดยการตัดขั้นตอนการตรวจสอบบางขั้นตอนออก จะทําใหเครื่องหมายใดใน Process Chart ลดลง


คําตอบ 1 : เครื่องหมายสี่เหลี่ยมใน Process Chart ลดลง
คําตอบ 2 : เครื่องหมายวงกลมใน Process Chart ลดลง
คําตอบ 3 : เครื่องหมายลูกศรใน Process Chart ลดลง
คําตอบ 4 : เครื่องหมายสามเหลี่ยมหัวกลับใน Process Chart ลดลง

ขอที่ : 144 32 of 102


ขอใดไมจัดวาเปนการปรับปรุงการทํางาน
คําตอบ 1 : การทําใหผลิตภัณฑมีคุณภาพดีขึ้น
คําตอบ 2 : ลดเวลารอในการยกของขึ้นรถขนสง
คําตอบ 3 : การทําใหประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 : การทําใหพนักงานลดความเมื่อยลาในขณะทํางาน

ขอที่ : 145

่ า ย
การลดเวลาในการทํางานตามหลักของการศึกษางานนั้นสามารถทําไดโดยขอใด


คําตอบ 1 : ปรับปรุงนโยบายการทํางาน


คําตอบ 2 : ปรับปรุงวิธีการทํางาน

จ ำ
คําตอบ 3 : เพิ่มจํานวนคนในการทํางาน


คําตอบ 4 : การปรับปรุงวิธีวัดผลงาน

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 146
ขอใดอาจทําใหการปรับปรุงงานไมเปนผล

ิท
คําตอบ 1 : การลดการตรวจสอบใหเหลือแค 1 ครั้ง ในตอนสุดทาย เพื่อประหยัดคนงานและเวลา


คําตอบ 2 : การจัดลําดับการรีดเหล็กตามขนาดเสนผานศูนยกลางเพื่อลดขั้นตอนการติดตั้งเครื่องรีด

ว น
คําตอบ 3 : การใชรถยกชวยในการขนแผนเหล็กเขา - ออกจากสายการผลิต


คําตอบ 4 : การใหพนักงานที่ตัดชิ้นงานตรวจสอบขนาดหลังตัดเพื่อลดการเคลื่อนที่

อ ส

ขอที่ : 147

กร
หลักการปรับปรุงงานขอใดที่ไมเหมาะสม


สถานีหนึ่ง (Station) มีงานที่ตองใชทักษะมาก ดังนั้นฝายผลิตจึงกําหนดใหมีพนักงานหนึ่งทานรับผิดชอบงานนั้นงานเดียวโดยไมใหทํางานอื่นเพิ่มเติม เพื่อลดความ
คําตอบ 1 :



ผิดพลาดของพนักงาน

าว
คําตอบ 2 : ทําการแยกงานที่เดิมใหคนเดียวทํา โดยแบงงานออกจากกันแลวเพิ่มคนงานเขาไปทําเพื่อไมใหเกิดคอขวดขึ้น


คําตอบ 3 : เดิมมีกิจกรรมการเคลื่อนยาย แยกจากกิจกรรมตรวจสอบ ตามหลักที่ดีที่สุดคือ ตองรวมใหเปนงานเดียวกันเสมอ


คําตอบ 4 : การทํางานควรเนนถึงความเรียบงาย คือ ปรับเปลี่ยนวิธีการทํางานใหมใหมีความซับซอนและยุงยากนอยลง

ขอที่ : 148
ขอใดตอไปนี้ไมใชจุดที่ควรพิจารณาในการศึกษาเพื่อปรับปรุงวิธีการทํางาน
คําตอบ 1 : ในสายการผลิตที่มีพนักงานขาดงาน มาสายและมีเรื่องขัดแยงกันบอยๆ
คําตอบ 2 : ในจุดที่เกิดคอขวด ทําใหสายการผลิตไมราบรื่น
คําตอบ 3 : แผนกงานที่มีการทํางานที่ซ้ําซอนและลาชา 33 of 102

คําตอบ 4 : จุดที่มีการขนยายวัสดุไกล ตองใชพนักงานจํานวนมาก


ขอที่ : 149
กระบวนการบรรจุขาวสารลงในถุงพลาสติกขนาด 5 กิโลกรัม ที่โรงสีขาวแหงหนึ่ง ดําเนินการโดยมีขั้นตอนหนึ่ง คือ ใหคนงานบรรจุขาวสารลงในถุง แลวจึงนําไปชั่งน้ําหนัก ถาน้ําหนัก
เกิน 5 กิโลกรัม คนงานจะตักขาวสารออกแลวชั่งน้ําหนักใหม แตถาน้ําหนักไมถึง 5 กิโลกรัม คนงานจะตองเอาขาวสารมาใสเพิ่ม แลวชั่งน้ําหนักใหม การดําเนินงานจะทําเชนนี้ จน
น้ําหนักขาวสารในถุงนั้นๆ ไดเทากับหรือใกลเคียงกับ 5 กิโลกรัม ตามมาตรฐานที่กําหนด จากการศึกษาวิธีการทํางานขางตน พบวาจะเกิดความลาชา เนื่องจากการบรรจุและการชั่ง
น้ําหนัก จะถูกดําเนินการในตําแหนงการทํางานที่ตางกัน (คนละจุดทํางาน) จึงควรปรับปรุงการทํางานใหม โดยใหการบรรจุและการชั่งน้ําหนักอยูที่จุดเดียวกัน ซึ่งชวยลดเวลาการทํา
งานไดพอสมควร อยากทราบวาวิธีการปรับปรุงที่กลาวนี้ เปนการดําเนินการตามแนวทางใด

่ า ย
คําตอบ 1 : ตัดทอนงานที่ไมจําเปนออกใหหมด


คําตอบ 2 : รวมการทํางานที่คลายคลึงกันหรืองานที่เกี่ยวของกันเขาดวยกัน


คําตอบ 3 : เปลี่ยนลําดับขั้นตอนการทํางานใหม


คําตอบ 4 : ทําใหการทํางานที่จําเปนงายขึ้น

มจ
า้
ขอที่ : 150

ิธ์ ห
โรงงานประกอบชิ้นสวนยานยนตแหงหนึ่งมีเครื่องจักรตางๆ ที่ใชในการผลิตชิ้นสวนยานยนต ในแผนก A เมื่อผลิตและประกอบแลวเสร็จ แผนก A จะสงชิ้นสวนยานยนตเหลานั้นมาพัก
ไวที่แผนก B แลวจึงนําไปตรวจสอบที่แผนก C และเมื่อผานการตรวจสอบ จะถูกสงไปยังแผนกบรรจุหีบภัณฑ เพื่อบรรจุหีบภัณฑแลวจึงรอสงมอบใหลูกคา จากการดําเนินงานตามขั้น
ตอนดังกลาวขางตน พบวา โรงงานตองสูญเสียพื้นที่พักชิ้นสวนยานยนต ที่แผนก B วิศวกรจึงทําการเปลี่ยนแปลงการดําเนินงาน โดยนําชิ้นสวนยานยนตที่ผลิตและประกอบจากแผนก

ิท
A มาตรวจสอบที่จุดสิ้นสุดการผลิตและประกอบที่แผนก A ใหแลวเสร็จ จากนั้นจึงนําไปบรรจุหีบภัณฑแลวจึงรอสงมอบใหลูกคา ผลทําใหไมตองพักสินคาที่แผนก B ดังแตกอน


อยากทราบวาวิธีการปรับปรุงนี้ เปนการดําเนินการตามแนวทางใด

ว น
คําตอบ 1 : เปลี่ยนลําดับขั้นตอนการทํางานใหม


คําตอบ 2 : ตัดทอนงานที่ไมจําเปนออกใหหมด


คําตอบ 3 : ทําใหการทํางานที่จําเปนงายขึ้น


คําตอบ 4 : รวมการทํางานที่คลายคลึงกันเขาดวยกัน

กร ข

ขอที่ : 151



ในการทํางานของพนักงานกลึงชิ้นงาน โดยมีรายละเอียดดังตารางขางลางนี้

าว
พนักงาน เครื่องจักร


1. หยิบชิ้นงานใสในที่จับชิ้นงานบนแทนกลึงแลวตั้งมีด วางงาน


กลึง (ใชเวลา 1.00 นาที)
วางงาน 2. เครื่องกลึงกลึงชิ้นงานตามที่กําหนด (ใชเวลา 2.25
นาที)
3. หยุดเครื่องกลึง แลวถอดชิ้นงานออกจากที่จับ (ใช วางงาน
เวลา 0.75 นาที)
จงหาเปอรเซ็นตการทํางานของพนักงาน (Operator Utilization) และ เปอรเซ็นตการทํางานของเครื่องจักร (Machine Utilization) ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 25.00% และ 75.00% ตามลําดับ
คําตอบ 2 : 66.67% และ 33.33% ตามลําดับ 34 of 102

คําตอบ 3 : 30.77% และ 69.23% ตามลําดับ


คําตอบ 4 : 43.75% และ 56.25% ตามลําดับ

ขอที่ : 152
แผนภูมิใดใชบันทึกวิธีการทํางานใหอยูในลักษณะที่เห็นไดชัดเจน กระชับ ชวยใหเขาใจการทํางาน และชวยในการปรับปรุงการทํางาน
คําตอบ 1 : แผนภูมิของคนและเครื่องจักร (Man and Machine Chart)
คําตอบ 2 : แผนภูมิควบคุมคุณภาพ (Quality Control Chart)
คําตอบ 3 : แผนภูมิมือซายและมือขวา (Left and Right Hand Chart)

่ า ย

คําตอบ 4 : แผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart)

ขอที่ : 153

จ ำ ห

วิศวกรทานหนึ่งไดใชแผนภูมิมือซายและมือขวา (Right and Left Hand Chart) วิเคราะหวิธีการจัดรูรางเหล็กสําหรับติดบานพับแตละชิ้น ที่คนงานทําอยูในปจจุบัน พบวามี การ

า้
ปฏิบัติงาน (Operations) ดวยมือซาย 9 ครั้ง มือขวา 11 ครั้ง การขนสง (Transportations) ดวยมือซาย 0 ครั้ง มือขวา 6 ครั้ง การลาชา หรือ การวาง (Delays) ดวยมือซาย 0 ครั้ง

ิธ์ ห
มือขวา 4 ครั้ง และ การถือ (Holds) ดวยมือซาย 12 ครั้ง มือขวา 0 ครั้ง เมื่อปรับปรุงวิธีการทํางานใหม พบวา การปฏิบัติงาน (Operations) ดวยมือซาย 4 ครั้ง มือขวา 4 ครั้ง การ
ขนสง (Transportations) ดวยมือซาย 4 ครั้ง มือขวา 4 ครั้ง การลาชา หรือ การวาง (Delays) ดวยมือซาย 0 ครั้ง มือขวา 2 ครั้ง และ การถือ (Holds) ดวยมือซาย 2 ครั้ง มือขวา 0
ครั้ง จากขอมูลขางตน ทานสามารถสรุปไดวาวิธีการทํางานใหมที่ปรับปรุงขึ้นดีกวาวิธีการเดิม (ปจจุบัน) เพราะเหตุผลขอใด

ิท
คําตอบ 1 : การทํางานเจาะรูรางเหล็กสําหรับติดบานพับแตละชิ้นโดยวิธีการที่ปรับปรุงจะใชเวลานอยลง โดยใชเวลาประมาณ 20/42 ของเวลาการทํางานดวยวิธีการเดิม (ปจจุบัน)

นส
จํานวนกิจกรรมทั้ง 4 ชนิด คือ การปฏิบัติงาน (Operations) การขนสง (Transportations) การลาชา (Delays) และ การถือ (Holds) ของวิธีการทํางานใหมที่ปรับ


คําตอบ 2 : ปรุงมี 20 กิจกรรม ซึ่งนอยกวาจํานวนกิจกรรมทั้ง 4 ชนิด ของวิธีการทํางานเดิม (ปจจุบัน) ที่มี 42 กิจกรรม และวิธีการทํางานใหมที่ปรับปรุงมีการใชมือทั้งสองขางทํา


งานอยางสมดุล


วิธีการทํางานใหมที่ปรับปรุงขึ้นมีจํานวนการปฏิบัติงานของมือซายและมือขวาเพียง 8 ครั้ง ซึ่งนอยกวาจํานวนการปฏิบัติงานของมือซายและมือขวาในวิธีการทํางานเดิม


คําตอบ 3 :
(ปจจุบัน) ที่มีถึง 20 ครั้ง

กร ข
คําตอบ 4 : วิธีการทํางานใหมที่ปรับปรุงขึ้นสามารถลดเวลาการทํางานโดยรวมใหนอยกวาเวลาการทํางานโดยวิธีการทํางานเดิม (ปจจุบัน)


ิ ว
ขอที่ : 154

าว
โรงงานแหงหนึ่งมีเครื่องกลึงหลายเครื่องแตละเครื่องทํางานดวยระบบอัตโนมัติ และมีการใชงานเหมือนกันทุกประการ วิศวกรฝายผลิตทําการวิเคราะหหาวา คนงานหนึ่งคนควรจะควบ
คุมเครื่องกลึงกี่เครื่องจึงจะเหมาะสม จากการรวบรวมขอมูลพบวาคนงานใชเวลาใสชิ้นงานเขาเครื่องกลึง 60 วินาที และใชเวลานําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึง 60 วินาที สวนขอมูลเวลา


ที่เครื่องกลึงทําการกลึงชิ้นงานเทากับ 6 นาที จงหาจํานวนเครื่องกลึงที่คนงานหนึ่งคนควรจะควบคุม


คําตอบ 1 : 3 เครื่อง
คําตอบ 2 : 4 เครื่อง
คําตอบ 3 : 5 เครื่อง
คําตอบ 4 : 6 เครื่อง

ขอที่ : 155
35 of 102
ในการวิเคราะหการปฏิบัติงานและกิจกรรมในระดับมหภาค (Macro) เรานิยมใชแผนภูมิ Flow Process Chart ; FPC รวมกับแผนภูมิใด
คําตอบ 1 : Man/Machine Chart
คําตอบ 2 : Multiple Activity Chart
คําตอบ 3 : Flow Diagram
คําตอบ 4 : Simo Chart

ขอที่ : 156

่ า ย
ขอใดไมใชขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งของการสรางแผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart)


คําตอบ 1 : ระบุวิธีการผลิตชิ้นสวนที่เปนสวนประกอบของการผลิตผลิตภัณฑหลาย ๆ ชนิด เพื่อนํามาวิเคราะหการดําเนินการผลิตชิ้นสวนนั้น ๆ


คําตอบ 2 : เลือกกิจกรรมที่ตองการศึกษาโดยกําหนดเจาะจงวาตองการศึกษากระบวนการของ คน วัสดุ ชิ้นสวน หรือ ผลิตภัณฑใด

จ ำ
คําตอบ 3 : เลือกจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดโดยใหครอบคลุมกิจกรรมทั้งหมดที่ตองการศึกษา


คําตอบ 4 : เขียนแผนภูมิกระบวนการผลิตโดยในแผนภูมิตองประกอบดวย Heading , Description และ Summary

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 157
โรงงานแหงหนึ่งมีเครื่องกลึงหลายเครื่องแตละเครื่องทํางานดวยระบบอัตโนมัติ และมีการใชงานเหมือนกันทุกประการ วิศวกรฝายผลิตทําการวิเคราะหหาวา คนงานหนึ่งคนควรจะควบ

ิท
คุมเครื่องกลึงกี่เครื่องจึงจะเหมาะสม จากการรวบรวมขอมูลพบวาคนงานใชเวลาใสชิ้นงานเขาเครื่องกลึง 60 วินาที และใชเวลานําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึง 60 วินาที จากนั้นคนงาน


ตองตรวจสอบชิ้นงานกลึง 30 วินาที เดินระหวางเครื่องกลึง 30 วินาที สวนขอมูลเวลาที่เครื่องกลึงทําการกลึงชิ้นงานเทากับ 4 นาที จงหาจํานวนเครื่องกลึงที่คนงานหนึ่งคนควรจะ


ควบคุม


คําตอบ 1 : 1 เครื่อง

ส ง
คําตอบ 2 : 2 เครื่อง


คําตอบ 3 : 3 เครื่อง


คําตอบ 4 : 4 เครื่อง

ขอที่ : 158

ว กร
าว ศ

โรงงานแหงหนึ่งมีเครื่องกลึงหลายเครื่องแตละเครื่องทํางานดวยระบบอัตโนมัติ และมีการใชงานเหมือนกันทุกประการ ทางโรงงานไดทําการวิเคราะหเชิงปริมาณเพื่อหาอัตราสวนที่
เหมาะสมระหวางคนงานกับเครื่องกลึง โดยขอมูลของคนงานและเครื่องกลึงเปนดังนี้


คนงาน: ใชเวลาใสชิ้นงานเขาเครื่องกลึง 0.45 นาที


ใชเวลานําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึง 0.45 นาที

คาจางคนงาน 40 บาทตอชั่วโมง

เครื่องกลึง: เวลาที่เครื่องกลึงทําการกลึงชิ้นงาน 4.20 นาที

คาเครื่องกลึง คาบํารุงรักษาเครื่องกลึง และ คาไฟฟา 64 บาทตอชั่วโมง


36 of 102

จงหาจํานวนเครื่องกลึงที่คนงานหนึ่งคนควรจะควบคุม
คําตอบ 1 : 3 เครื่อง
คําตอบ 2 : 4 เครื่อง
คําตอบ 3 : 5 เครื่อง
คําตอบ 4 : 6 เครื่อง

ขอที่ : 159

่ า ย
โรงงานแหงหนึ่งมีเครื่องกลึงหลายเครื่องแตละเครื่องทํางานดวยระบบอัตโนมัติ และมีการใชงานเหมือนกันทุกประการ ทางโรงงานไดทําการวิเคราะหเชิงปริมาณเพื่อหาอัตราสวนที่


เหมาะสมระหวางคนงานกับเครื่องกลึง โดยขอมูลของคนงานและเครื่องกลึงเปนดังนี้

ำ ห
คนงาน: ใชเวลาใสชิ้นงานเขาเครื่องกลึง 0.45 นาที

ใชเวลานําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึง 0.45 นาที

มจ
า้
ิธ์ ห
ใชเวลาตรวจสอบชิ้นงาน 0.50 นาที

ใชเวลาเดินระหวางเครื่องกลึง 0.30 นาที

คาจางคนงาน 40 บาทตอชั่วโมง

ส ิท
เครื่องกลึง: เวลาที่เครื่องกลึงทําการกลึงชิ้นงาน 3.50 นาที

ง ว น

คาเครื่องกลึง คาบํารุงรักษาเครื่องกลึง และ คาไฟฟา 64 บาทตอชั่วโมง

ขอ
กร
จงหาจํานวนเครื่องกลึงที่คนงานหนึ่งคนควรจะควบคุม
คําตอบ 1 : 6 เครื่อง


คําตอบ 2 : 5 เครื่อง

าว ศ

คําตอบ 3 : 3 เครื่อง
คําตอบ 4 : 2 เครื่อง

ขอที่ : 160

ขอใดถูกตอง

คําตอบ 1 : แผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart) เหมาะสําหรับการวิเคราะหการทํางานของคนงานและเครื่องจักรวามีความสัมพันธกันอยางไร
คําตอบ 2 : แผนภูมิการปฏิบัติงาน (Operation Chart) มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา แผนภูมิมือขวาและมือซาย (Left and Right Hand Chart)
คําตอบ 3 : แผนภูมิกิจกรรม (Activity Chart) คือแผนภูมิแสดงขั้นตอนการทํางาน
คําตอบ 4 : แผนภาพการไหล (Flow Diagram) เหมาะสําหรับการวิเคราะหรายละเอียดในการทํางานของมือทั้งสองขาง
37 of 102
ขอที่ : 161
ขอใดเปนการศึกษาการทํางานในระดับมหภาค (Macro Motion Study)
คําตอบ 1 : การใชแผนภูมิกิจกรรมเพื่อศึกษาการทํางานของงานกลึง
คําตอบ 2 : การใชแผนผังการไหลเพื่อศึกษาการเคลื่อนที่ที่เกิดขึ้นในการผลิตหนึ่ง ๆ
คําตอบ 3 : การศึกษาการทํางานของพนักงานโดยใช Simo Chart
คําตอบ 4 : การวิเคราะหการเคลื่อนไหวของพนักงานหนึ่งคน

่ า ย

ขอที่ : 162


ในการวิเคราะหการทํางานของชางกลึงเหล็กคนหนึ่งพบวา เวลาที่ชางเอาแทงเหล็กใสเขาไปยังเครื่องกลึงแลวตั้งมีดกลึงและตั้งเครื่องกลึงใหทํางานโดยอัตโนมัติมีคาเทากับ 2.00


นาที หลังจากนั้นชางก็จะปลอยใหเครื่องกลึงทํางานเองเปนเวลา 1.15 นาที (ในชวงที่เครื่องกลึงทํางานชางจะวางงาน) หลังจากนั้นชางจะนําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึงโดยใชเวลา


0.45 นาที จงหาเปอรเซ็นตการทํางานของชางกลึงคนนี้

า้ ม
คําตอบ 1 : 31.94 เปอรเซ็นต

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 68.06 เปอรเซ็นต
คําตอบ 3 : 87.50 เปอรเซ็นต
คําตอบ 4 : 100.00 เปอรเซ็นต

ส ิท

ขอที่ : 163


ในการวิเคราะหการทํางานของชางกลึงเหล็กคนหนึ่งพบวา เวลาที่ชางเอาแทงเหล็กใสเขาไปยังเครื่องกลึงแลวตั้งมีดกลึงและตั้งเครื่องกลึงใหทํางานโดยอัตโนมัติมีคาเทากับ 2.35


นาที หลังจากนั้นชางก็จะปลอยใหเครื่องกลึงทํางานเองโดยอัตโนมัติเปนเวลา 2.05 นาที หลังจากนั้นชางจะนําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึงโดยใชเวลา 1.00 นาที จงหาเปอรเซ็นตวาง


งานของชางกลึงคนนี้
คําตอบ 1 : 37.96 เปอรเซ็นต

ขอ
กร
คําตอบ 2 : 43.52 เปอรเซ็นต


คําตอบ 3 : 62.04 เปอรเซ็นต



คําตอบ 4 : 81.48 เปอรเซ็นต

ขอที่ : 164

ภ าว

สัญลักษณที่ใชในการสรางแผนภูมิมือขวาและมือซาย (Left and Right Hand Chart) ซึ่งบอกถึงการรอคอย (D) มีความหมายอยางไร
คําตอบ 1 : เวลาใดที่ชิ้นงานตองรอคอยคนงานมาดําเนินการแปรสภาพทางดานกายภาพหรือเคลื่อนยายไปยังจุดอื่น ๆ ที่จะตองมีการดําเนินการตอไป
คําตอบ 2 : เวลาที่เครื่องจักรรอคอยคนงานมาดําเนินการใสชิ้นงานและ/หรือถอดชิ้นงานออกหลังจากที่เครื่องจักรไดปฏิบัติการไปแลว
คําตอบ 3 : เวลาใดที่มือขางหนึ่งวางงาน (ไมตองทํางาน) ในขณะเดียวกันมืออีกขางไมจําเปนตองวางไปดวยก็ได
คําตอบ 4 : เวลาใดที่มือขางหนึ่งของคนงานกําลังทํางานควบคุมเครื่องจักรหรืออุปกรณขณะที่มืออีกขางหนึ่งอาจจะวางงานหรือไมก็ได

38 of 102
ขอที่ : 165
วิศวกรฝายผลิตของโรงงานแหงหนึ่งซึ่งมีเครื่องกลึงหลายเครื่องโดยแตละเครื่องทํางานดวยระบบอัตโนมัติ และใชงานในการผลิตชิ้นงานเหมือนกันทุกประการ ตองการวิเคราะหวา คน
งานหนึ่งคนควรจะควบคุมเครื่องกลึงกี่เครื่อง เขาจึงทําการรวบรวมขอมูลพบวาคนงานใชเวลาใสชิ้นงานเขาเครื่องกลึง 90 วินาที และใชเวลานําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึง 60 วินาที
สวนขอมูลเวลาที่เครื่องกลึงทําการกลึงชิ้นงานเทากับ 5 นาที จงหาจํานวนเครื่องกลึงที่คนงานหนึ่งคนควรจะควบคุม
คําตอบ 1 : 1 เครื่อง
คําตอบ 2 : 2 เครื่อง
คําตอบ 3 : 3 เครื่อง


คําตอบ 4 : 4 เครื่อง

ขอที่ :

น่ า

166


การเก็บขอมูลการทํางานแบบมหภาค (Macro Motion Study) และ แบบจุลภาค (Micro Motion Study) แตกตางกันอยางไร


คําตอบ 1 : แบบมหภาคจะใชศึกษาวิธีการทํางานตั้งแตตนกระบวนการจนสิ้นสุดกระบวนการ แตแบบจุลภาคจะเนนที่กระบวนการหนึ่ง ๆ

า้ ม
คําตอบ 2 : แบบมหภาคจะเนนศึกษาการเคลื่อนไหวของคนแตแบบจุลภาคจะเนนการทํางานของเครื่องจักร

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แบบมหภาคจะมีสัญลักษณแสดงกิจกรรมการทํางาน (วงกลม) และการตรวจสอบ (สี่เหลี่ยม) เทานั้น แตแบบจุลภาคมีครบทุกกิจกรรม
คําตอบ 4 : แบบมหภาคใหขอมูลการทํางานของคนที่ละเอียดกวาแบบจุลภาค

ขอที่ : 167

ส ิท

ในเครื่องมือบันทึกขอมูลวิธีการทํางานเครื่องมือใดที่ไมพบเครื่องหมายแสดงกิจกรรมในการทํางานที่เปนรูปลูกศร

ง ว
คําตอบ 1 : ผังแสดงการไหล (Flow Diagram)


คําตอบ 2 : แผนภูมิกระบวนการผลิตโดยสังเขป (Outline Process Chart)


คําตอบ 3 : แผนภูมิมือซาย-ขวา (Left-Right/Operation Chart)


คําตอบ 4 : แผนภูมิกระบวนการผลิต (Flow Process Chart)

ขอที่ :

ว กร


168

าว
ในการบันทึกขอมูลโดยใชเครื่องมือบันทึกขอมูลแบบตาง ๆ ขอมูลใดที่พบในผังการไหล (Flow Diagram) แตไมพบในแผนภูมิกระบวนการผลิต (Flow Process Chart)
คําตอบ 1 : ขั้นตอนการทํางาน

ส ภ
คําตอบ 2 : ระยะทางในการเคลื่อนที่
คําตอบ 3 : การเคลื่อนที่ตัดกันระหวางขั้นตอนการทํางาน
คําตอบ 4 : เครื่องหมายลูกศร

ขอที่ : 169
โรงงานแหงหนึ่งมีเครื่องกลึงหลายเครื่องแตละเครื่องทํางานดวยระบบอัตโนมัติ และมีการใชงานเหมือนกันทุกประการ วิศวกรตองการวิเคราะหวา คนงานหนึ่งคนควรจะควบคุมเครื่อง
กลึงกี่เครื่องจึงจะเหมาะสม จากการรวบรวมขอมูลพบวาคนงานใชเวลาใสชิ้นงานเขาเครื่องกลึง 45 วินาที และใชเวลานําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึง 30 วินาที สําหรับเวลาที่เครื่องกลึง
39 of 102
ทําการกลึงชิ้นงานนั้นเทากับ 5 นาที จงหาจํานวนเครื่องกลึงที่คนงานหนึ่งคนควรจะควบคุมได
คําตอบ 1 : 2 เครื่อง
คําตอบ 2 : 3 เครื่อง
คําตอบ 3 : 4 เครื่อง
คําตอบ 4 : 5 เครื่อง

ขอที่ : 170

่ า ย
โรงงานแหงหนึ่งมีเครื่องกลึงหลายเครื่องและแตละเครื่องใชงานเหมือนกันทุกประการ จากการรวบรวมขอมูลเวลาที่ใชทํางาน พบวาคนงานใชเวลาใสชิ้นงานเขาเครื่องกลึง 30 วินาที


นําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึง 30 วินาที จากนั้นคนงานตองตรวจสอบชิ้นงานกลึง 30 วินาที เดินระหวางเครื่องกลึง 30 วินาที สําหรับเวลาที่เครื่องกลึงทําการกลึงชิ้นงานนั้นเทากับ 5


นาที จงหาจํานวนเครื่องกลึงที่คนงานหนึ่งคนควรจะควบคุมได


คําตอบ 1 : 4 เครื่อง


คําตอบ 2 : 3 เครื่อง

า้ ม
คําตอบ 3 : 2 เครื่อง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 1 เครื่อง

ขอที่ :

ิท
171


จากแผนภูมิคนและเครื่องจักรของขั้นตอนหนึ่งในการผลิตถวยสแตนเลส (Stainless) ซึ่งประกอบดวยคนงาน 2 คน และเครื่องขัด 1 เครื่อง โดยคนที่ 1 ขัดและทําความสะอาดถวยใช


เวลา 0.8 นาทีตอชิ้น คนที่ 2 บรรจุถวยใชเวลา 0.5 นาทีตอชิ้น ทั้งนี้ในการขัดถวยจะใชเครื่องจักรชวยทํางานโดยใชเวลา 0.4 นาทีตอชิ้น จงหาจํานวนถวยที่จะผลิตไดตอชั่วโมง


คําตอบ 1 : 150 ชิ้นตอชั่วโมง

ส ง
คําตอบ 2 : 120 ชิ้นตอชั่วโมง


คําตอบ 3 : 75 ชิ้นตอชั่วโมง


คําตอบ 4 : 35 ชิ้นตอชั่วโมง

ขอที่ : 172

ว กร
าว ศ

จากแผนภูมิคนและเครื่องจักรของขั้นตอนหนึ่งในการผลิตถวยสแตนเลส (Stainless) ซึ่งประกอบดวยคนงาน 2 คน และเครื่องขัด 1 เครื่อง โดยคนที่ 1 ขัดและทําความสะอาดถวยใช
เวลา 0.8 นาทีตอชิ้น คนที่ 2 บรรจุถวยใชเวลา 0.5 นาทีตอชิ้น ทั้งนี้ในการขัดถวยจะใชเครื่องจักรชวยทํางานโดยใชเวลา 0.4 นาทีตอชิ้น จงหาเปอรเซ็นตการทํางานของคนงานคนที่


1 , 2 และเครื่องจักร ตามลําดับ


คําตอบ 1 : 47.06 % , 29.41 % และ 23.53 % ตามลําดับ
คําตอบ 2 : 66.67 % , 41.67 % และ 33.33 % ตามลําดับ
คําตอบ 3 : 88.89 % , 55.56 % และ 44.44 % ตามลําดับ
คําตอบ 4 : 100.00 % , 62.50 % และ 50.00 % ตามลําดับ

ขอที่ : 173
40 of 102
จากแผนภูมิคนและเครื่องจักรของขั้นตอนหนึ่งในการผลิตถวยสแตนเลส (Stainless) ซึ่งประกอบดวยคนงาน 3 คน และเครื่องขัด 1 เครื่อง โดยคนที่ 1 ขัดถวยดวยเครื่องจักรใชเวลา
0.4 นาทีตอชิ้น คนที่ 2 ทําความสะอาดถวยใชเวลา 0.3 นาทีตอชิ้น คนที่ 3 บรรจุถวยใชเวลา 0.5 นาทีตอชิ้น ทั้งนี้ในการขัดถวยจะใชเครื่องจักรชวยทํางานโดยใชเวลา 0.4 นาทีตอ
ชิ้น จงหาจํานวนถวยที่จะผลิตไดตอชั่วโมง
คําตอบ 1 : 200 ชิ้นตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : 120 ชิ้นตอชั่วโมง
คําตอบ 3 : 75 ชิ้นตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : 50 ชิ้นตอชั่วโมง

่ า ย
ขอที่ : 174


จากแผนภูมิคนและเครื่องจักรของขั้นตอนหนึ่งในการผลิตถวยสแตนเลส (Stainless) ซึ่งประกอบดวยคนงาน 3 คน และเครื่องขัด 1 เครื่องโดยคนที่ 1 ขัดถวยดวยเครื่องจักรใชเวลา


0.4 นาทีตอชิ้น คนที่ 2 ทําความสะอาดถวยใชเวลา 0.3 นาทีตอชิ้น คนที่ 3 บรรจุถวยใชเวลา 0.5 นาทีตอชิ้น ทั้งนี้ในการขัดถวยจะใชเครื่องจักรชวยทํางานโดยใชเวลา 0.4 นาทีตอ


ชิ้น จงหาเปอรเซ็นตการทํางานของคนงานคนที่ 1 , 2 , 3 และเครื่องจักร


คําตอบ 1 : 80.00 % , 60.00 % , 100.00 % และ 80.00 % ตามลําดับ

า้ ม
คําตอบ 2 : 57.14% , 42.86 % , 71.43 % และ 57.14 % ตามลําดับ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 33.33 % , 25.00 % , 41.67 % และ 33.33 % ตามลําดับ
คําตอบ 4 : 25.00 % , 18.75 % , 31.25 % และ 25.00 % ตามลําดับ

ขอที่ : 175

ส ิท

จากแผนภูมิคนและเครื่องจักรของขั้นตอนหนึ่งในการผลิตถวยสแตนเลส (Stainless) ซึ่งประกอบดวยคนงาน 2 คน และเครื่องขัด 1 เครื่องโดยคนที่ 1 ขัดและทําความสะอาดถวยใช


เวลา 0.8 นาทีตอชิ้น คนที่ 2 บรรจุถวยใชเวลา 0.5 นาทีตอชิ้น ทั้งนี้ในการขัดถวยจะใชเครื่องจักรชวยทํางานโดยใชเวลา 0.4 นาทีตอชิ้น จงหาเวลาวงรอบ (Cycle Time) ของขั้น


ตอนนี้

อ ส
คําตอบ 1 : 1.3 นาทีตอชิ้น


คําตอบ 2 : 1.2 นาทีตอชิ้น

กร
คําตอบ 3 : 1.7 นาทีตอชิ้น


คําตอบ 4 : 0.8 นาทีตอชิ้น

ขอที่ : 176

าว ศ


จากแผนภูมิคนและเครื่องจักรของขั้นตอนหนึ่งในการผลิตถวยสแตนเลส (Stainless) มีคนงาน 2 คน ชวยกันทํางาน โดยคนที่ 1 ขัดและทําความสะอาดถวยใชเวลา 0.8 นาทีตอชิ้น


คนที่ 2 บรรจุถวยใชเวลา 0.5 นาทีตอชิ้น และในการขัดถวยจะใชเครื่องจักรชวยทํางานโดยใชเวลา 0.4 นาทีตอชิ้น สมมติวาคาจางคนงานคนละ 25 บาทตอชั่วโมง และคาใชเครื่อง
จักรชวยขัดถวยเทากับ 70 บาทตอชั่วโมง จงหาคาจางคนงานและคาใชเครื่องจักรในขั้นตอนนี้ที่ผลิตถวยดังกลาวตอชิ้น
คําตอบ 1 : 1.60 บาทตอชิ้น
คําตอบ 2 : 1.20 บาทตอชิ้น
คําตอบ 3 : 1.00 บาทตอชิ้น
คําตอบ 4 : 0.80 บาทตอชิ้น
41 of 102

ขอที่ : 177
จากแผนภูมิคนและเครื่องจักรของขั้นตอนหนึ่งในการผลิตถวยสแตนเลส (Stainless) มีคนงาน 3 คน ชวยกันทํางาน โดยคนที่ 1 ขัดถวยดวยเครื่องจักรใชเวลา 0.4 นาทีตอชิ้น คนที่ 2
ทําความสะอาดถวยใชเวลา 0.3 นาทีตอชิ้น คนที่ 3 บรรจุถวยใชเวลา 0.5 นาทีตอชิ้น และในการขัดถวยจะใชเครื่องจักรชวยทํางานโดยใชเวลา 0.4 นาทีตอชิ้น จงหาเวลาวงรอบ
(Cycle Time) ของขั้นตอนนี้
คําตอบ 1 : 1.6 นาทีตอชิ้น
คําตอบ 2 : 1.2 นาทีตอชิ้น
คําตอบ 3 : 0.8 นาทีตอชิ้น


คําตอบ 4 : 0.5 นาทีตอชิ้น

น่ า

ขอที่ : 178


จากแผนภูมิคนและเครื่องจักรของขั้นตอนหนึ่งในการผลิตถวยสแตนเลส (Stainless) มีคนงาน 3 คน ชวยกันทํางาน โดยคนที่ 1 ขัดถวยดวยเครื่องจักรใชเวลา 0.4 นาทีตอชิ้น คนที่ 2


ทําความสะอาดถวยใชเวลา 0.3 นาทีตอชิ้น คนที่ 3 บรรจุถวยใชเวลา 0.5 นาทีตอชิ้น และในการขัดถวยจะใชเครื่องจักรชวยทํางานโดยใชเวลา 0.4 นาทีตอชิ้น สมมติวาคาจางคนงาน


คนละ 30 บาทตอชั่วโมง และคาใชเครื่องจักรชวยขัดถวยเทากับ 70 บาทตอชั่วโมง จงหาคาจางคนงานและคาใชเครื่องจักรในขั้นตอนนี้ที่ผลิตถวยดังกลาวตอชิ้น

า้
คําตอบ 1 : 0.50 บาทตอชิ้น

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 1.07 บาทตอชิ้น
คําตอบ 3 : 1.33 บาทตอชิ้น

ิท
คําตอบ 4 : 4.27 บาทตอชิ้น

นส

ขอที่ : 179


เหตุการณการเคลื่อนที่ยอนกลับไปมา (Backtracking) พบไดในเครื่องมือบันทึกขอมูลเครื่องมือใด

อ ส
คําตอบ 1 : Flow Process Chart


คําตอบ 2 : Flow Diagram

กร
คําตอบ 3 : Man-Machine Chart


คําตอบ 4 : Gang-Chart

ขอที่ : 180

าว ศ


เครื่องมือบันทึกขอมูลเครื่องมือใด สามารถใชเปนแนวทางในการจัดผังการผลิตของผลิตภัณฑใหม


คําตอบ 1 : Flow Process Chart
คําตอบ 2 : Flow Diagram
คําตอบ 3 : Man-Machine Chart
คําตอบ 4 : Outline Process Chart

ขอที่ : 181
42 of 102
กิจกรรมใดตอไปนี้แทนดวยเครื่องหมายวงกลมในผังกระบวนการผลิต
คําตอบ 1 : การซอมชิ้นงานเสีย
คําตอบ 2 : การขนวัสดุ
คําตอบ 3 : การวัดระยะเพื่อวาดแบบบนแผนเหล็ก
คําตอบ 4 : การรอรถสงของ

ขอที่ : 182

่ า ย
กิจกรรมใดตอไปนี้แทนดวยเครื่องหมายคลายอักษรภาษาอังกฤษตัว ดี ในผังกระบวนการผลิต


คําตอบ 1 : ชิ้นงานรอแหงกอนทําการบรรจุหีบหอ


คําตอบ 2 : ชิ้นงานรอเขากระบวนการผลิตกอนเริ่มการผลิต

จ ำ
คําตอบ 3 : ชิ้นงานรอซอม


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 183
กิจกรรมใดตอไปนี้แทนดวยเครื่องหมายสามเหลี่ยมหัวกลับ ในผังกระบวนการผลิต

ิท
คําตอบ 1 : Work In Process


คําตอบ 2 : ชิ้นสวนจากชั้นวางขางสายการผลิต

ว น
คําตอบ 3 : ชิ้นงานวางบนรถเข็นในคลังเก็บชิ้นงานเพื่อรอนําไปใชในสายการผลิตหลักตอไป


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

อ ส

ขอที่ : 184

กร
เครื่องมือบันทึกเครื่องมือใดที่งายตอการวิเคราะหหาชิ้นสวนหลัก ชิ้นสวนรองในการผลิต


คําตอบ 1 : Flow Process Chart



คําตอบ 2 : Flow Diagram

าว
คําตอบ 3 : Outline Process Chart


คําตอบ 4 : Man-Machine Chart

ขอที่ : 185

เครื่องมือบันทึกเครื่องมือใดแสดงชิ้นสวนและความสัมพันธของชิ้นสวนทั้งหมดไดอยางรวดเร็ว
คําตอบ 1 : Outline Process Chart
คําตอบ 2 : Flow Process Chart
คําตอบ 3 : Flow Diagram
43 of 102
คําตอบ 4 : Man-Machine Chart
ขอที่ : 186
จาก Process Chart สามารถแบงวัสดุการผลิตไดเปนอะไรบาง
คําตอบ 1 : วัสดุหลักและวัสดุรอง
คําตอบ 2 : วัสดุทางตรงและวัสดุทางออม
คําตอบ 3 : วัสดุสิ้นเปลืองและวัสดุใชแลวหมดไป


คําตอบ 4 : วัตถุดิบและชิ้นสวน

น่ า

ขอที่ : 187


จาก Process Chart สามารถแบงชิ้นสวนการผลิตไดเปนอะไรบาง
คําตอบ 1 : ชิ้นสวนผลิตและชิ้นสวนซื้อ

มจ
า้
คําตอบ 2 : ชิ้นสวนหลักและชิ้นสวนซื้อ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนหลักและชิ้นสวนผลิต
คําตอบ 4 : ชิ้นสวนซื้อและชิ้นสวนจางทํา

ขอที่ : 188

ส ิท
ว น
การวิเคราะหขอมูลจาก Flow Diagram ที่แสดงเฉพาะเสนทางการไหลของงาน จะใชคําถามใดมากที่สุด


คําตอบ 1 : Why


คําตอบ 2 : When


คําตอบ 3 :


Where

กร
คําตอบ 4 : How

ขอที่ : 189


ิ ว
าว
การวิเคราะหกิจกรรม Operation จาก Flow Process Chart จะใชคําถามใดมากที่สุด


คําตอบ 1 : what


คําตอบ 2 : Who
คําตอบ 3 : Where
คําตอบ 4 : When

ขอที่ : 190
สัญลักษณใดที่ไมพบใน Outline Process Chart (แผนภูมิกระบวนการผลิตโดยสังเขป)
44 of 102
คําตอบ 1 : สี่เหลี่ยม
คําตอบ 2 : วงกลม
คําตอบ 3 : ลูกศร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 191
สัญลักษณใดที่ไมพบใน Process Chart
คําตอบ 1 : สี่เหลี่ยม

่ า ย

คําตอบ 2 : วงกลม


คําตอบ 3 : หาเหลี่ยม

จ ำ
คําตอบ 4 : ลูกศร

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
192
บริษัทแหงหนึ่งใชเครื่องจักรเปนอุปกรณหลักในการผลิต ซึ่งมีเครื่องจักรทั้งหมด 3 เครื่อง ถาตองการเปรียบเทียบชวงการใชงานของเครื่องจักรทั้งสามเครื่องในหนึ่งวัน ควรใชเครื่อง
มือใดบันทึกขอมูล

ิท
คําตอบ 1 : Process Chart


คําตอบ 2 : Multi-Activity Chart


คําตอบ 3 :


Man-Machine Chart


คําตอบ 4 : Gang Chart

อ ส

ขอที่ : 193

กร
ขอใดคือประโยชนโดยตรงในการปรับปรุงการทํางานที่ไดจากการใชขอมูลจาก Man-Machine Chart


คําตอบ 1 : ลดเวลาวางงาน



คําตอบ 2 : เวลาตอรอบการทํางาน

าว
คําตอบ 3 : ปรับเปลี่ยนวิธีการทํางานใหม


คําตอบ 4 : ลดการเคลื่อนที่ของคน

ขอที่ : 194

ขอใดเปนกิจกรรมที่เปนการเตรียมพรอม
คําตอบ 1 : Loading
คําตอบ 2 : Cleaning
คําตอบ 3 : Transport
คําตอบ 4 : Cutting 45 of 102
ขอที่ : 195
คําถามใดที่ใชในการวิเคราะหจุดประสงคการทํางาน
คําตอบ 1 : Where
คําตอบ 2 : How
คําตอบ 3 : What


คําตอบ 4 : Who

น่ า

ขอที่ : 196


คําถามใดที่ใชในการวิเคราะหลําดับการทํางาน
คําตอบ 1 : Where

มจ
า้
คําตอบ 2 : When

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : What
คําตอบ 4 : Who else

ขอที่ : 197

ส ิท
ว น
เปาหมายของคําถามที่ขึ้นตนดวย Why คืออะไร


คําตอบ 1 : เพื่อวิเคราะหจุดประสงคของการทํางาน


คําตอบ 2 : เพื่อวิเคราะหลําดับการทํางาน


คําตอบ 3 : เพื่อวิเคราะหการเคลื่อนที่
คําตอบ 4 : เพื่อวิเคราะหหาผูกระทํา

กร ข
ขอที่ : 198


ิ ว
าว
สัญลักษณสี่เหลี่ยมในแผนภูมิกระบวนการผลิตหมายถึงอะไร


คําตอบ 1 : แทนการปฎิบัติงาน


คําตอบ 2 : แทนการตรวจสอบงาน
คําตอบ 3 : แทนการขนถาย
คําตอบ 4 : แทนที่เก็บงานถาวร

ขอที่ : 199
คําวา Process Chart คือขอใด
46 of 102
คําตอบ 1 : แผนภูมิกระบวนการผลิต
คําตอบ 2 : แผนภูมิคนและเครื่องจักร
คําตอบ 3 : แผนภูมิการตรวจสอบ
คําตอบ 4 : แผนภูมิการแยกการทํางาน

ขอที่ : 200
ขอใดไมใชประเภทของแผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart)
คําตอบ 1 : ประเภทคน

่ า ย

คําตอบ 2 : ประเภทวัสดุ


คําตอบ 3 : ประเภทเครื่องจักร

จ ำ
คําตอบ 4 : ประเภทการผลิต

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
201
สัญลักษณ O ของแผนภูมิกระบวนการผลิตมีความหมายวาอยางไร
คําตอบ 1 : การตรวจงาน

ิท
คําตอบ 2 : การปฎิบัติงาน


คําตอบ 3 : การขนถาย

ว น
คําตอบ 4 : การเก็บพักถาวร

ส ง

ขอที่ : 202


จงเรียงตามลําดับสัญลักษณของแผนภูมิกระบวนการผลิต ดังนี้ 1. การปฎิบัติงาน 2. การตรวจสอบงาน 3. การขนถาย 4. เก็บพักชั่วคราว 5. เก็บพักถาวร

กร
คําตอบ 1 :


ิ ว
าว
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 :

ขอที่ : 203
ขอใดเปนแผนภูมิที่ใชศึกษาและบันทึกการเคลื่อนไหวการปฎิบัติงานของคนงานที่ทํางานบนโตะ
คําตอบ 1 : Flow Process Chart
47 of 102
คําตอบ 2 : Outline Process Chart
คําตอบ 3 : Left and Right Hand Chart
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 204
โรงงานผลิตชิ้นสวนยานยนตแหงหนึ่งมีเครื่องกลึงหลายเครื่องแตละเครื่องทํางานดวยระบบอัตโนมัติ และมีการใชงานเหมือนกันทุกประการ วิศวกรฝายผลิตของโรงงานไดทําการ
วิเคราะหเชิงปริมาณเพื่อหาอัตราสวนที่เหมาะสมระหวางคนงานกับเครื่องกลึง โดยขอมูลของคนงานและเครื่องกลึงเปนดังนี้

คนงาน: ใชเวลาใสชิ้นงานเขาเครื่องกลึง 0.50 นาที

่ า ย
ใชเวลานําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึง 0.45 นาที

หน
คาจางคนงาน 55 บาทตอชั่วโมง

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
เครื่องกลึง: เวลาที่เครื่องกลึงทําการกลึงชิ้นงาน 4.50 นาที

คาเครื่องกลึง คาบํารุงรักษาเครื่องกลึง และ คาไฟฟา 150 บาทตอชั่วโมง

ิท
จงหาจํานวนเครื่องกลึงที่คนงานหนึ่งคนควรจะควบคุม
คําตอบ 1 : 8 เครื่อง

นส

คําตอบ 2 : 7 เครื่อง

ส ง
คําตอบ 3 : 6 เครื่อง


คําตอบ 4 : 5 เครื่อง

ขอที่ : 205

กร ข

ิ ว
โรงงานผลิตชิ้นสวนยานยนตแหงหนึ่งมีเครื่องกลึงหลายเครื่องแตละเครื่องทํางานดวยระบบอัตโนมัติ และมีการใชงานเหมือนกันทุกประการ วิศวกรฝายผลิตของโรงงานไดทําการ

าว
วิเคราะหเชิงปริมาณเพื่อหาอัตราสวนที่เหมาะสมระหวางคนงานกับเครื่องกลึง โดยขอมูลของคนงานและเครื่องกลึงเปนดังนี้


คนงาน: ใชเวลาใสชิ้นงานเขาเครื่องกลึง 0.55 นาที


ใชเวลานําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึง 0.50 นาที

ใชเวลาตรวจสอบชิ้นงาน 0.55 นาที

ใชเวลาเดินระหวางเครื่องกลึง0.40 นาที

คาจางคนงาน 55 บาทตอชั่วโมง 48 of 102

เครื่องกลึง: เวลาที่เครื่องกลึงทําการกลึงชิ้นงาน 4.50 นาที


คาเครื่องกลึง คาบํารุงรักษาเครื่องกลึง และ คาไฟฟา 150 บาทตอชั่วโมง

จงหาจํานวนเครื่องกลึงที่คนงานหนึ่งคนควรจะควบคุม
คําตอบ 1 : 2 เครื่อง
คําตอบ 2 : 3 เครื่อง
คําตอบ 3 : 4 เครื่อง

่ า ย
คําตอบ 4 : 5 เครื่อง

ขอที่ :

หน

206


การศึกษาการเคลื่อนไหวพื้นฐานของมืออยางละเอียดโดยการถายทําเปนภาพยนตรซึ่งเหมาะสมกับการศึกษาการทํางานซ้ํา ๆ กันที่มีวงจร (Cycle) สั้น ๆ และการทํางานสังเกตได


ยาก เชน การหยิบสิ่งของ การวางสิ่งของ เปนตน อยากทราบวาการศึกษาการเคลื่อนไหวพื้นฐานของมืออยางละเอียดมีจุดประสงคอะไร

า้
คําตอบ 1 : เพิ่มความชัดเจนในการทํางานและชวยใหคนงานทุกคนทํางานทุกงานไดงายขึ้นจนสามารถทํางานไดหลายงาน

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ชวยใหคนงานมีความเขาใจถึงการทํางานนั้น ๆ และเพิ่มความสมดุลในระบบการผลิตขององคกร
คําตอบ 3 : หาวิธีการทํางานที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและชวยฝกคนงานใหคุนเคยกับการทํางานที่ดี

ิท
คําตอบ 4 : สงเสริมและพัฒนาบุคลากรขององคกรใหมีศักยภาพในการทํางานอยางตอเนื่องและยาวนานยิ่งขึ้น

ขอที่ :

นส

207


ขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : การศึกษาการเคลื่อนไหวพื้นฐานของมืออยางละเอียดริเริ่มขึ้นโดย Frank B. Gilbreth และไดแบงขั้นตอนการเคลื่อนไหวพื้นฐานของมือทั้งสองขางออกเปน 17 แบบ


คําตอบ 2 : การศึกษาการเคลื่อนไหวพื้นฐานของมืออยางละเอียดมักจะนําไปประยุกตใชไดกับทุก ๆ กิจกรรม เชน การขนสินคาขึ้นรถบรรทุกโดยใชคนงานหลายคนชวยกันทํางาน
คําตอบ 3 :

กร ข
การศึกษาการเคลื่อนไหวพื้นฐานของมืออยางละเอียดควรนํามาใชกับการเชื่อมตัวถังรถยนตโดยเครื่องเชื่อมที่ควบคุมดวยระบบคอมพิวเตอรเพื่อลดเวลาในการทํางาน
การศึกษาการเคลื่อนไหวพื้นฐานของมืออยางละเอียดจะใชคัดเลือกพนักงานที่มีความละเอียดและทํางานอยางระมัดระวังมาทําหนาที่รวบรวมขอมูลตาง ๆ เชน การ


คําตอบ 4 :
เคลื่อนยายสินคาโดยรถยก

ขอที่ :

าว ศ


208


ประกอบ (Assemble) ในการวิเคราะหการเคลื่อนไหวพื้นฐานของมืออยางละเอียดคืออะไร
คําตอบ 1 : การวางสิ่งของใหอยูในตําแหนงที่เหมาะสมสําหรับที่จะไดเคลื่อนยายไปภายหลังจากการวางนี้ เพื่อใหงายตอการจับประกอบ
การวางหรือการหมุนสิ่งของใหเขาที่พรอมที่จะประจําตําแหนง การวางเขาที่อาจเกิดพรอมกับการขนสงก็ได โดยเริ่มจากการเริ่มวางสิ่งของลงตรงตําแหนงและสิ้นสุด
คําตอบ 2 :
เมื่อสิ่งของเขาไปอยูในที่แลว
การวางสิ่งของชิ้นหนึ่งลงบนหรือในสิ่งของอีกชิ้นหนึ่งเพื่อใหเกิดเปนชิ้นเดียวกัน โดยเริ่มจากการที่มือเริ่มจับสิ่งของเขาไปประกอบกันและสิ้นสุดเมื่อประกอบสิ่งของนั้น
คําตอบ 3 :
เรียบรอย
คําตอบ 4 : การวางสิ่งของใหอยูในตําแหนงที่จะตองประกอบพรอมทั้งชวยใหเกิดการเคลื่อนยายสิ่งของนั้นไปยังอีกตําแหนงที่ตองการไดโดยงาย
49 of 102
ขอที่ : 209
วางเขาที่ (Position) ในการวิเคราะหการเคลื่อนไหวพื้นฐานของมืออยางละเอียดคืออะไร
คําตอบ 1 : การวางสิ่งของใหอยูในตําแหนงที่เหมาะสมสําหรับที่จะไดเคลื่อนยายไปภายหลังจากการวางนี้ เพื่อใหงายตอการจับประกอบหรือทําการผลิตตอไป
คําตอบ 2 : การวางสิ่งของใหอยูในตําแหนงที่จะตองประกอบพรอมทั้งชวยใหเกิดการเคลื่อนยายสิ่งของนั้นไปยังอีกตําแหนงที่ตองการไดโดยงาย
การวางสิ่งของชิ้นหนึ่งลงบนหรือในสิ่งของอีกชิ้นหนึ่งเพื่อใหเกิดเปนชิ้นเดียวกัน โดยเริ่มจากการที่มือเริ่มจับสิ่งของเขาไปประกอบกันและสิ้นสุดเมื่อประกอบสิ่งของนั้น
คําตอบ 3 :
เรียบรอย


การวางหรือการหมุนสิ่งของใหเขาที่พรอมที่จะประจําตําแหนง การวางเขาที่อาจเกิดพรอมกับการขนสงก็ได โดยเริ่มจากการเริ่มวางสิ่งของลงตรงตําแหนงและสิ้นสุด
คําตอบ 4 :

่ า
เมื่อสิ่งของเขาไปอยูในที่แลว

หน

ขอที่ : 210


SIMO Chart คืออะไร

า้ ม
คําตอบ 1 : ผังแสดงการทํางานแบบมหภาคที่มีการกําหนดระดับความยากงายในการทํางาน

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ผังแสดงการทํางานมือซาย-ขวาที่มีการใสสเกลเวลาในการบันทึกขอมูล
คําตอบ 3 : ผังแสดงการทํางานของอวัยวะของรางกายดานซาย-ขวาที่แสดงออกถึงความพยายามและความลาที่เกิดขึ้นในการทํางานดวย
คําตอบ 4 : ผังแสดงการทํางานที่เปรียบเทียบกิจกรรม 2 กิจกรรมบนเสกลเวลา

ส ิท

ขอที่ : 211


การติดดวงไฟดวงเล็ก ๆ ไวที่นิ้วมือหรือแขนหรือสวนอื่น ๆ ของรางกายของคนงาน แลวถายดวยกลองถายภาพ เพื่อวิเคราะหลําแสงตามที่มือเคลื่อนที่ เรียกวาอะไร
คําตอบ 1 : Memomotion Study

ส ง

คําตอบ 2 : Cyclograph


คําตอบ 3 :

กร
Chrono Cyclegraph
คําตอบ 4 : Therbling


ิ ว
าว
ขอที่ : 212
ถาตองการศึกษาความสมดุลในการทํางานของมือทั้งสองขาง ควรใชเครื่องมือใด


คําตอบ 1 :


Operation Chart
คําตอบ 2 : Simo Chart
คําตอบ 3 : Left-Right Hand Chart
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 213
สเกลเทากับ 1 ในการประเมินความพยายามในการทํางานโดยใชมือทั้งสองขางจาก Simo Chart หมายถึงขอใด 50 of 102

คําตอบ 1 : Bending
คําตอบ 2 : Grasping
คําตอบ 3 : Twisting
คําตอบ 4 : Lifting

ขอที่ : 214
สเกลเทากับ 5 ในการประเมินความพยายามในการทํางานโดยใชมือทั้งสองขางจาก Simo Chart หมายถึงขอใด
คําตอบ 1 : Bending

่ า ย

คําตอบ 2 : Releasing


คําตอบ 3 : Preparing

จ ำ
คําตอบ 4 : Reaching

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
215
การหา Utilization ของการใชมือในการทํางานสามารถหาไดจากขอมูลใด
คําตอบ 1 : Operation Chart บนสเกลเวลา

ิท
คําตอบ 2 : Man-Machine Chart


คําตอบ 3 : Left-Right Hand Chart

ว น
คําตอบ 4 : Activity Chart

ส ง

ขอที่ : 216


สัญลักษณใดที่ใชแสดงวามือกําลังวางงาน (ไมไดทํางาน)

กร
คําตอบ 1 : วงกลม


คําตอบ 2 : สี่เหลี่ยม



คําตอบ 3 : ลูกศร

าว
คําตอบ 4 : D

ขอที่ : 217

ส ภ
สัญลักษณใดที่ใชแสดงวามือกําลังทํางาน
คําตอบ 1 : วงกลม
คําตอบ 2 : สี่เหลี่ยม
คําตอบ 3 : ลูกศร
คําตอบ 4 : D
51 of 102
ขอที่ : 218
สัญลักษณใดที่ใชแสดงวามือกําลังเคลื่อนที่
คําตอบ 1 : วงกลม
คําตอบ 2 : สี่เหลี่ยม
คําตอบ 3 : ลูกศร
คําตอบ 4 : D

่ า ย

ขอที่ : 219


สัญลักษณใดที่ใชแสดงวามือกําลังถือชิ้นงาน

จ ำ
คําตอบ 1 : วงกลม


คําตอบ 2 : สี่เหลี่ยม

า้
คําตอบ 3 : ลูกศร

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : สามเหลี่ยมหัวกลับ

ิท
ขอที่ : 220


ขอใดจัดเปน Micromotion Study

ว น
คําตอบ 1 : การศึกษาการทํางานของพนักงานในขณะใชเครื่องมืออยางงาย


คําตอบ 2 : การศึกษาการทํางานของพนักงานในขณะใชเครื่องจักร


คําตอบ 3 : การศึกษาการใชมือของพนักงานในการประกอบชิ้นสวน


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

กร ข

ขอที่ : 221



แผนผังที่ใหขอมูลการทํางานคลายกับ ขอมูลการศึกษาการเคลื่อนไหวของมือโดยละเอียดโดยใช Left-Right Hand Chart คือขอใด

าว
คําตอบ 1 : Simo Chart


คําตอบ 2 : Man-Machine Chart


คําตอบ 3 : Micromotion Chart
คําตอบ 4 : Activity Chart

ขอที่ : 222
ขอใดแทนดวยสัญลักษณวงกลมในการศึกษาการใชมือโดยใช Left-Right Hand Chart
คําตอบ 1 : มือซายถือชิ้นงาน
52 of 102
คําตอบ 2 : มือขวาเคลื่อนไปหยิบชิ้นสวน
คําตอบ 3 : มือทั้งสองขางตรวจสอบชิ้นงาน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 223
การศึกษาการเคลื่อนไหวของมือโดยละเอียดมีประโยชนอยางไร
คําตอบ 1 : ชวยในการออกแบบสถานีงาน
คําตอบ 2 : ชวยในการออกแบบวิธีการทํางาน

่ า ย

คําตอบ 3 : ใชแบงแยกงานระหวางคนที่ถนัดมือซายและมือขวา


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

จ ำ

ขอที่ :

า้
224
การวิเคราะหการเคลื่อนไหวของมือโดยละเอียดเหมาะกับงานประเภทใด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : งานผลิตแบบหลอโดยใชเครื่อง CNC
คําตอบ 2 : งานที่มีรอบเวลาการผลิตนอยมาก

ิท
คําตอบ 3 : งานการบรรจุหีบหอ


คําตอบ 4 : 1 และ 3 ถูก

ขอที่ :

ง ว น

225


เครื่องมือใดใชในการศึกษาการเคลื่อนไหวของมือโดยละเอียดได


คําตอบ 1 : กลองถายภาพความเร็วสูง

กร
คําตอบ 2 : แผนภูมิกระบวนการผลิตโดยใชมือ


คําตอบ 3 : ฟลมถายรูปโดยทั่วไป



คําตอบ 4 : เครื่องอัลตราซาวน

ขอที่ : 226

ภ าว

ขอใดเปนขอจํากัดในการศึกษาการเคลื่อนไหวของมือโดยละเอียด
คําตอบ 1 : ผูบันทึกขอมูล
คําตอบ 2 : งานที่มีเวลารอบการผลิตนาน
คําตอบ 3 : งานที่มีเวลารอบการผลิตต่ําและมีความตอเนื่องของการทํางานยาว
คําตอบ 4 : งานที่มีเวลารอบการผลิตต่ําแตมีความตอเนื่องของการทํางานสั้น

53 of 102
ขอที่ : 227
ใครเปนผูพัฒนาการศึกษาการเคลื่อนไหวพื้นฐานของมือ
คําตอบ 1 : Frank T. Gilbreth
คําตอบ 2 : Frank B. Gilbreth
คําตอบ 3 : Frank B. Therblig
คําตอบ 4 : Frederick W. Taylor

่ า ย
ขอที่ : 228


จากการศึกษาการเคลื่อนไหวในขอใดที่ภาคการผลิตมักนํามาใชเปนวิธีการปรับปรุงในอันดับทาย ๆ


คําตอบ 1 : Materials Flow

จ ำ
คําตอบ 2 : Plant Layout


คําตอบ 3 : Micromotion Study

า้
คําตอบ 4 : Transportation

ขอที่ : 229
ิธ์ ห
ิท
การเอื้อมไปหยิบชิ้นงานจากกลองที่วางราบบนโตะ มีการเปลี่ยนทิศทางในการเคลื่อนไหวของมือกี่จังหวะ


คําตอบ 1 : 2 จังหวะ คือ ไป-กลับ

ว น
คําตอบ 2 : 2 จังหวะ คือ ลง-ขึ้น


คําตอบ 3 : 2 จังหวะ คือ เขากลอง-หยิบ


คําตอบ 4 : 3 จังหวะ คือ ไป-หยิบ-กลับ

ขอ
กร
ขอที่ : 230


สัญลักษณที่ใชแสดงวามือกําลังตรวจสอบชิ้นงานในแผนภูมิการเคลื่อนไหวของมือซายและขวา คืออะไร



คําตอบ 1 : วงกลม

าว
คําตอบ 2 : สี่เหลี่ยม


คําตอบ 3 : ลูกศร


คําตอบ 4 : D

ขอที่ : 231
ดัชนีที่ใชบอกวามือทั้งสองขางมีการใชงานมากนอยแคไหน คืออะไร
คําตอบ 1 : Standard Time
คําตอบ 2 : Hand Working Time
54 of 102
คําตอบ 3 : Efficiency
คําตอบ 4 : Utilization

ขอที่ : 232
จงเปรียบเทียบคาสเกลการประเมินของลักษณะการทํางานของมือทั้งสองขางในลักษณะตาง ๆ ดังนี้ 1. Releasing 2. Reaching 3. Lifting
คําตอบ 1 : 1>2>3
คําตอบ 2 :


2>1>3

่ า
คําตอบ 3 : 3>2>1


คําตอบ 4 : 3>1>2

ขอที่ : 233

จ ำ ห

การหยิบชิ้นงานจากกลองที่วางทํามุมเอียงบนโตะงาน มีการเปลี่ยนการเคลื่อนไหวของมือกี่จังหวะ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 1 จังหวะ
คําตอบ 2 : 2 จังหวะ
คําตอบ 3 : 3 จังหวะ

ิท
คําตอบ 4 : 4 จังหวะ

นส

ขอที่ : 234


ขอใดถูกตองในวิเคราะหการใชมือสองขางประกอบชิ้นงาน
คําตอบ 1 :

อ ส
มือขวาจับ มือซายประกอบ ดังนั้น แทนดวยสัญลักษณเหมือนกันคือ วงกลม


คําตอบ 2 : มือขวาจับ มือซายประกอบ ดังนั้น แทนดวยสัญลักษณเหมือนกันคือ สามเหลี่ยมหัวกลับ

กร
คําตอบ 3 : มือขวา - มือซายประกอบ ดังนั้น แทนดวยสัญลักษณเหมือนกันคือ วงกลม


คําตอบ 4 : มือขวา – มือซายตรวจสอบชิ้นงานในขณะประกอบ ดังนั้น แทนดวยสัญลักษณเหมือนกันคือ สี่เหลี่ยมจัตุรัส

ขอที่ : 235

าว ศ


ขอใดเปนการวิเคราะหการเคลื่อนไหวของมือในการประกอบสกรูเขากับแหวนรอง


คําตอบ 1 : มือซายหยิบสกรู มือขวาหยิบแหวน สองมือชวยกันประกอบ
คําตอบ 2 : มือซายเคลื่อนสกรู มือขวาเคลื่อนแหวน มือซายหยิบสกรู มือขวาหยิบแหวน สองมือประกอบกัน
คําตอบ 3 : มือซายและขวาเคลื่อนที่ มือซายหยิบแหวน มือขวาหยิบสกรู สองมือเคลื่อนที่ สองมือประกอบ
คําตอบ 4 : มือซายหยิบสกรูและแหวน มือขวารับแหวนจากมือซาย สองมือประกอบ

ขอที่ : 236 55 of 102


ขอใดถูกตองในการวิเคราะหงานยอย คือ เตรียมยกของที่มีน้ําหนัก 2 กิโลกรัมโดยใช Simo Chart
คําตอบ 1 : ประเมินไดที่ระดับ 1 เพราะเปนการใชนิ้วมือสัมผัสกับของที่จะยก
คําตอบ 2 : ประเมินไดที่ระดับ 5 เพราะของที่จะยกมีน้ําหนัก
คําตอบ 3 : ไมตองประเมินเพราะยังไมเกิดงาน
คําตอบ 4 : ประเมินไดที่ระดับ 3 เพราะของที่จะยกมีน้ําหนักปานกลาง

ขอที่ : 237

่ า ย
ขอใดถูกตองในวิเคราะหการใชมือสองขางตรวจวัดชิ้นงาน


คําตอบ 1 : มือขวาจับชิ้นงาน มือซายวัด ดังนั้น แทนดวยสัญลักษณ D และ สี่เหลี่ยม


คําตอบ 2 : มือขวา - มือซายทําการวัดชิ้นงานประกอบ ดังนั้น แทนดวยสัญลักษณเหมือนกันคือ วงกลม

จ ำ
คําตอบ 3 : มือขวา - มือซายทําการวัดชิ้นงานประกอบ ดังนั้น แทนดวยสัญลักษณเหมือนกันคือ สี่เหลี่ยม


คําตอบ 4 : มือขวาจับชิ้นงาน มือซายวัด ดังนั้น แทนดวยสัญลักษณ สามเหลี่ยม และ สี่เหลี่ยม

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 238
ถางานยอยหนึ่งตองใชเวลาในการทํางานโดยเฉลี่ยและมีประสิทธิภาพหรืออัตราประเมินงาน (Rating Factor) นี้เทากับ 3.00 นาที และ 110 เปอรเซ็นต ตามลําดับ จงหาเวลาปกติ

ิท
(Normal หรือ Basic Time) ของการทํางานยอยนี้


คําตอบ 1 : 2.73 นาที


คําตอบ 2 : 3.00 นาที
คําตอบ 3 : 3.30 นาที

ง ว

คําตอบ 4 : 2.70 นาที

ขอ
กร
ขอที่ : 239


ในการทํางานเพื่อผลิตสินคาชนิดหนึ่งของพนักงานคนหนึ่งใชเวลาทํางานโดยเฉลี่ยเทากับ 2.50 นาที ถาพนักงานคนนี้ทํางานดวยประสิทธิภาพหรือที่อัตราประเมินงาน (Rating
Factor) 80 เปอรเซ็นต และมีเวลาลดหยอน 10 เปอรเซ็นต จงหาเวลามาตรฐานสําหรับการทํางานนี้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

าว
2.200 นาที
3.375 นาที ศ

ส ภ
คําตอบ 3 : 2.750 นาที
คําตอบ 4 : 2.250 นาที

ขอที่ : 240
การจบเวลาการทางานอยางหนงของคนงานคนหนง โดยแบงงานนนเปนงานยอย (Elements) ได 3 งานยอย ซงในการจบเวลาการทางานของคนงานครงน ไดดาเนนการเกบขอมูล
เวลาทํางาน (หนวยเปนวินาที) จํานวน 5 รอบ (Cycle) ดังรายละเอียดในตารางขางลางนี้
งานยอยที่ รอบ
1 2 3 4 5 56 of 102
1 15 13 14 13 12
2 18 17 20 18 16
3 11 10 9 11 10
อยากทราบวาทานจะใชขอมูลเวลาทํางานของงานยอยใด ไปคํานวณหาจํานวนรอบที่ตองจับเวลา เมื่อตองการความแมนยํา (Precision) ±5% ที่ระดับความเชื่อมั่น (Confidence
Level) 95.5% และระบุเหตุผล
คําตอบ 1 : ขอมูลเวลาทํางานของงานยอยที่ 1 เนื่องจากเปนงานยอยแรกที่คนงานเริ่มทํา ซึ่งมักจะเปนงานยอยที่สําคัญมากที่สุด


คําตอบ 2 : ขอมูลเวลาทํางานของงานยอยที่ 2 เนื่องจากเปนงานยอยที่มีคาพิสัยสูงสุด ซึ่งแสดงวาเวลาที่ใชในการทํางานยอยนี้มีการแปรเปลี่ยนมากที่สุด
คําตอบ 3 :

น่ า
ขอมูลเวลาทํางานของงานยอยที่ 3 เนื่องจากเปนงานยอยสุดทายที่คนงานตองทํา ซึ่งคนงานมักจะรีบเรงทํางานยอยนี้มากขึ้น


งานยอยใด ๆ ก็ได เนื่องจากเปนการทํางานโดยคนงานคนเดียวกันทั้งหมด นั่นแสดงวาขอมูลเวลาทํางานของแตละงานยอยสามารถนําไปหาจํานวนรอบที่ตองจับเวลา
คําตอบ 4 :


ไดจํานวนรอบเทากัน

มจ
า้
ขอที่ : 241

ิธ์ ห
การจับเวลาการทํางานอยางหนึ่งของคนงานคนหนึ่ง โดยแบงงานนั้นเปนงานยอย (Elements) ได 3 งานยอย ซึ่งในการจับเวลาการทํางานของคนงานครั้งนี้ ไดดําเนินการเก็บขอมูล
เวลาทํางาน (หนวยเปนวินาที) จํานวน 5 รอบ (Cycle) ดังรายละเอียดในตารางขางลางนี้
งานยอยที่ รอบ

ิท
1 2 3 4 5

นส
1 15 13 14 13 12


2 18 17 20 18 16

ส ง
3 11 10 9 11 10


จงหาจํานวนรอบที่ตองจับเวลา เมื่อตองการความแมนยํา (Precision) ±5% ที่ระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level) 95.5%

กร ข
คําตอบ 1 : 5 รอบ
คําตอบ 2 : 9 รอบ


คําตอบ 3 : 12 รอบ

าว ศ

คําตอบ 4 : 15 รอบ

ส ภ
ขอที่ : 242
การจบเวลาการทางานอยางหนงของคนงานคนหนง โดยแบงงานนนเปนงานยอย (Elements) ได 4 งานยอย ซงในการจบเวลาการทางานของคนงานครงน ไดดาเนนการเกบขอมูล
เวลาทํางาน (หนวยเปนวินาที) จํานวน 5 รอบ (Cycle) ดังรายละเอียดในตารางขางลางนี้
งานยอยที่ รอบ
1 2 3 4 5
1 15 73 126 183 237
2 33 89 146 200 255
3 44 99 155 211 265 57 of 102
4 60 112 170 225 278
จงหาเวลาการทํางานเฉลี่ยของงานยอยที่ 3
คําตอบ 1 : 154.8 วินาที
คําตอบ 2 : 53.0 วินาที
คําตอบ 3 : 10.2 วินาที
คําตอบ 4 : 8.8 วินาที่

่ า ย

ขอที่ : 243


ในการหาจํานวนรอบที่ตองจับเวลา เมื่อตองการความแมนยํา (Precision) ±5% ที่ระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level) เทาใดในกลุมตัวเลือกที่กําหนดใหนี้ จึงจะทําใหจํานวน


รอบที่ตองจับเวลามากที่สุด
คําตอบ 1 : ระดับความเชื่อมั่น 95.0 %

มจ
า้
คําตอบ 2 : ระดับความเชื่อมั่น 95.5 %

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ระดับความเชื่อมั่น 97.9 %
คําตอบ 4 : ระดับความเชื่อมั่น 99.7 %

ขอที่ : 244

ส ิท

ขอใดไมใชประโยชนในการแบงงานออกเปนงานยอย (Working Element)
คําตอบ 1 :

ง ว
สามารถระบุวางานยอยใดทําไดยากและชวยใหผูควบคุมการผลิตนําขอมูลเวลาที่ใชในการทํางานยอยนั้นไปสรุปเปนเวลาที่ใชผลิตสินคานั้น ๆ


คําตอบ 2 : สามารถนําคาเวลาที่จับไดในแตละงานยอยไปเปรียบเทียบกับเวลาที่ใชไปในการทํางานยอยอื่น ๆ ที่มีลักษณะการทํางานที่คลายกัน


คําตอบ 3 : สามารถกําหนดสมรรถนะการทํางานของพนักงานในแตละงานยอยไดอยางถูกตอง ซึ่งชวยใหหาเวลามาตรฐานไดถูกตองยิ่งขึ้น

กร ข
คําตอบ 4 : การวิเคราะหการทํางานที่แบงออกเปนงานยอยทําใหพบขอผิดพลาดในวิธีการทํางาน ซึ่งทําใหงายตอการปรับปรุงงาน

ขอที่ : 245


ิ ว
าว
การวัดผลงานแบงไดเปนกี่ประเภท ขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : การศึกษาวิธีการทํางาน การศึกษาเวลา


คําตอบ 2 : การศึกษาเวลาโดยตรง การสุมงาน การใชเวลาพรีดีเทอรมิน การใชขอมูลเวลาพื้นฐาน
คําตอบ 3 : การศึกษาเวลาตัวแทน การกําหนดอัตราเร็ว การกําหนดเวลาเผื่อ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 246
ขอใดไมใชประโยชนของการศึกษาเวลา (Time Study)
58 of 102
คําตอบ 1 : กําหนดเงินลงทุนสําหรับการขยายกิจการและใชวิเคราะหความสามารถดานการตลาดขององคกร
คําตอบ 2 : กําหนดราคามาตรฐานและงบประมาณในการลงทุน
คําตอบ 3 : เปนพื้นฐานในการกําหนดคาแรงจูงใจของพนักงานรวมถึงจํานวนคนงานที่ตองการสําหรับทํางานนั้น
คําตอบ 4 : จัดตารางการทํางานและวางแผนการทํางาน

ขอที่ : 247
เทคนิคที่ใชในการศึกษาเวลา (Time Study) มีหลายเทคนิคแตที่นิยมใช คือ เทคนิคการจับเวลาโดยตรง (Stopwatch Method) จงระบุขอดีของเทคนิคนี้
คําตอบ 1 : ทําใหคนงานเรงทํางานใหเร็วขึ้นกวาปกติ

่ า ย

คําตอบ 2 : ทําใหผูจับเวลาสามารถมองเห็นการทํางานที่ตองศึกษาไดอยางละเอียดชัดเจน


คําตอบ 3 : ทําใหฝายวางแผนการผลิตมีความสะดวกสบายในการวางแผนการทํางาน

จ ำ
คําตอบ 4 : ทําใหผูบริหารสูญเสียเวลานอยลงในการจัดการและบริหารองคกร

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
248
ชิ้นงานชิ้นหนึ่งตองผานขั้นตอนยอยดังตอไปนี้ งานตัด (เวลามาตรฐานที่ใช 30 วินาทีตอชิ้น) ขนจากเครื่องตัดครั้งละ 50 ชิ้น (เวลามาตรฐานที่ใช 300 วินาทีตอครั้งการขน) และงาน
เจาะ (เวลามาตรฐานที่ใช 15 วินาทีตอชิ้น) เวลามาตรฐานในการผลิตชิ้นงานนี้คือเทาไร

ิท
คําตอบ 1 : 45 วินาทีตอชิ้น


คําตอบ 2 : 51 วินาทีตอชิ้น


คําตอบ 3 : 345 วินาทีตอชิ้น
คําตอบ 4 : หาไมไดเพราะไมทราบเวลาเผื่อ

ง ว
อ ส

ขอที่ : 249

กร
ความลาชาที่สามารถหลีกเลี่ยงได (Avoidable Delay) เกิดจากอะไร


คําตอบ 1 : คนงานเกิดความไมพรอมอยางฉับพลันเนื่องจากตองเขาหองน้ํา



คําตอบ 2 : เครื่องจักรเกิดการชํารุดในระหวางการทํางานทั้ง ๆ ที่มีการซอมบํารุงเครื่องจักรเหลานั้นอยางสม่ําเสมอ

าว
คําตอบ 3 : คนงานปรับตั้งเครื่องจักร ทําความสะอาดเครื่องจักร และ หยอดน้ํามันหลอลื่นเครื่องจักร


คําตอบ 4 : คนงานลาหยุดงานโดยไมไดแจงลวงหนา จึงตองใหคนงานคนอื่นที่ไมคอยมีทักษะในการทํางานนั้นทํางานแทน

ขอที่ : 250

ความลดหยอนสวนตัว (Personal Allowance) เกิดจากอะไร
คําตอบ 1 : คนงานทํางานในสภาวะแวดลอมที่มีความรอนมาก
คําตอบ 2 : คนงานเกิดความเมื่อยลาเนื่องจากความเครียด
คําตอบ 3 : คนงานเกิดอาการเวียนศีรษะเนื่องจากอากาศแปรเปลี่ยน
คําตอบ 4 : คนงานเกิดความตองการหยุดพักเพื่อทํากิจสวนตัว เชน ดื่มน้ํา 59 of 102
ขอที่ : 251
ขอใดถูกตอง
การกําหนดเวลาลดหยอนสวนตัว (Personal Allowance) ใหแกคนงานจะตองพิจารณาสภาพความแข็งแรงทางดานรางกายของคนงานแตละคน นั่นคือคนงานที่แข็ง
คําตอบ 1 :
แรงนอยก็ควรมีเวลาลดหยอนสวนตัวมากกวาคนงานที่มีความแข็งแรงมาก
การทํางานในสภาวะแวดลอมที่มีความรอนมากหรือมีความชื้นมากควรกําหนดเวลาลดหยอนมากขึ้นเนื่องจากคนงานจะเกิดความเมื่อยลาไดงายกวาสภาวะแวดลอม
คําตอบ 2 :


ปกติ

่ า
คําตอบ 3 : ความลดหยอนลาชา (Delay Allowance) มักเกิดขึ้นในขั้นตอนการทํางานที่คนงานเกิดความเบื่อหนาย เนื่องจากเกิดความเมื่อยลาทางดานจิตใจ (Mental Fatigue)


คนงานทุกคนที่ทํางานเหมือนกันควรจะตองกําหนดเวลาลดหยอนดวยตนเองเพราะสภาพรางกายของคนงานแตละคนมีความแตกตางกัน อีกทั้งเพศและวัยของคนงาน
คําตอบ 4 :


แตละคนก็ไมเหมือนกัน

จ ำ

ขอที่ : 252

า้
การกําหนดประสิทธิภาพการทํางานของคนงานโดยใชระบบ Westinghouse จะพิจารณาอะไร

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ความตั้งใจทํางานและความสม่ําเสมอในการทํางานของคนงาน
คําตอบ 2 : ทักษะ (Skill) และ ความพยายาม (Effort) ในการทํางานของคนงาน

ิท
คําตอบ 3 : ทักษะ (Skill) ความพยายาม (Effort) ความเที่ยงตรง (Consistency) และ สภาวะแวดลอม (Condition) ในการทํางานของคนงาน


คําตอบ 4 : ความสามารถในการทํางานของคนงานคนนั้น ๆ วามีมากนอยเพียงใด ถามีมากก็กําหนดใหคนงานคนนั้นมีประสิทธิภาพสูงขึ้น

ขอที่ : 253

ง ว น

การกําหนดประสิทธิภาพการทํางานของคนงานโดยใชระบบ Effort Rating จะพิจารณาอะไร
คําตอบ 1 :

ขอ
ความพยายามในการทํางานของคนงานคนนั้น ๆ เปนสําคัญ

กร
คําตอบ 2 : ความอดทนแข็งแรงในการทํางานของคนงานคนนั้น ๆ เปนสําคัญ


คําตอบ 3 : ความมุงมั่นในการทํางานของคนงานคนนั้น ๆ เปนสําคัญ



คําตอบ 4 : ความขยันขันแข็งในการทํางานของคนงานคนนั้น ๆ เปนสําคัญ

ขอที่ : 254

ภ าว

การกําหนดประสิทธิภาพการทํางานของคนงานโดยใชระบบ Objective Rating จะพิจารณาอะไร
คําตอบ 1 : ความพยายามในการทํางานของคนงานโดยเปรียบเทียบความเร็วในการทํางาน
คําตอบ 2 : ความยากงายของงานที่ทําโดยพิจารณาวาจะตองมีการใชสวนตาง ๆ ของรางกายชวยทํางานมากนอยเพียงใด
คําตอบ 3 : ความมุงมั่นและความมานะพยายามในการทํางานของคนงานคนนั้น ๆ
คําตอบ 4 : ความพยายามในการทํางานของคนงานและความยากของงานที่ทํา

60 of 102
ขอที่ : 255
การจับเวลาการทํางานอยางหนึ่งของคนงานคนหนึ่ง โดยแบงงานนั้นเปนงานยอย (Elements) ได 3 งานยอย ซึ่งในการจับเวลาการทํางานของคนงานครั้งนี้ ไดดําเนินการเก็บขอมูล
เวลาทํางาน (หนวยเปนวินาที) จํานวน 5 รอบ (Cycle) ดังรายละเอียดในตารางขางลางนี้
งานยอยที่ รอบ
1 2 3 4 5
1 30 28 29 31 34
2 22 21 24 25 22


3 38 42 41 43 39

น่ า
อยากทราบวาทานจะใชขอมูลเวลาทํางานของงานยอยใด ไปคํานวณหาจํานวนรอบที่ตองจับเวลา เมื่อตองการความแมนยํา (Precision) ±5% ที่ระดับความเชื่อมั่น (Confidence
Level) 95.5% และระบุเหตุผล
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ขอมูลเวลาทํางานของงานยอยใด ๆ ก็ได เพราะวาเปนการทํางานโดยคนงานคนเดียวกันทั้งหมด
ขอมูลเวลาทํางานของงานยอยที่ 3 เพราะวาเปนงานยอยที่ใชเวลามากที่สุดในการทําในแตละรอบ

จ ำ ห
า้ ม
คําตอบ 3 : ขอมูลเวลาทํางานของงานยอยที่ 2 เพราะวาเปนงานยอยที่ใชเวลานอยที่สุดในการทําในแตละรอบ

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอมูลเวลาทํางานของงานยอยที่ 1 เพราะวาเปนงานยอยที่มีคาพิสัยสูงสุดซึ่งแสดงวาเวลาที่ใชในการทํางานยอยนี้มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด

ขอที่ :

ิท
256


การจับเวลาการทํางานอยางหนึ่งของคนงานคนหนึ่ง โดยแบงงานนั้นเปนงานยอย (Elements) ได 3 งานยอย ซึ่งในการจับเวลาการทํางานของคนงานครั้งนี้ ไดดําเนินการเก็บขอมูล


เวลาทํางาน (หนวยเปนวินาที) จํานวน 5 รอบ (Cycle) ดังรายละเอียดในตารางขางลางนี้


งานยอยที่ รอบ


1 2 3 4 5
1 30 28

อ ส 29 31 34


2 22 21 24 25 22

กร
3 38 42 41 43 39


จงหาจํานวนรอบรวมที่ตองจับเวลาในการเก็บขอมูลครั้งนี้ เมื่อตองการความแมนยํา (Precision) ±4% ที่ระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level) 95.5%

าว ศ

คําตอบ 1 : 5 รอบ
คําตอบ 2 : 10 รอบ


คําตอบ 3 : 12 รอบ


คําตอบ 4 : 15 รอบ

ขอที่ : 257
การจับเวลาการทํางานอยางหนึงของคนงานคนหนึง โดยแบงงานนันเปนงานยอย (Elements) ได 3 งานยอย ซึงในการจับเวลาการทํางานของคนงานครังนี ไดดําเนินการเก็บขอมูล
เวลาทํางาน (หนวยเปนวินาที) จํานวน 5 รอบ (Cycle) ดังรายละเอียดในตารางขางลางนี้
งานยอยที่ รอบ
1 2 3 4 5 61 of 102
1 22 108 193 278 362
2 50 138 225 307 393
3 83 173 257 338 427
จงหาเวลาเฉลี่ยที่ใชในการทํางานยอยที่ 1, 2, และ 3 ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 22.0 วินาที , 28.0 วินาที และ 33.0 วินาที ตามลําดับ
คําตอบ 2 : 22.4 วินาที , 30.0 วินาที และ 33.0 วินาที ตามลําดับ

่ า ย
คําตอบ 3 : 22.4 วินาที , 32.0 วินาที และ 35.0 วินาที ตามลําดับ


คําตอบ 4 : 22.0 วินาที , 32.0 วินาที และ 33.0 วินาที ตามลําดับ

ขอที่ : 258

จ ำ ห

ในการหาจํานวนรอบที่ตองจับเวลาเมื่อตองการความแมนยํา (Precision) ±10% เทากัน ที่ระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level) เทาใดในกลุมขอมูลที่กําหนดใหนี้ จึงจะทําให

า้
จํานวนรอบที่ตองจับเวลามีคานอยที่สุด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ระดับความเชื่อมั่น 95.0%
คําตอบ 2 : ระดับความเชื่อมั่น 95.5%

ิท
คําตอบ 3 : ระดับความเชื่อมั่น 97.9%


คําตอบ 4 : ระดับความเชื่อมั่น 99.7%

ขอที่ : 259

ง ว น

ในการหาจํานวนรอบที่ตองจับเวลาเมื่อตองการระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level) 95.5% เทากัน ที่ความแมนยํา (Precision) เทาไรจากกลุมขอมูลที่กําหนดให จึงจะทําให


จํานวนรอบที่ตองจับเวลามีคามากที่สุด

กร ข
คําตอบ 1 : ความแมนยํา (Precision) ±1 %
คําตอบ 2 : ความแมนยํา (Precision) ± 5 %


คําตอบ 3 : ความแมนยํา (Precision) ± 10 %
คําตอบ 4 :

าว ศ

ความแมนยํา (Precision) ±15 %

ขอที่ : 260

ส ภ
ในการหาจํานวนรอบที่ตองจับเวลาเมื่อตองการระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level) 99.7% เทากัน ที่ความแมนยํา (Precision) เทาไรจากกลุมขอมูลที่กําหนดให จึงจะทําให
จํานวนรอบที่ตองจับเวลามีคานอยที่สุด
คําตอบ 1 : ความแมนยํา (Precision) ±1 %
คําตอบ 2 : ความแมนยํา (Precision) ±5 %
คําตอบ 3 : ความแมนยํา (Precision) ± 10 %
คําตอบ 4 : ความแมนยํา (Precision) ± 15 %
62 of 102
ขอที่ : 261
ขั้นตอนการศึกษาเวลาจะตองเลือกคนงานและวิธีทํางานที่จะศึกษาเพื่อประโยชนอะไร
คําตอบ 1 : ชวยใหผูเก็บขอมูลเวลาที่ใชในการทํางานของคนงานเขาใจถึงการทํางานของคนงานมากขึ้นและคนงานก็สามารถทํางานตามวิธีที่ตนตองการได
คําตอบ 2 : ชวยใหไดขอมูลเวลาที่ใชในการทํางานของคนงานอยางเหมาะสมเพราะคนงานจะทํางานดวยวิธีที่กําหนดและไมทํางานใหลาชาหรือรีบเรงเกินไป
คําตอบ 3 : ชวยใหคนงานที่ถูกเลือกมาศึกษาเวลาที่ใชในการทํางานมีความพึงพอใจอยางยิ่งที่ไดรับการยอมรับจากเพื่อนรวมงานและหัวหนางานของตน
คําตอบ 4 : ชวยใหวิธีการทํางานเปนวิธีที่ดีและเหมาะสมที่สุดตลอดจนคนงานที่ไดรับเลือกมาทําการศึกษาเวลาก็สามารถพัฒนาตนเองในดานจิตใจอยางตอเนื่อง

่ า ย

ขอที่ : 262


การทําการศึกษาเวลาเมื่อมีการกําหนดหรือเลือกวิธีทํางานแลว ผูวิเคราะหจะตองบันทึกขอมูลอะไรบาง ลงในแบบฟอรมบันทึกขอมูล

จ ำ
คําตอบ 1 : รายชื่อคนงานทั้งหมดและรายละเอียดของเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณทั้งหมดในหนวยงานที่ทําการศึกษาเวลา


คําตอบ 2 : รายละเอียดของเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณทั้งหมดในหนวยงานที่ทําการศึกษาเวลา

า้
คําตอบ 3 : รูปชิ้นงาน สถานที่ทํางาน เครื่องจับยึดชิ้นงาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณที่ใชในการทํางานตลอดจนชื่อคนงานที่ถูกเลือกมาศึกษาและชื่อผูวิเคราะห

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : รายชื่อคนงานทั้งหมดในหนวยงานที่ทําการศึกษาเวลาและรายละเอียดของชิ้นงานที่ทําการศึกษาตลอดจนขอมูลของผูวิเคราะห

ิท
ขอที่ : 263


การทําการศึกษาเวลามีลําดับขั้นตอนอยางไร

ว น
เลือกคนงานและวิธีทํางานที่จะศึกษา แบงงานออกเปนงานยอย จับเวลาทํางานแตละขั้นตอนงานยอย ประเมินประสิทธิภาพของคนงาน คํานวณหาเวลาปกติ กําหนด
คําตอบ 1 :


เวลาลดหยอน และคํานวณเวลามาตรฐาน


เลือกคนงานและวิธีทํางานที่จะศึกษา แบงงานออกเปนงานยอย จับเวลาทํางานแตละขั้นตอนงานยอย คํานวณหาเวลาปกติ กําหนดเวลาลดหยอน และคํานวณเวลา
คําตอบ 2 :


มาตรฐาน


เลือกคนงานและวิธีทํางานที่จะศึกษา แบงงานออกเปนงานยอย จับเวลาทํางานแตละขั้นตอนงานยอย กําหนดจํานวนรอบที่ตองจับเวลา คํานวณหาเวลาปกติ กําหนด

กร
คําตอบ 3 :
เวลาลดหยอน และคํานวณเวลามาตรฐาน


เลือกคนงานและวิธีทํางานที่จะศึกษา แบงงานออกเปนงานยอย จับเวลาทํางานแตละขั้นตอนงานยอย กําหนดจํานวนครั้งที่ตองจับเวลา ประเมินประสิทธิภาพของคน
คําตอบ 4 :



งาน คํานวณหาเวลาปกติ กําหนดเวลาลดหยอน และคํานวณเวลามาตรฐาน

ขอที่ : 264

ภ าว

ขอใดไมใชขั้นตอนการทําการศึกษาเวลา
คําตอบ 1 : ลักษณะบุคลิกของคนงานและผูวิเคราะห
คําตอบ 2 : จับเวลาทํางานแตละขั้นตอนงานยอย
คําตอบ 3 : เลือกคนงานและวิธีทํางานที่จะศึกษา
คําตอบ 4 : แบงงานออกเปนงานยอยพรอมบันทึกรายละเอียดวิธีทํางานอยางสมบูรณ

63 of 102
ขอที่ : 265
ขอใดไมใชหลักการของการแบงงานออกเปนงานยอย?
คําตอบ 1 : แยกงานที่คนงานควบคุมออกจากงานที่เครื่องจักรควบคุมใหชัดเจน
คําตอบ 2 : แยกงานที่ทําซ้ํากันออกจากงานที่ทําเปนครั้งคราวใหชัดเจน
คําตอบ 3 : แยกงานที่จําเปนออกจากงานที่ไมจําเปน
คําตอบ 4 : แยกงานจากคนงานทุกคนในหนวยงานที่ทําการศึกษา

ขอที่ : 266

่ า ย
หลักการของการแบงงานออกเปนงานยอยที่ระบุวาตองแยกงานที่จําเปนออกจากงานที่ไมจําเปน อยากทราบวางานที่ไมจําเปนคืออะไร?


คําตอบ 1 : งานที่คนงานตองทําในบางชวงเวลา เชน การทํากิจสวนตัว


คําตอบ 2 : งานที่คนงานบางคนตองทําแตคนงานบางคนไมตองทํา

จ ำ
คําตอบ 3 : ความลาชาตาง ๆ ที่เกิดจากความผิดพลาดในขณะทํางาน


คําตอบ 4 : งานใด ๆ ก็ไดที่ไมคอยมีความสําคัญตอองคกรและบุคลากรสวนใหญ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 267
หลักการของการแบงงานออกเปนงานยอยที่ระบุวาตองแยกงานที่ทําซ้ํากันจากงานที่ทําเปนครั้งคราวออกใหชัดเจน อยากทราบวางานที่ทําเปนครั้งคราวคืออะไร

ิท
คําตอบ 1 : งานที่ทําบอย ๆ และซ้ํากันในทุก ๆ รอบการทํางาน


คําตอบ 2 : งานที่ไมไดเกิดขึ้นในทุก ๆ รอบการทํางาน เชน การตั้งเครื่องจักร

ว น
คําตอบ 3 : งานที่คนงานตองทําในบางชวงเวลา เชน การทํากิจสวนตัว


คําตอบ 4 : งานทุก ๆ งานที่ผูวิเคราะหตองจัดเตรียมกอนทําการรวบรวมขอมูล

อ ส

ขอที่ : 268

กร
ขอใดไมใชระบบการประเมินประสิทธิภาพในการทํางานของคนงาน


คําตอบ 1 : ระบบ Alignment Rating



คําตอบ 2 : ระบบ Objective Rating

าว
คําตอบ 3 : ระบบ Synthetic Rating


คําตอบ 4 : ระบบ Effort Rating

ขอที่ : 269

จํานวนครั้งที่ตองจับเวลาในการศึกษาเวลาจะมีมากหรือนอยขึ้นกับอะไร
คําตอบ 1 : คาความผันแปร (Variance) ของเวลาของแตละงานยอยที่รวบรวมไดโดยผูวิเคราะหและคนงานที่ถูกเลือกมาทําการศึกษาเวลา
คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของเวลาของงานยอยตาง ๆ คาความแมนยํา (Precision) และระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level) ที่
คําตอบ 2 :
กําหนด
64 of 102
คําตอบ 3 : คาความผันแปร (Variance) ของเวลาของแตละงานยอย รวมทั้งคาเฉลี่ย (Mean) ของเวลาของแตละงานยอยนั้น ๆ
คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของเวลาของงานยอยตาง ๆ คาความผันแปร (Variance) ของเวลาของแตละงานยอย รวมกับคาเฉลี่ย (Mean)
คําตอบ 4 : ของเวลาของแตละงานยอยนั้น ๆ

ขอที่ : 270
ระบบ Effort Rating ที่ใชในการประเมินประสิทธิภาพการทํางานของคนงานนั้นมีชื่อเรียกอีกอยางวาอะไร
คําตอบ 1 : Speed Rating
คําตอบ 2 :


Observed Rating

่ า
คําตอบ 3 : Automated Rating


คําตอบ 4 : Alignment Rating

ขอที่ : 271

จ ำ ห

การประเมินประสิทธิภาพในการทํางานของคนงานโดยระบบ Synthetic Rating จะพิจารณาอะไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ความเร็วในการทํางานโดยตรงดวยมาตรฐาน เชน ความเร็วปกติที่ใชในการแจกไพ 52 ใบ ออกเปน 4 กอง จะใชเวลาครึ่งนาที
คําตอบ 2 : ความเร็วในการทํางานของคนงานโดยเปรียบเทียบกับความเร็วปกติแลวทําการปรับคาคะแนนดวยการพิจารณาความยากงายของงาน
คําตอบ 3 : เปรียบเทียบความเร็วในการทํางานของคนงานกับความเร็วมาตรฐานที่กําหนดไวซึ่งไดจากขอมูลที่ทราบลวงหนา

ิท
คําตอบ 4 : ทักษะ (Skill) ความพยายาม (Effort) ความเที่ยงตรง (Consistency) และ สภาวะแวดลอม (Condition) ในการทํางานของคนงาน

นส

ขอที่ : 272


ชิ้นงานชิ้นหนึ่งตองผานขั้นตอนยอยดังตอไปนี้ งานตัด (เวลามาตรฐานที่ใช 20 วินาทีตอชิ้น) ขนจากเครื่องตัดครั้งละ 100 ชิ้น (เวลามาตรฐานที่ใช 300 วินาทีตอครั้งการขน) และงาน


เจาะ (เวลามาตรฐานที่ใช 15 วินาทีตอชิ้น) เวลามาตรฐานในการผลิตชิ้นงานนี้คือเทาไร ถาเวลาเผื่อคือ 10%
คําตอบ 1 : 38 วินาทีตอชิ้น

ขอ
กร
คําตอบ 2 : 48 วินาทีตอชิ้น


คําตอบ 3 : 41.8 วินาทีตอชิ้น



คําตอบ 4 : 380 วินาทีตอชิ้น

ขอที่ : 273

ภ าว

การผลิตของสายการผลิตตอเนื่องอันหนึ่งประกอบดวยสถานีงานยอย 5 สถานี แตละสถานีงานใชเวลามาตรฐานในการทํางานเทากับ 10, 9, 12, 10 และ 9 วินาทีตามลําดับ จงหา
อัตราการผลิตตอวัน และประสิทธิภาพของสายการผลิตนี้ กําหนดให 1 วันทํางาน 8 ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 576 ชิ้นตอวัน, 75 %
คําตอบ 2 : 576 ชิ้นตอวัน , 83 %
คําตอบ 3 : 2,400 ชิ้นตอวัน, 75 %
คําตอบ 4 : 2,400 ชิ้นตอวัน, 83 %
65 of 102

ขอที่ : 274
ขอใดตอไปนี้ไมใชสิ่งสําคัญในขณะจับเวลาการทํางานหนึ่ง ๆ เพื่อหาเวลามาตรฐานคืออะไร
คําตอบ 1 : จํานวนขอมูลตองมากพอเพื่อสรางความเชื่อมั่น
คําตอบ 2 : พนักงานตองมีความเขาใจในวิธีการทํางานของขั้นตอนที่จะจับเวลานั้นเปนอยางดี
คําตอบ 3 : พนักงานตองทํางานนั้นดวยอัตราการทํางานที่ปกติ
คําตอบ 4 : ตองเพิ่มเวลาเผื่อเขาไป

่ า ย
ขอที่ : 275


งานยอยคงที่ หมายถึงอะไร


คําตอบ 1 : งานยอยที่มีวิธีการทํางานที่ไมเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดของผลิตภัณฑ

จ ำ
คําตอบ 2 : งานยอยที่มีเวลามาตรฐานในการทํางานที่ไมเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดของผลิตภัณฑ


คําตอบ 3 : งานยอยของการผลิตสินคาตัวเดิมที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงทางคุณลักษณะ

า้
คําตอบ 4 : งานยอยที่เกิดจากการใชเครื่องมือตัวเดียวกันในการผลิต

ขอที่ : 276
ิธ์ ห
ิท
จากเวลาการทํางาน 8 ชม.ตอหนึ่งวัน (รวมเวลาพัก 10 นาที) ของการผลิตหนึ่งซึ่งมีสถานีการผลิตอยู 3 สถานี และมีเวลาการทํางานตอชิ้นของแตละสถานีคือ 5 วินาที 4.5 วินาที และ


3 วินาที จะมีอัตราการผลิตตอวันเทากับเทาไร


คําตอบ 1 : 2,256 ชิ้นตอวัน
คําตอบ 2 : 2,304 ชิ้นตอวัน

ง ว

คําตอบ 3 : 5,640 ชิ้นตอวัน


คําตอบ 4 : 5,760 ชิ้นตอวัน

กร ข

ขอที่ : 277



ขอใดตอไปนี้จัดเปนงานภายนอก (Outside Work)

าว
คําตอบ 1 : พนักงานทําการเจาะชิ้นงาน


คําตอบ 2 : พนักงานใชเครื่องซีเอนซีทําการกัดชิ้นงานแบบอัตโนมัติ


คําตอบ 3 : พนักงานวัดขนาดชิ้นงานกอนนําใสเครื่องกลึง
คําตอบ 4 : พนักงานรอใหเครื่องตัดอัตโนมัติทํางานเสร็จ

ขอที่ : 278
ขอใดไมจัดวาเปน Personal Allowances
คําตอบ 1 : พนักงานคุยเรื่องที่ไมเกี่ยวกับงานกับเพื่อนรวมงาน
66 of 102
คําตอบ 2 : พนักงานไปหองน้ํา
คําตอบ 3 : พนักงานไปดื่มน้ํา
คําตอบ 4 : ชวงเวลาหยุดพักระหวางเวลางานของพนักงานยกของ

ขอที่ : 279
ปจจัยในขอใดที่สําคัญที่สุดในการประเมินคาการทํางาน (Rating) ของพนักงาน
คําตอบ 1 : Skill
คําตอบ 2 :


Consistency

่ า
คําตอบ 3 : Working Condition


คําตอบ 4 : Effort

ขอที่ : 280

จ ำ ห

Representative Time นํามาจากคาใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : คาเฉลี่ย
คําตอบ 2 : คาฐานนิยม
คําตอบ 3 : คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

นส

ขอที่ : 281


การวัดงานแบงไดเปนกี่ประเภท ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 :

อ ส
การศึกษาวิธีการทํางาน การศึกษาเวลา


คําตอบ 2 : การศึกษาเวลาโดยตรง การสุมงาน การใชเวลาพรีดีเทอรมิน การใชขอมูลเวลาพื้นฐาน

กร
คําตอบ 3 : การศึกษาเวลาตัวแทน การกําหนดอัตราเร็ว การกําหนดเวลาเผื่อ


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 282

าว ศ


จากการศึกษาเวลาการทํางานโดยใชการจับเวลาโดยตรง พบวามีคาเวลาเฉลี่ย (Real หรือ Selected Time) 1.50 นาที อัตราเร็วของพนักงานเทากับ 125% จาก Scale 100 -133


เมื่อกําหนดเวลาเผื่อดังนี้ เวลาเผื่อสําหรับบุคคล 7 % ของเวลาทํางาน 1 กะ (8 ชั่วโมง) เวลาเผื่อสําหรับความลาชา 10 % ของเวลาทํางาน 1 กะ (8 ชั่วโมง) จงหาเวลามาตรฐาน
คําตอบ 1 : 2.00 นาที
คําตอบ 2 : 2.20 นาที
คําตอบ 3 : 1.60 นาที
คําตอบ 4 : 1.75 นาที

67 of 102
ขอที่ : 283
การลดเวลาการทํางานของคนกับเครื่องจักร สามารถทําไดโดยแนวทางปรับปรุงขอใด
คําตอบ 1 : ใชเครื่องจักรเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : ลดงานสวนที่เปนงานนอก (Outside Working)
คําตอบ 3 : เพิ่มงานสวนที่เปนงานนอก
คําตอบ 4 : ใชคนงานเพิ่มขึ้น

่ า ย
ขอที่ : 284


เวลามาตรฐานมักเขียนอยูในฟอรมใด


คําตอบ 1 : X นาที/ชิ้น

จ ำ
คําตอบ 2 : Y นาที/100 ชิ้น


คําตอบ 3 : Z นาที/ตัน

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 285
ิธ์ ห
ิท
เวลาเผื่อคงที่ประกอบดวยอะไรบาง


คําตอบ 1 : เวลาที่เปนสวนเกิน เวลามาตรฐาน

ว น
คําตอบ 2 : เวลาเผื่อสําหรับความเหนื่อยลาพื้นฐาน เวลามาตรฐาน


คําตอบ 3 : เวลาเผื่อความเหนื่อยลาพื้นฐาน เวลาสําหรับกิจวัตรสวนตัว


คําตอบ 4 : เวลาสําหรับกิจวัตรสวนตัว เวลามาตรฐาน

ขอ
กร
ขอที่ : 286


ขอใดไมใชเทคนิคการวัดผลงานในศาสตรการศึกษางาน



คําตอบ 1 : การวัดสมรรถนะของเครื่องจักร

าว
คําตอบ 2 : การสุมงาน


คําตอบ 3 : ขอมูลมาตรฐาน


คําตอบ 4 : การหาเวลาในการทํางานโดยใชนาฬิกาจับเวลา

ขอที่ : 287
ขอใดตอไปนี้นาจะถูกที่สุดเมื่อกําหนดวาเวลา/ชิ้น/คน ของสถานีงานหนึ่งเทากับ 0.5 นาที และจํานวนคนงานในสถานีงานมี 3 คน
คําตอบ 1 : งาน 1 ชิ้นใชเวลา 0.5 นาที
คําตอบ 2 : 1 คน ใชเวลาทํางาน 0.5 นาที
68 of 102
คําตอบ 3 : งาน 1 งานใชเวลา 0.17 นาที
คําตอบ 4 : งาน 1 งานใชเวลา 1.5 นาที

ขอที่ : 288
เวลามาตรฐานมาจากอะไร
คําตอบ 1 : เวลาวาง + เวลาพื้นฐาน (เวลาปกติ)
คําตอบ 2 : เวลาพัก + เวลาเฉลี่ย
คําตอบ 3 : เวลาเฉลี่ย + เวลาวาง

่ า ย

คําตอบ 4 : เวลาพื้นฐาน (เวลาปกติ) + เวลาเผื่อ

ขอที่ : 289

จ ำ ห

สวนของงานประกอบดวยอะไรบาง

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : สวนของงานเบื้องตน
คําตอบ 2 : สวนของงานที่เปนสวนเกิน
คําตอบ 3 : เวลาไรประสิทธิภาพ

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

นส

ขอที่ : 290


วัตถุประสงคของการวัดผลงานเพื่ออะไร
คําตอบ 1 : วิเคราะหประสิทธิภาพของคนงาน

อ ส

คําตอบ 2 : ลดเวลาไรประสิทธิภาพ

กร
คําตอบ 3 : กําหนดเวลามาตรฐานของการทํางานนั้น ๆ


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 291

าว ศ


การพิจารณาขนาดของตัวอยางในการหาเวลาการทํางานมาตรฐานใชวิธีการใด


คําตอบ 1 : วิธีทางสถิติ
คําตอบ 2 : วิธีทางการสุม
คําตอบ 3 : วิธีสรางระดับความเชื่อมั่น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 292 69 of 102


ขอใดไมใชเทคนิคของการวัดผลงาน
คําตอบ 1 : การใชขอมูลมาตรฐาน
คําตอบ 2 : การสุมงาน
คําตอบ 3 : การหาเวลาเผื่อ
คําตอบ 4 : การหาเวลาโดยพรีดีเทอรมิน

ขอที่ : 293

่ า ย
จงเรียงลําดับขั้นตอนในการวัดผลงาน 1. ตรวจ 2. รวบรวม 3. วัด 4. เลือก 5. บันทึก 6. กําหนด


คําตอบ 1 : 4,3,1,2,5,6


คําตอบ 2 : 4,5,1,3,2,6

จ ำ
คําตอบ 3 : 4,5,3,1,2,6


คําตอบ 4 : 4,5,2,1,3,6

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 294
ขอใดไมใชวิธีการหาเวลาพื้นฐาน (เวลาปกติ) โดยการใชนาฬิกาจับเวลา

ิท
คําตอบ 1 : การดึงตัวอยาง


คําตอบ 2 : การหาคาเฉลี่ย

ว น
คําตอบ 3 : การใชกราฟ


คําตอบ 4 : การใชเลขประเมิน

อ ส

ขอที่ : 295

กร
ขอใดไมใชวัตถุประสงคของการพักชั่วคราวของพนักงาน (Relaxation Allowance)


คําตอบ 1 : เพื่อทําใหคนงานฟนตัว



คําตอบ 2 : ลดความเหนื่อยลาจากการทํางาน

าว
คําตอบ 3 : ลดเวลาคนงานหยุดงานในชั่วโมงการทํางาน


คําตอบ 4 : เพื่อใหคนงานทําธุระสวนตัว

ขอที่ : 296

ขอใดไมใชวัตถุประสงคในการกําหนดเวลามาตรฐานในการทํางาน
คําตอบ 1 : เปนขอมูลในการวางแผนการสงมอบสินคา
คําตอบ 2 : เปนขอมูลในการวางแผนการผลิต
คําตอบ 3 : กําหนดมาตรฐานการทํางานของคนงาน
70 of 102
คําตอบ 4 : เปนขอมูลพิจารณาปริมาณวัตถุดิบที่จะซื้อในแตละครั้ง
ขอที่ : 297
เหตุใดจึงแยกงานยอยที่ทําดวยมือออกจากงานยอยที่ทําดวยเครื่องจักร
คําตอบ 1 : เพื่อหาขนาดตัวอยาง
คําตอบ 2 : เพื่อหาเวลามาตรฐานของคนและเครื่องจักร
คําตอบ 3 : เพื่อวัดผลงานของคนงานและเครื่องจักร


คําตอบ 4 : เพื่อกําหนดคาแรงของคนงาน

น่ า

ขอที่ : 298


การประยุกตนําเอาเทคนิคที่ออกแบบไวไปหาเวลาการทํางานชิ้นหนึ่งสําหรับคนงานที่ทํางานในระดับที่เหมาะสมคือเทคนิคประเภทใด
คําตอบ 1 : การวัดผลงาน

มจ
า้
คําตอบ 2 : การศึกษาวิธีการ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การนําไปใช
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 299

ส ิท
ว น
การวัดผลงานคืออะไร


คําตอบ 1 : การวัดผลงานดวยเครื่องมือวัดที่ถูกตองตามความเหมาะสมของงาน


คําตอบ 2 : การวัดคุณภาพของผลงานดวยการประเมิน


คําตอบ 3 : การวัดคุณภาพของการทํางานที่ดีที่สุด
คําตอบ 4 :

กร ข
การประยุกตนําเอาเทคนิคการออกแบบที่มีไวไปหาเวลาการทํางานชิ้นหนึ่งสําหรับคนงานที่ทํางานในระดับที่เหมาะสม

ขอที่ : 300


ิ ว
าว
ขอใดไมใชขั้นตอนในการวัดผลงาน


คําตอบ 1 : เลือกงานที่จะตองการศึกษา


คําตอบ 2 : บันทึกขอมูลของงาน
คําตอบ 3 : ตรวจขอมูลที่เก็บรวบรวมได
คําตอบ 4 : ติดตามผลงานใหดีสมํ่าเสมอ

ขอที่ : 301
ขอใดไมใชหลักการที่ชวยในการแบงงานออกเปนงานยอย
71 of 102
คําตอบ 1 : แยกงานยอยใหเดนชัด
คําตอบ 2 : งานยอยไมจําเปนตองมีระยะเวลาที่สามารถวัดหรือจับได
คําตอบ 3 : จัดกลุมงานยอยใหอยูในงานเดียวกัน
คําตอบ 4 : งานยอยคงที่ควรแยกออกจากงานยอยแปรคา

ขอที่ : 302
อัตราการทํางานที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งคนงานควรจะทําขึ้นอยูกับอะไรบาง
คําตอบ 1 : การทํางานนั้น ตองใชความพยายามมากนอยแคไหน

่ า ย

คําตอบ 2 : ตองใชความระมัดระวังอยางไร


คําตอบ 3 : ประสบการณและการฝกอบรมของคนงาน

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
303
ในการศึกษาเวลาเราสามารถใชวิธีจับเวลาแบบใด
คําตอบ 1 : เเบบรวมเวลาครั้งเดียว

ิท
คําตอบ 2 : แบบเฉลี่ย


คําตอบ 3 : แบบคงที่

ว น
คําตอบ 4 : แบบผันแปร

ส ง

ขอที่ : 304


นายอุดมตองการหาขนาดตัวอยางของการศึกษาเวลาของงานยอย โดยมีขอมูลการจับเวลาเบื้องตน 5 ครั้งดังนี้คือ 8, 9, 9, 8, 8 นาที ดวยระดับความเชื่อมั่น 95.5% และคาความแมน

กร
ยํา (Precision) ±5% ดังนั้นนายอุดมควรจะตองใชขนาดของตัวอยางของงานยอยนี้เปนเทาไร


คําตอบ 1 : 15



คําตอบ 2 : 11

าว
คําตอบ 3 : 6


คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 305

วิธีการหาเวลาพื้นฐาน (เวลาปกติ) สามารถหาไดกี่วิธีอะไรบาง
คําตอบ 1 : 2 วิธี คือการหาแบบคาเฉลี่ย และ การหาแบบเลขประเมิน
คําตอบ 2 : 1 วิธี คือการหาแบบสุมคา
คําตอบ 3 : 1 วิธี คือการหาแบบจับเวลา
คําตอบ 4 : 3 วิธี คือการหาแบบคาเฉลี่ย การหาแบบเลขประเมิน และ การหาแบบเขียนกราฟ 72 of 102
ขอที่ : 306
จงหาเวลามาตรฐานของการทํางานยอยชนิดหนึ่ง ซึ่งคนงานมีสมรรถนะการทํางาน (Rating Factor) เทากับ 100 % ถาเวลาที่จับไดเปนดังนี้ 12, 13, 12, 13, 12 วินาที และมีเวลา
เผื่อเปน 15% ของเวลาพื้นฐาน (เวลาปกติ)
คําตอบ 1 : 0.238 นาที
คําตอบ 2 : 0.293 นาที


คําตอบ 3 : 0.352 นาที

่ า
คําตอบ 4 : 0.362 นาที

หน

ขอที่ : 307


ขอใดไมเกี่ยวของในการทําการศึกษาเวลา (Time Study)
คําตอบ 1 : ผูบริหารและหัวหนาคนงาน

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ลูกคา
คําตอบ 3 : วิธีการทํางานและองคประกอบทางการผลิตของงานที่จะศึกษาเวลา
คําตอบ 4 : คนงาน

ส ิท

ขอที่ : 308

ง ว
จงเรียงลําดับขั้นตอนการศึกษาเวลา (Time Study) 1. แบงแยกยอยงาน 2. หาเวลามาตรฐาน 3. วัดและบันทึกเวลา 4. บันทึกขอมูลที่เกี่ยวของ 5. กําหนดจํานวนวัฎจักรที่จะจับเวลา


6. เลือกงาน 7. กําหนดเวลาเผื่อ 8. ประเมินอัตราการทํางาน


คําตอบ 1 : 5,3,6,4,8,1,2,7


คําตอบ 2 :

กร
5,1,6,4,3,8,7,2
คําตอบ 3 : 6,4,1,3,5,8,7,2


คําตอบ 4 : 6,4,1,5,3,8,2,7

ขอที่ : 309

าว ศ


ขอใดเปนองคประกอบของระบบการประเมินอัตราการทํางานแบบ เวสติงเฮาส (Westinghouse System of Rating)


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ความชํานาญงาน
ความพยายาม
ความสม่ําเสมอในการทํางาน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 310 73 of 102


ถาทํางาน 8 ชม./วัน และคิดเวลาเผื่อสําหรับบุคคล 5% ของเวลาทํางาน 1 วัน จะมีเวลาเผื่อเทากับเทาใด
คําตอบ 1 : 24 นาที
คําตอบ 2 : 30 นาที
คําตอบ 3 : 23 นาที
คําตอบ 4 : 40 นาที

ขอที่ : 311

่ า ย
จากการจับเวลาทํางานของพนักงานคนหนึ่งพบวาใชเวลาเทากับ 15 นาที แตพนักงานคนนี้ถูกประเมินอัตราการทํางานอยูที่ระดับ 120 จากสเกลมาตรฐาน 100 แสดงวา เวลาปกติ


(Normal Time) ของพนักงานคนนี้ เทากับเทาไร


คําตอบ 1 : 15 นาที


คําตอบ 2 : 15.3 นาที

มจ
คําตอบ 3 : 16.2 นาที

า้
คําตอบ 4 : 18 นาที

ขอที่ : 312
ิธ์ ห
ิท
หลังจากจับเวลาการทํางานจริง (Real Time) และประเมินการทํางานในขณะจับเวลาแลว ควรทําอยางไรตอไปในการหาเวลามาตรฐานจากขอมูลนี้


คําตอบ 1 : นําเวลาจริงที่ไดมาหาคาเฉลี่ย แลวบวกดวยเวลาเผื่อ


ตรวจสอบจํานวนขอมูลเวลาจริงที่ไดวาเพียงพอตามระดับความเชื่อมั่นและความแมนยําที่กําหนดไวจากนั้นแปลงคาเฉลี่ยของเวลาจริงใหเปนเวลาปกติ (Normal


คําตอบ 2 :


Time) แลวบวกดวยเวลาเผื่อ


คําตอบ 3 : ตรวจสอบจํานวนขอมูลเวลาจริงที่ไดเมื่อมีความเชื่อมั่นเพียงพอ ใหนําเวลาจริงที่ไดแตละตัว บวกดวยเวลาเผื่อ แลวนํามาหาคาเฉลี่ย


คําตอบ 4 : นําเวลาจริงที่ไดมารวมกันแลวแปลงเปนเวลาปกติ (Normal Time) กอนแลวจึงบวกดวยเวลาเผื่อ

ขอที่ : 313

กร ข

พนักงานคนหนึ่งถูกประเมินอัตราการทํางาน (ประสิทธิภาพการทํางาน) ที่ระดับ 75 จากสเกลมาตรฐาน 100 แสดงวา
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

าว ศ

พนักงานคนนี้ทํางานเร็วกวามาตรฐาน
พนักงานคนนี้ใชเวลาทํางานมากกวามาตรฐาน

ส ภ
คําตอบ 3 : พนักงานคนนี้ใชเวลาทํางานนอยกวามาตรฐาน
คําตอบ 4 : พนักงานคนนี้ใชเวลาทํางานไดตามมาตรฐาน

ขอที่ : 314
พนักงานคนหนึ่งถูกประเมินอัตราการทํางาน (ประสิทธิภาพการทํางาน) ที่ระดับ 125 จากสเกลมาตรฐาน 100 แสดงวา
คําตอบ 1 : พนักงานคนนี้ทํางานเร็วกวามาตรฐาน
คําตอบ 2 : พนักงานคนนี้ทํางานชากวามาตรฐาน 74 of 102

คําตอบ 3 : พนักงานคนนี้ใชเวลาทํางานมากกวามาตรฐาน
คําตอบ 4 : พนักงานคนนี้ใชเวลาทํางานไดตามมาตรฐาน

ขอที่ : 315
พนักงานคนหนึ่งถูกประเมินอัตราการทํางาน (ประสิทธิภาพการทํางาน) ที่ระดับ 100 จากสเกลมาตรฐาน 100 แสดงวา
คําตอบ 1 : พนักงานคนนี้ทํางานเร็วกวามาตรฐาน
คําตอบ 2 : พนักงานคนนี้ทํางานชากวามาตรฐาน
คําตอบ 3 : พนักงานคนนี้ตองมีการปรับปรุงวิธีการทํางาน

่ า ย

คําตอบ 4 : พนักงานคนนี้ใชเวลาทํางานไดตามมาตรฐาน

ขอที่ : 316

จ ำ ห

ขอใดคือประโยชนของการประเมินอัตราการทํางาน (ประสิทธิภาพการทํางาน)

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ทําใหเห็นภาพรวมในการทํางาน
คําตอบ 2 : ทําใหผูจับเวลาไดรับการฝกฝนในการประเมินอัตราการทํางาน
คําตอบ 3 : ทําใหไดขอมูลเวลาการทํางานพื้นฐานที่ใกลเคียงกับความเปนจริง

ิท
คําตอบ 4 : ทําใหไดรายละเอียดในการทํางานเพื่อการปรับปรุงวิธีการทํางาน

นส

ขอที่ : 317


ขอใดจัดเปนเวลาเผื่อคงที่
คําตอบ 1 : เวลาพูดคุยกับหัวหนางาน

อ ส

คําตอบ 2 : เวลาพักกลางวัน

กร
คําตอบ 3 : เวลาดื่มน้ํา


คําตอบ 4 : เวลาออกกําลังกายกอนเริ่มงาน

ขอที่ : 318

าว ศ


ขอใดจัดเปนเวลาเผื่อผันแปร


คําตอบ 1 : เวลาเผื่อพูดคุยกับหัวหนางาน
คําตอบ 2 : เวลาเผื่อเขาหองน้ํา
คําตอบ 3 : เวลาเผื่อดื่มน้ํา
คําตอบ 4 : เวลาเผื่อความเครียดจากการทํางาน

ขอที่ : 319 75 of 102


เวลาเผื่อในการทํางานเทากับ 10% หมายความวาอยางไร
คําตอบ 1 : ตองบวกดวย 10 เขากับเวลาพื้นฐาน (Basic Time)
คําตอบ 2 : เปนเวลา 0.1 เทาของเวลาพื้นฐาน
คําตอบ 3 : เปนเวลา 10 เทาของเวลาพื้นฐาน
คําตอบ 4 : เปนเวลา 0.01 เทาของเวลาพื้นฐาน

ขอที่ : 320

่ า ย
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง


คําตอบ 1 : เวลาเผื่อประกอบดวยเวลาเผื่อคงที่ และเวลาเผื่อผันแปร


คําตอบ 2 : งานที่มีความเมื่อยลามาก จะมีเวลาเผื่อนอยเพื่อใหเวลาการทํางานมาตรฐาน

จ ำ
คําตอบ 3 : เวลาเผื่อเปนการชดเชยเวลาที่เกิดจากความผิดพลาดของขอมูลเวลาในขณะจับเวลา


คําตอบ 4 : เวลาเผื่อเปนการทดแทนความผิดพลาดจากการประเมินอัตราการทํางาน (ประสิทธิภาพการทํางาน)

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 321
ตัวเลขเวลาที่อานไดจากนาฬิกาจับเวลาในขณะจับเวลา คือขอใด

ิท
คําตอบ 1 : Basic Time


คําตอบ 2 : Real Time

ว น
คําตอบ 3 : Allowance Time


คําตอบ 4 : Watching Time

อ ส

ขอที่ : 322

กร
ในการหาเวลามาตรฐานตองการขอมูลใดบาง


คําตอบ 1 : เวลาทํางานจริง



คําตอบ 2 : การประเมินอัตราการทํางาน

าว
คําตอบ 3 : เวลาเผื่อ


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 323

ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : ตองบันทึกขอมูลเวลาการทํางานในแบบฟอรมที่เปนมาตรฐานสากล
คําตอบ 2 : ตองบันทึกขอมูลเวลาการทํางานโดยพนักงานที่ทํางานนั้น
คําตอบ 3 : ตองบันทึกขอมูลเวลาในจํานวนที่มากพอสําหรับคาความเชื่อมั่นที่ยอมรับได
76 of 102
คําตอบ 4 : ตองบันทึกขอมูลเวลาจากนาฬิกาจับเวลาที่มีการสอบเทียบแลวเทานั้น
ขอที่ : 324
ถาเวลาปกติ (Normal Time) ในการทํางานเทากับ 10 วินาที และกําหนดใหมีเวลาเผื่อเทากับ 5% จงหาเวลามาตรฐาน
คําตอบ 1 : 10.5 วินาที
คําตอบ 2 : 11.5 วินาที
คําตอบ 3 : 5 วินาที


คําตอบ 4 : 15 วินาที

น่ า

ขอที่ : 325


จงหาเวลามาตรฐานตอชิ้นงาน จากขอมูลตอไปนี้

มจ
า้
- เวลาเผื่อ ตางๆ (นาที/กะ) ดังนี้ สวนบุคคล = 24 เตรียมงานและเก็บงาน = 4 พักทานกาแฟ = 10 ซอมบํารุงเครื่องจักร = 20 รับใบสั่งงาน = 5

ิธ์ ห
- เวลาปกติ (Normal Time) = 0.650 นาที

- 1 กะ = 8 ชม.
คําตอบ 1 : 0.710 นาที

ส ิท

คําตอบ 2 : 0.720 นาที

ง ว
คําตอบ 3 : 0.730 นาที


คําตอบ 4 : 0.740 นาที

ขอ
กร
ขอที่ : 326
ขอใดเปนการวิเคราะหความแปรปรวนที่เกิดขึ้นในขณะจับเวลาการทํางาน
คําตอบ 1 :


ิ ว
ตัดขอมูลเวลาจริงที่จับไดที่มีคาสูงหรือต่ํากวาขอมูลตัวอื่น ๆ มาก ออก

าว
คําตอบ 2 : การหาคาเฉลี่ยเวลาจริงที่จับไดทั้งหมดแลวจึงนําไปหาเวลามาตรฐาน
คําตอบ 3 : ทําการประเมินอัตราการทํางาน (ประสิทธิภาพการทํางาน) ของพนักงานกอนที่จะเริ่มจับเวลา

ส ภ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 327
ขอใดที่ไมควรปฏิบัติในขณะทําการจับเวลาการทํางาน
คําตอบ 1 : จับเวลาการทํางานใหเสร็จกอนแลวจึงทําการประเมินอัตราการทํางาน (ประสิทธิภาพการทํางาน)
คําตอบ 2 : วิเคราะหหาจํานวนขอมูลเวลาที่ตองจับตามระดับความเชื่อมั่นและความแมนยําที่กําหนด
คําตอบ 3 : ทดลองพล็อตกราฟเวลาการทํางานที่จับไดดูวามีขอมูลคงที่แลวหรือยัง 77 of 102
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
ขอที่ : 328
กําหนดเวลาปกติ (Normal Time) เทากับ 15 วินาที ถาเวลาที่อานจากนาฬิกาจับเวลาไดเทากับ 12 วินาที จะสามารถประเมินอัตราการทํางาน (ประสิทธิภาพการทํางาน) ไดเทาไร
คําตอบ 1 : 75 %
คําตอบ 2 : 100 %
คําตอบ 3 : 125 %


คําตอบ 4 : 150 %

น่ า

ขอที่ : 329


ขอมูลเวลาปกติ (Normal Time) ชุดหนึ่งคือ 7 , 10 , 11 , 8 , 9 , 7 วินาที จงหาเวลามาตรฐาน ถาเวลาเผื่อเทากับ 10%
คําตอบ 1 : 8.66 วินาที

มจ
า้
คําตอบ 2 : 9.53 วินาที

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 8.53 วินาที
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 330

ส ิท
ว น
ความผิดพลาดในการประเมินอัตราการทํางาน (Rating) เกิดจากขอใด


คําตอบ 1 : ประสบการณในการทํางานของผูประเมิน


คําตอบ 2 : พนักงานพุดคุยในขณะจับเวลา


คําตอบ 3 : พนักงานหยุดทํางานในขณะจับเวลา
คําตอบ 4 :

กร ข
พนักงานออกจากสถานีงานในขณะจับเวลา

ขอที่ : 331


ิ ว
าว
ถาเวลาทํางานจริงอันหนึ่งเทากับ 10 นาที และเวลามาตรฐานเทากับ 12 นาที จะสรุปไดวาอยางไร


คําตอบ 1 : Performance = 83%


คําตอบ 2 : Performance = 120%
คําตอบ 3 : Performance = 100%
คําตอบ 4 : Rating Factor นอยกวา 100 ที่สเกลมาตรฐาน 100

ขอที่ : 332
การสุมตัวอยางจับเวลารอบการทํางานมีขอมูลเวลาการทํางานจริงดังนี้ 11 , 10 , 11 , 9 , 10 , 23 , 12 และ 9 วินาที จงหาเวลามาตรฐานที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และคาความผิด
พลาด ±5% กําหนดเวลาเผื่อเทากับ 10% 78 of 102

คําตอบ 1 : 11.9 วินาที


คําตอบ 2 : 13.1 วินาที
คําตอบ 3 : 10.3 วินาที
คําตอบ 4 : ไมสามารถหาไดเนื่องจากมีขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 333
จากการสุมงานของพนักงานในโรงงานแหงหนึ่ง เก็บขอมูลเบื้องตนไดดังนี้ ในการบันทึกการสุมงาน จํานวน 240 ครั้ง พบวาคนงานทํางาน 132 ครั้ง เวลาในการทํางานทั้งหมด 48


ชั่วโมง สามารถผลิตชิ้นงานได 3,560 ชิ้น คิดเวลาเผื่อใหพนักงานเปน 14% และประเมินประสิทธิภาพการทํางานใหพนักงานเปน 105% จงหาเวลามาตรฐานในการผลิตชิ้นงานของ

่ า
พนักงานวาเปนเทาไร
คําตอบ 1 : 29.5 วินาที/ชิ้น

หน

คําตอบ 2 : 32.0 วินาที/ชิ้น


คําตอบ 3 : 18.8 วินาที/ชิ้น

า้ ม
คําตอบ 4 : 24.5 วินาที/ชิ้น

ิธ์ ห
ขอที่ : 334
จากการสุมงานของพนักงานโรงงานแหงหนึ่ง ไดเก็บขอมูลเบื้องตนคือ ทําการบันทึกขอมูลโดยการสุมงาน 340 ครั้ง พบวาพนักงานวางงาน 152 ครั้ง ถาตองการความเชื่อมั่นที่ระดับ

ิท
95% คาความละเอียดแมนยํา ที่บวกลบ 10% จงหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการสุมงาน (N)
คําตอบ 1 : ประมาณ 80 ครั้ง

นส

คําตอบ 2 : ประมาณ 99 ครั้ง

ส ง
คําตอบ 3 : ประมาณ 218 ครั้ง


คําตอบ 4 : ประมาณ 298 ครั้ง

ขอที่ : 335

กร ข

ขอใดไมใชประโยชนของการสุมตัวอยางงาน (Work Sampling)

าว ศ

คําตอบ 1 : ใชประมาณคาเปอรเซ็นตการใชงานของเครื่องจักรหรืออุปกรณตาง ๆ
คําตอบ 2 : ใชประเมินคาประสิทธิภาพการทํางานของคนงาน


คําตอบ 3 : ใชประมาณตนทุนทั้งหมดของการผลิตสินคาชนิดหนึ่ง ๆ


คําตอบ 4 : ใชหาเวลามาตรฐานของการทํางานหนึ่ง ๆ

ขอที่ : 336
ในการสุมตัวอยางงาน (Work Sampling) ใชหลักการพื้นฐานของความนาจะเปนในการสุมรวบรวมขอมูลการทํางานและการวางงานของพนักงานคนหนึ่งที่กลึงเพลาเสนผานศูนย
กลาง 5 เซนติเมตร ยาว 20 เซนติเมตร ซึ่งแตละวันทํางานมีเวลาทํางาน 8 ชั่วโมง พบวาจํานวนครั้งที่พนักงานทํางานและวางงานเทากับ 34 และ 6 ครั้ง ตามลําดับ จงหาเปอรเซ็นต
การทํางานและเปอรเซ็นตการวางงานของพนักงานคนนี้ตามลําดับ
79 of 102
คําตอบ 1 : 82.35% และ 17.65% ตามลําดับ
คําตอบ 2 : 17.65% และ 82.35% ตามลําดับ
คําตอบ 3 : 85.00% และ 15.00% ตามลําดับ
คําตอบ 4 : 15.00% และ 85.00% ตามลําดับ

ขอที่ : 337
การสุมตัวอยางงาน (Work Sampling) ในการจัดชั้นวางสินคาของพนักงานคนหนึ่งในรานคาปลีกแหงหนึ่ง ซึ่งในแตละวันทํางาน พนักงานคนนี้จะทําการจัดชั้นวางสินคาในชวงเชา


ตั้งแตเวลา 8.00 น. ถึง 10.00 น. พบวาจํานวนครั้งที่พนักงานทํางานและวางงานในชวงเวลาดังกลาว คือ 16 และ 4 ครั้ง ตามลําดับ จงหาวาในแตละวันทํางาน พนักงานคนนี้จัดชั้น

่ า
วางสินคา โดยใชเวลาทํางานและมีเวลาวางงาน ตามลําดับ เทาใด
คําตอบ 1 : 96 นาที และ 24 นาที ตามลําดับ

หน

คําตอบ 2 : 384 นาที และ 96 นาที ตามลําดับ


คําตอบ 3 : 90 นาที และ 30 นาที ตามลําดับ

า้ ม
คําตอบ 4 : 360 นาที และ 120 นาที ตามลําดับ

ิธ์ ห
ขอที่ : 338
การรวบรวมขอมูลการใชเครื่องกลึงเครื่องหนึ่งของโรงงานแหงหนึ่ง ซึ่งแตละวันทํางานมี 8 ชั่วโมงทํางาน พบวาการทํางานของเครื่องกลึงเปนดังนี้ คือ ทํางาน 60 ครั้ง อยูระหวาง

ิท
เตรียมงานโดยพนักงานนําชิ้นงานใสเขาเครื่องกลึง และ/หรือ นําชิ้นงานออกจากเครื่องกลึง 10 ครั้ง และเครื่องกลึงวางงาน 10 ครั้ง จงหาจํานวนครั้งที่ตองทําการสังเกตการณเพื่อเก็บ


ขอมูลการทํางานของเครื่องกลึง เมื่อตองการความแมนยํา (Accuracy) ±10% ที่ระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level) 95.5% (z หรือ k = 2)
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
955 ครั้ง
2,800 ครั้ง

ง ว น
อ ส
คําตอบ 3 : 5,000 ครั้ง


คําตอบ 4 : 11,200 ครั้ง

ขอที่ : 339

ว กร


แผนกผลิตเฟอง (Gear) ของโรงงานแหงหนึ่ง มีคนงาน 8 คน ทําหนาที่ผลิตเฟอง ซึ่งในแตละวันทํางาน 8 ชั่วโมง จากการสุมตัวอยางเพื่อรวบรวมขอมูลการทํางานและวางงานของ

าว
คนงานทั้ง 8 คน พบวาทํางาน 900 ครั้ง วางงาน 100 ครั้ง จงหาเวลาที่คนงานทั้งหมดวางงานในแตละวันทํางานและหาคาความแมนยํา (Accuracy) ที่ระดับความเชื่อมั่น


(Confidence Level) 95.5%


คําตอบ 1 : 0.8 ± 0.152 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 57.6±1.216 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 7.2 ± 0.152 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 6.4 ± 1.216 ชั่วโมง

ขอที่ : 340
ในการสุมตัวอยางงาน (Work Sampling) โดยสังเกตคนงานหนึ่งคนในหนึ่งเดือนที่ผานมาซึ่งมีวันทํางาน 25 วัน และทํางานวันละ 8 ชั่วโมง พบวาคนงานทํางาน8085of เปอร
102 เซ็นต และ
วางงาน 15 เปอรเซ็นต จงหาเวลาทํางานและเวลาวางงานของคนงานคนนี้ในหนึ่งเดือนที่ผานมา
คําตอบ 1 : เวลาทํางานเทากับ 12,240 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 2,160 นาที
คําตอบ 2 : เวลาทํางานเทากับ 12,000 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 1,800 นาที
คําตอบ 3 : เวลาทํางานเทากับ 10,800 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 1,200 นาที
คําตอบ 4 : เวลาทํางานเทากับ 10,200 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 1,800 นาที

ขอที่ : 341

่ า ย
การศึกษาการทํางานผลิตสินคาชนิดหนึ่ง เพื่อกําหนดเวลามาตรฐานของการผลิตสินคาโดยวิธีการสุมตัวอยางงาน (Work Sampling) โดยสังเกตคนงาน 10 คน ที่ทํางานผลิตสินคา


ชนิดนี้ ในเวลาหนึ่งสัปดาห ซึ่งจํานวนครั้งของการสังเกตโดยรวม เทากับ 300 ครั้ง และพบขอมูลดังนี้ เวลาทั้งหมดที่ใชทํางานของคนงาน 10 คน เทากับ 24,000 นาที จํานวนสินคา


ทั้งหมดที่ผลิตได เทากับ 20,000 ชิ้น จํานวนการเตรียมงานทั้งหมด เทากับ 200 ครั้ง เปอรเซ็นตการเตรียมงาน เทากับ 10% เปอรเซ็นตการทํางาน เทากับ 80% เปอรเซ็นตการวาง


งาน เทากับ 5% เปอรเซ็นตความลาชาที่หลีกเลี่ยงไมได เทากับ 2% เปอรเซ็นตความลาชาที่หลีกเลี่ยงได เทากับ 3% เปอรเซ็นตของประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยในการเตรียมงาน เทา


กับ 90% เปอรเซ็นตของประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยในการทํางาน เทากับ 95% เปอรเซ็นตความลดหยอนในการทํางาน เทากับเปอรเซ็นตความลดหยอนในการเตรียมงาน เทากับ 20%


จงหาเวลามาตรฐานของการเตรียมงานตอครั้ง

า้
คําตอบ 1 : 12.96 นาทีตอการเตรียมงานหนึ่งครั้ง

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 12.00 นาทีตอการเตรียมงานหนึ่งครั้ง
คําตอบ 3 : 10.80 นาทีตอการเตรียมงานหนึ่งครั้ง

ิท
คําตอบ 4 : 10.00 นาทีตอการเตรียมงานหนึ่งครั้ง

นส

ขอที่ : 342


การศึกษาการทํางานผลิตสินคาชนิดหนึ่ง เพื่อกําหนดเวลามาตรฐานของการผลิตสินคาโดยวิธีการสุมตัวอยางงาน (Work Sampling) โดยสังเกตคนงาน 10 คน ที่ทํางานผลิตสินคา


ชนิดนี้ ในเวลาหนึ่งสัปดาห ซึ่งจํานวนครั้งของการสังเกตโดยรวม ไดเทากับ 300 ครั้ง และพบขอมูลดังนี้ เวลาทั้งหมดที่ใชทํางานของคนงาน 10 คน เทากับ 24,000 นาที จํานวน


สินคาทั้งหมดที่ผลิตได เทากับ 20,000 ชิ้น จํานวนการเตรียมงานทั้งหมด เทากับ 200 ครั้ง เปอรเซ็นตการเตรียมงาน เทากับ 10% เปอรเซ็นตการทํางาน เทากับ 80% เปอรเซ็นต


การวางงาน เทากับ 5% เปอรเซ็นตความลาชาที่หลีกเลี่ยงไมได เทากับ 2% เปอรเซ็นตความลาชาที่หลีกเลี่ยงได เทากับ 3% เปอรเซ็นตของประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยในการเตรียมงาน

กร
เทากับ 90% เปอรเซ็นตของประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยในการทํางาน เทากับ 95% เปอรเซ็นตความลดหยอนในการทํางาน เทากับเปอรเซ็นตความลดหยอนในการเตรียมงาน เทากับ
20% จงหาเวลามาตรฐานของการผลิตสินคาตอชิ้น
คําตอบ 1 :


ิ ว
1.200 นาทีตอชิ้น

าว
คําตอบ 2 : 1.094 นาทีตอชิ้น
คําตอบ 3 : 0.960 นาทีตอชิ้น

ขอที่ : 343 ส
คําตอบ 4 :

ภ 0.912 นาทีตอชิ้น

การศึกษาการทํางานผลิตสินคาชนิดหนึ่ง เพื่อกําหนดเวลามาตรฐานของการผลิตสินคาโดยวิธีการสุมตัวอยางงาน (Work Sampling) โดยสังเกตคนงาน 10 คน ที่ทํางานผลิตสินคา


ชนิดนี้ ในเวลาหนึ่งสัปดาห ซึ่งจํานวนครั้งของการสังเกตโดยรวม ไดเทากับ 300 ครั้ง และพบขอมูลดังนี้ เวลาทั้งหมดที่ใชทํางานของคนงาน 10 คน เทากับ 24,000 นาที จํานวน
สินคาทั้งหมดที่ผลิตได เทากับ 20,000 ชิ้น จํานวนการเตรียมงานทั้งหมด เทากับ 200 ครั้ง เปอรเซ็นตการเตรียมงาน เทากับ 10% เปอรเซ็นตการทํางาน เทากับ 80% เปอรเซ็นต
การวางงาน เทากับ 5% เปอรเซ็นตความลาชาที่หลีกเลี่ยงไมได เทากับ 2% เปอรเซ็นตความลาชาที่หลีกเลี่ยงได เทากับ 3% เปอรเซ็นตของประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยในการเตรียมงาน
เทากับ 90% เปอรเซ็นตของประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยในการทํางาน เทากับ 95% เปอรเซ็นตความลดหยอนในการทํางาน เทากับเปอรเซ็นตความลดหยอนในการเตรี 81 ย
ofมงาน
102 เทากับ

20% จงหาเวลาทํางานและเวลาวางงานของคนงานทั้ง 10 คน
คําตอบ 1 : เวลาทํางานเทากับ 22,800 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 1,200 นาที
คําตอบ 2 : เวลาทํางานเทากับ 21,600 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 2,400 นาที
คําตอบ 3 : เวลาทํางานเทากับ 19,200 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 1,200 นาที
คําตอบ 4 : เวลาทํางานเทากับ 19,200 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 4,800 นาที

ขอที่ : 344

่ า ย
ขอใดไมใชขอดีของการสุมงาน


คําตอบ 1 : วัดไดหลายงานในเวลาเดียวกัน


คําตอบ 2 : ใชเวลาและคาใชจายนอยกวา

จ ำ
คําตอบ 3 : สามารถบอกรายละเอียดของงานยอยได


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 345
ในการสุมงาน 100 ครั้งพบวามีเครื่องจักรวางอยู 30 ครั้ง จงคํานวณหาคา N โดยกําหนดความแมนยํา ±5% ภายในชวงความเชื่อมั่น 95 %

ิท
คําตอบ 1 : 84 ตัวอยาง


คําตอบ 2 : 336 ตัวอยาง

ว น
คําตอบ 3 : 420 ตัวอยาง


คําตอบ 4 : 4,735 ตัวอยาง

อ ส

ขอที่ : 346

กร
ในการสุมตัวอยางงาน (Work Sampling) โดยสังเกตคนงานหนึ่งคนในหนึ่งเดือนที่ผานมาซึ่งมีวันทํางาน 25 วัน และทํางานวันละ 8 ชั่วโมง พบวาคนงานทํางาน 90 เปอรเซ็นต และ


วางงาน 10 เปอรเซ็นต จงหาเวลาทํางานและเวลาวางงานของคนงานคนนี้ในหนึ่งเดือนที่ผานมา



คําตอบ 1 : เวลาทํางานเทากับ 10,800 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 1,800 นาที

าว
คําตอบ 2 : เวลาทํางานเทากับ 10,800 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 1,200 นาที


คําตอบ 3 : เวลาทํางานเทากับ 10,200 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 1,800 นาที


คําตอบ 4 : เวลาทํางานเทากับ 10,200 นาที และ เวลาวางงานเทากับ 1,200 นาที

ขอที่ : 347
จากการสุมงานของการผลิตสําหรับการบันทึกของหนึ่งสัปดาห คือ 2400 นาที ไดผลผลิตประจําสัปดาหเทากับ 2000 ชิ้น เปอรเซ็นตเวลาทํางานจากการสุมงานเทากับ 85 % อัตรา
การประเมินการทํางานเทากับ 100 % มีเวลาเผื่อเทากับ 15 % จงหาเวลามาตรฐาน (Standard Time)
คําตอบ 1 : 1.15 นาที/ชิ้น
คําตอบ 2 : 1.17 นาที/ชิ้น 82 of 102

คําตอบ 3 : 1.23 นาที/ชิ้น


คําตอบ 4 : 1.28 นาที/ชิ้น

ขอที่ : 348
หากตองการเก็บขอมูลเวลาในการใชงานของเครื่องจักรทั้งหมดของโรงงาน เพื่อประเมินอยางคราว ๆ วาจะทําการซื้อเครื่องจักรเพิ่มหรือไม ควรจะใชเทคนิคการวัดผลงานตัวใดถาตอง
การใหไดขอมูลอยางเร็วและประหยัดงบประมาณที่สุด และขอมูลที่ไดคืออะไร
คําตอบ 1 : การสุมงาน / Machine Utilization

่ า ย
คําตอบ 2 : การสุมงาน / Machine Performance


คําตอบ 3 : การศึกษาเวลา / Machine Utilization


คําตอบ 4 : การศึกษาเวลา / Machine Performance

จ ำ

ขอที่ : 349

า้
ถาคนงานทํางาน 8 ชั่วโมงตอวัน จากการสุมงานพบวาวางงาน อยู 15 % ในชวงที่เหลือพบวาอัตราการทํางาน (Rating) เทากับ 90 % แลวไดงาน 840 ชิ้น จงหาเวลามาตรฐาน

ิธ์ ห
(นาทีตอชิ้น) ถากําหนดใหเวลาเผื่อ = 20 % ของ Normal หรือ Basic Time
คําตอบ 1 : 0.48

ิท
คําตอบ 2 : 0.52


คําตอบ 3 : 0.56


คําตอบ 4 : 0.60

ง ว

ขอที่ : 350


ขอใดเปนขอเสียของการสุมงานเพื่อใชประมาณสัดสวนการทํางานของคนงาน
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

กร ข
ไมไดรวบรวมรายละเอียดของการทํางานนั้น ๆ
สามารถทําใหคนงานไมเกิดความรูสึกวามีคนคอยตรวจดูการทํางานของตน
คําตอบ 3 :


ิ ว
สามารถหยุดรวบรวมขอมูลในบางชวงเวลาไดโดยไมเกิดขอผิดพลาด

าว
คําตอบ 4 : ไมจําเปนตองใชนาฬิกาจับเวลาหรือเครื่องมือวัดเวลา

ขอที่ : 351

ส ภ
ขอใดเปนขอดีของการสุมงานเพื่อใชประมาณสัดสวนการทํางานของคนงาน
คําตอบ 1 : ไมเหมาะกับงานที่มีวัฏจักรสั้น
คําตอบ 2 : ไมไดรวบรวมรายละเอียดของการทํางานนั้น ๆ
คําตอบ 3 : ไมสามารถบอกรายละเอียดของงานยอยได
คําตอบ 4 : สามารถหยุดรวบรวมขอมูลในบางชวงเวลาไดโดยไมเกิดขอผิดพลาด
83 of 102

ขอที่ : 352
บริษัทแหงหนึ่งใชเครื่องจักรเปนอุปกรณหลักในการผลิต ซึ่งมีเครื่องจักรทั้งหมด 7 เครื่อง จึงทําการสุมงานเพื่อตรวจสอบชวงการใชงานของเครื่องจักรทั้งหมด การกระทําเชนนี้นาจะ
ทําใหไดขอมูลอะไร
คําตอบ 1 : รายละเอียดการทํางาน
คําตอบ 2 : เวลาการใชงานเครื่องจักร
คําตอบ 3 : กําลังการผลิตของเครื่องจักร
คําตอบ 4 : เวลาการทํางานของคน

่ า ย

ขอที่ : 353


บริษัทแหงหนึ่งใชเครื่องจักรเปนอุปกรณหลักในการผลิต ซึ่งมีเครื่องจักรทั้งหมด 10 เครื่อง ถาตองการประเมิน Utilization ของเครื่องจักรที่มีอยูอยางรวดเร็ว ควรใชเทคนิคใดในการ


วัดผลนี้


คําตอบ 1 : ใช Man - Machine Chart ชวยแสดงขอมูล

า้ ม
คําตอบ 2 : ทําการศึกษาเวลา (Time Study)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การสุมงาน
คําตอบ 4 : ใชขอมูลเวลามาตรฐาน

ขอที่ : 354

ส ิท

วิธีวัดผลงานที่ใหผลมากที่สุดในการศึกษาการใชเครื่องจักรใหเกิดประโยชน คือวิธีใด

ง ว
คําตอบ 1 : การหาเวลาโดยพรีเทอรมิน


คําตอบ 2 : การหาเวลาโดยใชนาฬิกาจับเวลา


คําตอบ 3 : การสุมงาน


คําตอบ 4 : ขอมูลมาตรฐาน

ขอที่ :

ว กร


355

าว
การหาขนาดตัวอยางของเทคนิคการสุมงาน ถาใหระดับความเชื่อมั่น 95.5% ดวยความแมนยํา (Precision) ± 10% ขนาดตัวอยางมีคาเทาใด ถาพบวาเครื่องจักรมีการวางงาน 25%
คําตอบ 1 :


250


คําตอบ 2 : 400
คําตอบ 3 : 1,200
คําตอบ 4 : 1,600

ขอที่ : 356
จงหาขนาดตัวอยางของการสุมงาน ที่ระดับความเชื่อมั่น 99.73% (3 เทาของคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน) คาความแมนยํา (Precision) ± 10% และพบวาเครื่องจักรทํางาน 75 %
คําตอบ 1 : 300 84 of 102

คําตอบ 2 : 675
คําตอบ 3 : 2,025
คําตอบ 4 : 2,700

ขอที่ : 357
ขอใดเปนจุดมุงหมายของการสุมงาน (Work Sampling) ในดานการศึกษาการทํางาน
คําตอบ 1 : สุมหาของเสียหรือของดีเพื่อควบคุมกระบวนการผลิต
คําตอบ 2 : สุมหาเวลาทํางานและเวลาวางหรือเวลารอคอย เพื่อจะไดลดเวลาวางงานลง

่ า ย

คําตอบ 3 : เก็บขอมูลแบบสุมเพื่อไปสรางมาตรฐานวิธีการทํางาน


คําตอบ 4 : สุมดูวาพนักงานทํางานมากนอยเพียงไรเพื่อใชประเมินในการขึ้นคาจาง

จ ำ

ขอที่ :

า้
358
ขอใดไมใชขอดีของการสุมงานเมื่อเทียบกับการศึกษาเวลา

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ไมตองใชบุคลากรที่มีความชํานาญในการวัดและบันทึกเวลาทํางาน
คําตอบ 2 : การสุมงานงายและเครียดนอยกวาการศึกษาเวลา

ิท
คําตอบ 3 : ความถูกตองแมนยําในขอมูลมีเทากับการศึกษาเวลา


คําตอบ 4 : ใชศึกษาวัดผลงานของคนงานหลายคนหรือเครื่องจักรหลายเครื่องได ในเวลาเดียวกัน

ขอที่ :

ง ว น

359


จํานวนตัวอยางในการสุมงานเพื่อใหมีขอมูลที่มีคาความเชื่อมั่น 95% เมื่อเปรียบเทียบกับที่ 99.8% ควรเปนอยางไร


คําตอบ 1 : นอยกวา

กร
คําตอบ 2 : มากกวา


คําตอบ 3 : เทากัน



คําตอบ 4 : ขึ้นกับคาเปอรเซ็นตคาความผิดพลาดที่ยอมรับได

ขอที่ : 360

ภ าว

จํานวนตัวอยางในการสุมงานเพื่อใหมีขอมูลที่มีคาความเชื่อมั่น 95% เปรียบเทียบกับที่ 97.5% ที่คาความเคลื่อนเทากัน ควรเปนอยางไร
คําตอบ 1 : นอยกวา
คําตอบ 2 : มากกวา
คําตอบ 3 : เทากัน
คําตอบ 4 : ขึ้นกับความแมนยําของการสุม

85 of 102
ขอที่ : 361
ขอมูลที่ไดจากการสุมงานในจํานวนที่สามารถสรางคาความเชื่อมั่นที่ระดับหนึ่งได จะมีการแจกแจงแบบใด
คําตอบ 1 : Normal
คําตอบ 2 : Chi-square
คําตอบ 3 : Exponential
คําตอบ 4 : Poisson

่ า ย
ขอที่ : 362


การกําหนดตารางเวลาเขาไปสุมเก็บขอมูลเวลาการทํางานในหนึ่งวันควรทําอยางไร


คําตอบ 1 : ใชเวลาหางกันทุก 10 นาที เชน 8:10 น. 8:20 น. 8:30 น. 8:40 น. 8:50 น. เปนตน เพื่อใหผูสุมงานไมสับสนในเรื่องกําหนดเวลาที่จะเขาไปสุม

จ ำ
คําตอบ 2 : ใชเวลาหางกันทุก 1 ชั่วโมง เชน 8:00 น. 9:00 น. 10:00 น. 11:00 น. 13:00 น. เปนตน เพื่อไมใหผูถูกสุมงานรูตัว


คําตอบ 3 : กําหนดเวลาในการสุมที่มีชวงเวลาไมแนนอนภายใน 1 ชั่วโมง เพื่อประหยัดเวลาในการสุมงาน เชน 8:05 น. 8:17 น. 8:33 น. 8:41 น. 8:57 น. เปนตน

า้
คําตอบ 4 : กําหนดเวลาในการสุมที่มีชวงเวลาไมแนนอนในหนึ่งวันการสุมงาน เชน 8:05 น. 9:17 น. 11:22 น. 14:45 น. 15:56 น. เปนตน

ขอที่ : 363
ิธ์ ห
ิท
ขอใดตอไปนี้ถูกตองในการสุมเก็บขอมูลเวลาการทํางาน


คําตอบ 1 : สมชายสรางตารางเก็บขอมูลโดยใชตัวเลขหนาที่ไดจากการเปดหนังสือ

ว น
คําตอบ 2 : แดงสุมเก็บขอมูลเวลาการทํางานจากการเลือกใบบันทึกเวลาที่เปนขอมูลเกา


คําตอบ 3 : สมศรีเลือกเก็บขอมูลจากพนักงานที่ทํางานชา


คําตอบ 4 : ตอยใหพนักงงานกําหนดเวลาที่จะใหเขามาเก็บขอมูลการทํางาน

ขอ
กร
ขอที่ : 364


ขอใดเปนผลที่ไดจากการสุมงาน



คําตอบ 1 : เวลาการผลิตตอชิ้น

าว
คําตอบ 2 : เวลาวางงาน-เวลาทํางาน


คําตอบ 3 : เปอรเซ็นตการใชประโยชนของคนหรือเครื่องจักร


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 365
ขอใดเปนประโยชนทางตรงที่ไดจากการสุมงาน
คําตอบ 1 : ไดขอมูลที่มีความเชื่อมั่น
คําตอบ 2 : แนวทางในการปรับปรุง Utilization
86 of 102
คําตอบ 3 : เปรียบเทียบการทํางานของคนและเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 366
ในการกําหนดเวลาการสุมงานสามารถทําไดโดยวิธีใด
คําตอบ 1 : ใชตาราง Random Number
คําตอบ 2 : ใชการจับฉลาก
คําตอบ 3 : ใชการเปดหนาหนังสือ

่ า ย

คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 367

จ ำ ห

ขอมูลใดอาจจะพบไดในตารางที่ใชบันทึกการสุมงาน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : รายละเอียดวิธีการทํางาน
คําตอบ 2 : รายละเอียดการวางงาน
คําตอบ 3 : เวลาการทํางานแบบสุม

ิท
คําตอบ 4 : ขอมูลเวลาการทํางานที่จับได

นส

ขอที่ : 368


ประโยชนของการสุมงานเพื่อวัดผลงาน คือขอใด
คําตอบ 1 : ใชหา Process Effectiveness

อ ส

คําตอบ 2 : ใชหา Defect Rate

กร
คําตอบ 3 : ใชหา Turnover Rate


คําตอบ 4 : ใชหา Yield Rate

ขอที่ : 369

าว ศ


การสุมวัดวาเครื่องจักรถูกใชงานหรือไมมากนอยเพียงใดจะใหขอมูลที่คลายกับขอมูลที่พบในตัวเลือกใด


คําตอบ 1 : Time Study
คําตอบ 2 : Activity Chart
คําตอบ 3 : PTS
คําตอบ 4 : Standard Time

ขอที่ : 370 87 of 102


ความแมนยําในการสุมงานขึ้นกับขอใดมากที่สุด
คําตอบ 1 : ตารางการสุมงาน
คําตอบ 2 : จํานวนขอมูลที่สุม
คําตอบ 3 : ลักษณะงานที่สุม
คําตอบ 4 : ความเชื่อมั่นของผูสุม

ขอที่ : 371

่ า ย
ขอใดเปนจุดประสงคของการทําการสุมงาน


คําตอบ 1 : หาเวลาวางและเวลาทํางาน


คําตอบ 2 : หา Utilization

จ ำ
คําตอบ 3 : วัดผลงาน


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 372
การสุมงานหนึ่งพบวามีจํานวนครั้งการทํางาน 90 ครั้งและวางงาน 30 ครั้ง จงหาประสิทธิภาพการทํางาน

ิท
คําตอบ 1 : 75 %


คําตอบ 2 : 90 %

ว น
คําตอบ 3 : 25%


คําตอบ 4 : 10%

อ ส

ขอที่ : 373

กร
งานที่จะถูกบันทึกวาเปนการทํางาน (Work :W) ในการสุมงาน คือขอใด


คําตอบ 1 : เขาหองน้ํา



คําตอบ 2 : นั่งพัก

าว
คําตอบ 3 : ขนเศษเหล็ก ไปทิ้ง


คําตอบ 4 : นําชิ้นงานเขาเครื่องจักร

ขอที่ : 374

งานที่จะถูกบันทึกวาเปนการวางงานในการสุมงาน คือขอใด
คําตอบ 1 : ปรับตั้งเครื่องจักร
คําตอบ 2 : เตรียมงาน
คําตอบ 3 : รอวัสดุ
88 of 102
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก
ขอที่ : 375
ถาการสุมงานหนึ่งพบวาเปอรเซ็นตวางงานเทากับ 30 แสดงวาอยางไร
คําตอบ 1 : คนงานวางงาน 30 ครั้ง จากการสุม 120 ครั้ง
คําตอบ 2 : คนงานทํางาน 70 ครั้ง จากการสุม 120 ครั้ง
คําตอบ 3 : คนงานทํางาน 84 ครั้ง จากการสุม 120 ครั้ง


คําตอบ 4 : คนงานวางงาน 70 ครั้งจากการสุม 100 ครั้ง

น่ า

ขอที่ : 376


ขอใดที่ทําใหความนาเชื่อถือในการสุมงานลดลง
คําตอบ 1 : พนักงานทํางานดวยประสิทธิภาพที่ต่ํา

มจ
า้
คําตอบ 2 : พนักงานตองเปนผูบันทึกขอมูลเองในการขณะสุม

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : พนักงานมีสมรรถภาพในการทํางานต่ํา
คําตอบ 4 : ตารางเวลาการสุมงานเปนแบบสุม

ขอที่ : 377

ส ิท
ว น
อัตราสวนการวางงาน (Idle Ratio) ในการสุมงานหมายถึง ขอใด


คําตอบ 1 : เปนตัวเลขเปอรเซ็นตการวางงาน


คําตอบ 2 : เปนเปอรเซ็นตของอัตราสวนระหวางจํานวนครั้งที่วางงานตอจํานวนครั้งสุมทั้งหมด


คําตอบ 3 : เปนตัวเลขแสดงอัตราสวนระหวางจํานวนครั้งที่วางงานตอจํานวนครั้งที่ทํางาน
คําตอบ 4 :

กร ข
เปนตัวเลขแสดงอัตราสวนระหวางจํานวนครั้งที่วางงานตอจํานวนครั้งสุมทั้งหมด

ขอที่ : 378


ิ ว
าว
เปอรเซ็นตการทํางานจากการสุมงานหมายถึง ขอใด


คําตอบ 1 : เปนตัวเลขแสดงอัตราสวนระหวางจํานวนครั้งที่ทํางานตอจํานวนครั้งที่วางงาน


คําตอบ 2 : เปนตัวเลขแสดงอัตราสวนระหวางจํานวนครั้งที่ทํางานตอจํานวนครั้งสุมทั้งหมด
คําตอบ 3 : เปนตัวเลข 100 เทาของอัตราสวนระหวางจํานวนครั้งที่ทํางานตอจํานวนครั้งสุมทั้งหมด
คําตอบ 4 : เปนตัวเลขจํานวนเทาของอัตราสวนระหวางจํานวนครั้งที่ทํางานตอจํานวนครั้งสุมทั้งหมด

ขอที่ : 379
ขอใดถูกตองในการสุมงาน
89 of 102
คําตอบ 1 : ผูสุมงานสามารถออกแบบตารางบันทึกผลการสุมงานไดอยางอิสระ
คําตอบ 2 : ควรแจงใหพนักงานทราบลวงหนาวาจะมีการสุมงานเพื่อปองกันการขาดงาน
คําตอบ 3 : ควรใชเวลาที่แนนอนในการสุมงานเพื่อปองกันพนักงานเดินออกจากที่ทํางาน
คําตอบ 4 : ควรใชตารางบันทึกผลมาตรฐานที่กําหนดโดยองคกรที่รับผิดชอบ

ขอที่ : 380
ระดับความเชื่อมั่นที่ใชโดยทั่วไปในอุตสาหกรรมในการสุมงานแบบปกติคือขอใด
คําตอบ 1 : CL 95% error ± 1%

่ า ย

คําตอบ 2 : CL 95% error ± 5%


คําตอบ 3 : CL 95% error ± 0.5%

จ ำ
คําตอบ 4 : CL 95% error ± 0.05%

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
381
ขอใดเปนจริงสําหรับการสุมงาน
คําตอบ 1 : ความผิดพลาดที่ยอมรับไดไมมีผลตอจํานวนการสุม

ิท
คําตอบ 2 : ขอมูลที่สรางความเชื่อมั่นสูงกวา จะมาจากจํานวนขอมูลที่มากกวา


คําตอบ 3 : ขอดอยของการสุมงานคือไมสามารถนําไปหาประสิทธิภาพการทํางานได

ว น
คําตอบ 4 : การสุมงานควรกระทํากับกลุมที่มีพนักงานจํานวนมากเพื่อใหไดขอมูลจํานวนมาก

ส ง

ขอที่ : 382


ประโยชนของขอมูลที่ไดจากการสุมงาน คือขอใด

กร
คําตอบ 1 : ใชประเมินประสิทธิภาพการทํางาน


คําตอบ 2 : บอกปญหาที่เกิดขึ้นในการทํางาน



คําตอบ 3 : บอกแนวทางในการปรับปรุงการทํางาน

าว
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 383

ส ภ
ขอมูลที่ไมจําเปนในการใชการสุมงานหาเวลามาตรฐาน
คําตอบ 1 : การประเมินอัตราการทํางาน
คําตอบ 2 : เปอรเซ็นตเวลาการทํางาน
คําตอบ 3 : จํานวนพนักงานที่สุม
คําตอบ 4 : เวลาทํางานทั้งหมด
90 of 102
ขอที่ : 384
ขอเสียของการสุมงาน คือขอใด
คําตอบ 1 : ใชไดกับงานที่ทําดวยเครื่องจักรเทานั้น
คําตอบ 2 : ไดเวลามาตรฐานที่มีความถูกตองแมนยําต่ํากวาการจับเวลา
คําตอบ 3 : พนักงานที่จะทําการสุมเก็บขอมูลตองไดรับการอบรมอยางดี
คําตอบ 4 : ไมสามารถใชกับงานที่คนทํางานกับเครื่องจักรได

่ า ย

ขอที่ : 385


ขอใดอธิบายการสุมงานไดอยางถูกตอง

จ ำ
คําตอบ 1 : การกระทําที่ซ้ํา ๆ กันเปนวัฏจักร


คําตอบ 2 : การกระทําที่สามารถคาดการณการเกิดได

า้
คําตอบ 3 : การกระทําที่ทําซ้ํา ๆ กันและคาดการณการเกิดได

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : การกระทําที่ไมสามารถคาดการณการเกิดได

ิท
ขอที่ : 386


ขอใดเปนการนําวิธีการสุมงานไปใชไดอยางถูกตองตามหลักการวัดผลงาน

ว น
คําตอบ 1 : หัวหนางานสุมตรวจสอบวาพนักงานนอนหลับในระหวางงานหรือไม เพื่อใชในการประเมินการทํางานปลายป


คําตอบ 2 : หัวหนางานสุมตรวจสอบวาพนักงานมีความเขาใจในการทํางานตรงกันหรือไม เพื่อใหสามารถผลิตสินคาไดเหมือนกัน


คําตอบ 3 : ฝายซอมบํารุงสุมตรวจสอบวาเครื่องจักรที่มีอยูถูกใชงานมากนอยเพียงไร เพื่อประเมินวาจําเปนตองซื้อเครื่องจักรเพิ่มหรือไม


คําตอบ 4 : ฝายควบคุมคุณภาพสุมตรวจสอบชิ้นงานวาเสียหรือไม เพื่อการยอมรับหรือปฏิเสธชิ้นงาน

กร ข

ขอที่ : 387



การสุมงาน 100 ครั้ง พบวาวางงาน 20 ครั้ง แสดงวาเวลาที่ทํางานจริงในหนึ่งวันการทํางานซึ่งมี 8 ชั่วโมง เทากับเทาไร

าว
คําตอบ 1 : 80 นาที


คําตอบ 2 : 384 นาที


คําตอบ 3 : 160 นาที
คําตอบ 4 : หาไมไดเพราะไมไดบอกเวลาเผื่อ

ขอที่ : 388
จากขอมูลในตาราง การสุมงานของคนงานในหนึ่งวัน หรือ 8 ชั่วโมงการทํางาน พบวาจากการบันทึก 80 ครั้ง เปนการทํางาน 70 ครั้ง และเปนเวลาวางงาน 10 ครั้ง จงหาวา คนงานทํา
งานกี่นาที และวางงานกี่นาที
91 of 102
คําตอบ 1 : คนงานทํางาน 420 นาที และวางงาน 60 นาที
คําตอบ 2 : คนงานทํางาน 400 นาที และวางงาน 40 นาที
คําตอบ 3 : คนงานทํางาน 380 นาที และวางงาน 60 นาที
คําตอบ 4 : คนงานทํางาน 440 นาที และวางงาน 40 นาที

ขอที่ : 389
การสังเกตการทํางานแบบสุมอันหนึ่งพบวาจากจํานวนการสังเกต 60 ครั้ง จํานวนครั้งการสุมที่พบวาคนงานไมไดทํางานคิดเปน 20% ของจํานวนครั้งการสุม จงหาจํานวนขอมูลที่ตอง
บันทึกจริงเพื่อใหไดขอมูลที่มีความเชื่อมั่น 95% และคาความผิดพลาด ± 5%

่ า ย
คําตอบ 1 : ประมาณ 200


คําตอบ 2 : ประมาณ 250


คําตอบ 3 : ประมาณ 350


คําตอบ 4 : ประมาณ 600

มจ
า้
ขอที่ : 390

ิธ์ ห
การสังเกตการทํางานแบบสุมอันหนึ่งพบวาจากจํานวนการสังเกต 50 ครั้ง จํานวนครั้งการสุมที่พบวาคนงานไมไดทํางานคิดเปน 15% ของจํานวนครั้งการสุมที่พบวาคนงานกําลังทํา
งานอยู จงหาจํานวนขอมูลที่ตองทําการสุมทั้งหมดใหไดขอมูลที่มีความเชื่อมั่นอยางนอย 95% และคาความผิดพลาด ± 5%

ิท
คําตอบ 1 : ประมาณ 100 ครั้ง


คําตอบ 2 : ประมาณ 125 ครั้ง


คําตอบ 3 : ประมาณ 170 ครั้ง

ง ว
คําตอบ 4 : ประมาณ 200 ครั้ง

ขอที่ :

อ ส

391

กร
การสังเกตการทํางานแบบสุมอันหนึ่งพบวาจากจํานวนการสังเกต 120 ครั้ง จํานวนครั้งการสุมที่พบวาคนงานไมไดทํางานคิดเปน 10% ของจํานวนครั้งการสุม จงหาจํานวนขอมูลที่ตอง
ทําการเก็บขอมูลเพิ่มใหไดขอมูลที่มีความเชื่อมั่น 95% และคาความผิดพลาด ± 5%


คําตอบ 1 :



10

าว
คําตอบ 2 : 20
คําตอบ 3 : 30


คําตอบ 4 : ไมตองเก็บขอมูลเพิ่ม

ขอที่ : 392 ส
การสังเกตการทํางานแบบสุมอันหนึ่งพบวาจากจํานวนการสังเกต 300 ครั้ง จํานวนครั้งการสุมที่พบวาคนงานไมไดทํางานคิดเปน 10% ของจํานวนครั้งการสุม จงหา Utilization ของ
คนงาน
คําตอบ 1 : 90%
คําตอบ 2 : 30% 92 of 102
คําตอบ 3 : 10%
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 393
การสังเกตการทํางานแบบสุมอันหนึ่งพบวาจากจํานวนการสังเกต 300 ครั้ง จํานวนครั้งการสุมที่พบวาคนงานไมไดทํางานคิดเปน 20% ของจํานวนครั้งการสุม ถาชวงเวลาที่เก็บขอมูล
อยูระหวาง 8:00 - 17:00 น. และมีเวลาพักรวม 70 นาที และพบวาสามารถผลิตชิ้นงานได 3,760 ชิ้น จงหาเวลาการผลิตจริงตอชิ้น
คําตอบ 1 : 6 นาทีตอชิ้น

่ า ย
คําตอบ 2 : 1 นาทีตอชิ้น


คําตอบ 3 : 0.1 นาทีตอชิ้น


คําตอบ 4 : 0.125 นาทีตอชิ้น

จ ำ

ขอที่ : 394

า้
การสังเกตการทํางานแบบสุมอันหนึ่งพบวาจากจํานวนการสังเกต 30 ครั้ง จํานวนครั้งการสุมที่พบวาคนงานไมไดทํางานคิดเปน 15% ของจํานวนครั้งการสุมที่พบวาคนงานกําลังทํา

ิธ์ ห
งานอยู จงหาจํานวนขอมูลที่ตองทําการสุมเพิ่มเพื่อใหไดขอมูลที่มีความเชื่อมั่น 95% และคาความผิดพลาด ± 5%
คําตอบ 1 : 80 ครั้ง

ิท
คําตอบ 2 : 100 ครั้ง


คําตอบ 3 : 120 ครั้ง


คําตอบ 4 : 150 ครั้ง

ง ว

ขอที่ : 395


การหาเวลามาตรฐานโดยใชระบบเวลาเคลื่อนไหวที่ทราบลวงหนา (Predetermined Time System, PTS) สามารถใชไดกับงานใด
คําตอบ 1 :

กร ข
งานที่ทําอยูแลวโดยการสังเกตและจดบันทึกการเคลื่อนไหวพื้นฐานที่เกิดขึ้น และงานที่ยังไมเกิดขึ้นแตเราทราบวางานนี้ตองมีการเคลื่อนไหวพื้นฐานอะไรบาง
งานที่มีคนงานหลาย ๆ คนทํางานนั้น เพราะวิธีการทํางานโดยคนงานเหลานั้นอาจจะแตกตางกัน ดังนั้นจึงตองศึกษาวาคนงานแตละคนมีการเคลื่อนไหวมือที่ใชทํางาน


คําตอบ 2 :
ตางกันอยางใด

าว ศ

งานที่มีคนงานเพียงคนเดียวทํางานนั้น เพราะเปนการจําเพาะวาคนงานคนนั้นจะตองมีวิธีทํางานอยางใด เชน มีการเดินไปทํางานที่จุดใดบางและมีการขนยายชิ้นงาน
คําตอบ 3 :
ไปดวยหรือไม เปนตน


คําตอบ 4 : งานใด ๆ ก็ไดที่คนงานทุกคนของโรงงานตองทํารวมกันซึ่งการเคลื่อนไหวมือที่ใชทํางานนั้น ๆ จะแตกตางกันจึงตองศึกษาดวยระบบเวลาเคลื่อนไหวที่ทราบลวงหนา

ขอที่ : 396 ส
กรณีที่โรงงานอุตสาหกรรมแหงหนึ่งตองการผลิตผลิตภัณฑใหมที่มีขั้นตอนการผลิตเหมือนเดิมหรือคลายคลึงกันมากกับขั้นตอนการผลิตผลิตภัณฑเดิม แตผลิตภัณฑใหมอาจจะมี
ขนาดใหญขึ้น โดยโรงงานไดวิเคราะหเวลาทํางานของการผลิตผลิตภัณฑเดิมไวโดยละเอียดแลว อยากทราบวาการหาขอมูลดานเวลาที่ใชในการผลิตผลิตภัณฑใหมนั้นควรทําอยาง
ไรจึงจะไดขอมูลดังกลาวรวดเร็วที่สุด
คําตอบ 1 : ศึกษาเวลาที่ใชทําการผลิตผลิตภัณฑใหมดวยนาฬิกาจับเวลาโดยตรงเพื่อใหไดขอมูลเวลาที่ใชในการทํางานที่ถูกตอง
คําตอบ 2 : ใชขอมูลเวลาที่ไดจากการศึกษาเวลาทํางานของการผลิตผลิตภัณฑเดิมมาประมาณเวลาที่ใชทําการผลิตผลิตภัณฑใหม 93 of 102

คําตอบ 3 : ใชการสุมตัวอยางงาน (Work Sampling) เพื่อหาเวลาที่ใชทําการผลิตผลิตภัณฑใหม


คําตอบ 4 : ใชระบบเวลาเคลื่อนไหวที่ทราบลวงหนา (Predetermined Time System, PTS) มาประมาณหาเวลาที่ใชทําการผลิตผลิตภัณฑใหม

ขอที่ : 397
การทํางานบรรจุขวดน้ําหวานขนาด 1000 ซีซี ลงในกลองขนาดเล็กที่สามารถบรรจุขวดน้ําหวานดังกลาวได 6 ขวด ของคนงานคนหนึ่ง พบวาใชเวลาบรรจุขวดน้ําหวาน 18 วินาที ถา
ใหคนงานคนเดิมทําการบรรจุขวดน้ําหวานดังกลาวขางตนจํานวน 24 ขวด ลงในกลองขนาดใหญดวยวิธีการเดิมที่เขาทําอยู จงประมาณเวลาที่คนงานดังกลาวใชในการทํางานนี้
คําตอบ 1 : 18 วินาที

่ า ย
คําตอบ 2 : 36 วินาที


คําตอบ 3 : 54 วินาที


คําตอบ 4 : 72 วินาที

จ ำ

ขอที่ : 398

า้
จุดเดนในการใชเวลา PTS เพื่อกําหนดเวลามาตรฐานเมื่อเทียบกับวิธีวัดผลงานวิธีอื่น ๆ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การคิดเวลาเผื่อทําไดงายกวาวิธีอื่น ๆ
คําตอบ 2 : ไมตองมีการทําการประเมินการทํางาน (Rating)

ิท
คําตอบ 3 : เปนวิธีที่สะดวกและงายในการใชงานเพราะไมจําเปนตองมีสายการผลิต


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 399

ง ว น

ขอใดตอไปนี้ไมใชการเคลื่อนที่พื้นฐานในขอมูล PTS
คําตอบ 1 : การปลอย (Release)

ขอ
กร
คําตอบ 2 : การลาก (Pull)


คําตอบ 3 : การหยิบ (Grasp)



คําตอบ 4 : การเคลื่อนไปถึง (Reach)

ขอที่ : 400

ภ าว

การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการรวมการเคลื่อนที่ไปถึง (Reach) การหยิบ (Grasp) และการปลอย (Release) เรียกวาอะไร
คําตอบ 1 : Get
คําตอบ 2 : Put
คําตอบ 3 : Handle
คําตอบ 4 : Position

94 of 102
ขอที่ : 401
ในระบบ PTS นั้น การทํางานที่มีลักษณะการเคลื่อนไหวพื้นฐานเหมือนกัน จะมีเวลาแตกตางกันขึ้นอยูกับปจจัยตัวใด
คําตอบ 1 : ทักษะในการทํางานของพนักงาน
คําตอบ 2 : สถานที่ทํางาน เชน ความสูงของโตะงาน
คําตอบ 3 : ระยะทางในการเคลื่อนไหว
คําตอบ 4 : สภาพแวดลอม เชน อากาศรอน เย็นแตกตางกัน

่ า ย
ขอที่ : 402


ขอใดไมมีในการเคลื่อนไหว ระบบ MTM


คําตอบ 1 : REACH

จ ำ
คําตอบ 2 : TURN


คําตอบ 3 : PREPARE

า้
คําตอบ 4 : GRASP

ขอที่ : 403
ิธ์ ห
ิท
ในระบบ MTM การเคลื่อนวัตถุระยะทาง 6 นิ้วใชสัญลักษณอะไร


คําตอบ 1 : L6A

ว น
คําตอบ 2 : M6S


คําตอบ 3 : PS6


คําตอบ 4 : M6A

ขอ
กร
ขอที่ : 404


RL ในระบบ MTM หมายถึงอะไร



คําตอบ 1 : Reload

าว
คําตอบ 2 : Relocated


คําตอบ 3 : Release


คําตอบ 4 : Realload

ขอที่ : 405
1TMU มีคาเทากับขอใด
คําตอบ 1 : 0.0006 นาที
คําตอบ 2 : 0.000001 ชั่วโมง
95 of 102
คําตอบ 3 : 0.036 วินาที
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3 ถูก

ขอที่ : 406
MOVE ในระบบ MTM มีคาใกลเคียงตัวใดใน Therblig
คําตอบ 1 : P
คําตอบ 2 :


PP

่ า
คําตอบ 3 : G


คําตอบ 4 : TL

ขอที่ : 407

จ ำ ห

EYE TIMES ในระบบ MTM จะสัมพันธกับอะไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ระยะหางจากตาและวัตถุ
คําตอบ 2 : มุมที่วัตถุเคลื่อนที่
คําตอบ 3 : การโฟกัสที่วัตถุ

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3 ถูก

นส

ขอที่ : 408


Simultaneous Motions ใน MTM ใชเพื่ออะไร
คําตอบ 1 : รวบรวมกิจกรรมตางๆ ไวดวยกัน

อ ส

คําตอบ 2 : รวมเวลาของทั้งสองมือ

กร
คําตอบ 3 : วิเคราะหการทํางานพรอมกันทั้งสองมือ


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 409

าว ศ


คาที่ไดจาก MTM เปนเวลาอะไร


คําตอบ 1 : Representative Time
คําตอบ 2 : Normal Time
คําตอบ 3 : Standard Time
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 410 96 of 102


จากการวิเคราะหกิจกรรม ๆ หนึ่งไดเวลารวมเทากับ 358 TMU มีคาใกลเคียงกับขอใด
คําตอบ 1 : 13 วินาที
คําตอบ 2 : 14 วินาที
คําตอบ 3 : 15 วินาที
คําตอบ 4 : 16 วินาที

ขอที่ : 411

่ า ย
การทํางานบรรจุขวดน้ําหวานขนาด 750 ซีซี ลงในกลองขนาดเล็กที่สามารถบรรจุขวดน้ําหวานดังกลาวได 6 ขวด ของคนงานคนหนึ่ง พบวาใชเวลาบรรจุขวดน้ําหวาน 24 วินาที ถาให


คนงานคนเดิมทําการบรรจุขวดน้ําหวานดังกลาวขางตนจํานวน 12 ขวด ลงในกลองขนาดใหญดวยวิธีการเดิมที่เขาทําอยู จงประมาณเวลาที่คนงานใชในการทํางานนี้


คําตอบ 1 : 24 วินาที


คําตอบ 2 : 36 วินาที

มจ
คําตอบ 3 : 48 วินาที

า้
คําตอบ 4 : 60 วินาที

ขอที่ : 412
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนขอดีของระบบ PTS


คําตอบ 1 : ระบบ PTS มีเวลาหลายตัวเลขสําหรับการเคลื่อนไหวอยางหนึ่ง ๆ


คําตอบ 2 : ตองประเมินหา Rating ของคนงานเพื่อนําไปปรับคาเวลาที่ประมาณไดใหเปนเวลาปกติ
คําตอบ 3 :

ง ว
สามารถใชระบบ PTS หาเวลามาตรฐานสําหรับงานนั้น ๆ กอนที่จะมีการผลิตจริง


คําตอบ 4 : ผูศึกษางานตองฝกฝนการใชระบบ PTS ใหดีจึงจะประยุกตใชไดถูกตอง

ขอ
กร
ขอที่ : 413


ขอใดเปนขอเสียของระบบ PTS



คําตอบ 1 : ไมตองประเมินหา Rating ของคนงานเพื่อนําไปปรับคาเวลาที่ประมาณไดใหเปนเวลาปกติ

าว
คําตอบ 2 : ผูศึกษางานตองฝกฝนการใชระบบ PTS ใหดีจึงจะประยุกตใชไดถูกตอง


คําตอบ 3 : มีเวลาเพียงตัวเลขเดียวสําหรับการเคลื่อนไหวอยางหนึ่ง ๆ โดยไมตองคํานึงวาจะทํางานนั้นที่ใด


คําตอบ 4 : สามารถใชระบบ PTS หาเวลามาตรฐานสําหรับงานนั้น ๆ กอนที่จะมีการผลิตจริง

ขอที่ : 414
จงบอกความหมายของการใส (POSITION) ซึ่งเปนองคประกอบหนึ่งของระบบ PTS
คําตอบ 1 : การตั้งใหตรงตําแหนง
คําตอบ 2 : การเคลื่อนยายสิ่งของ
คําตอบ 3 : การปลอยวัตถุ 97 of 102

คําตอบ 4 : การยกมือไปยังปลายทาง
ขอที่ : 415
จงบอกความหมายของการเคลื่อนไป (REACH) ซึ่งเปนองคประกอบหนึ่งของระบบ PTS
คําตอบ 1 : การปลอยวัตถุ
คําตอบ 2 : การตั้งใหตรงตําแหนง
คําตอบ 3 : การเคลื่อนยายสิ่งของ


คําตอบ 4 : การยกมือไปยังปลายทาง

น่ า

ขอที่ : 416


จงบอกความหมายของการยาย (MOVE) ซึ่งเปนองคประกอบหนึ่งของระบบ PTS
คําตอบ 1 : การยกมือไปยังปลายทาง

มจ
า้
คําตอบ 2 : การปลอยวัตถุ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : มือเคลื่อนที่ในขณะที่มีชิ้นงานอยูในมือ
คําตอบ 4 : การตั้งใหตรงตําแหนง

ขอที่ : 417

ส ิท
ว น
จงบอกความหมายของการปลอย (RELEASE) ซึ่งเปนองคประกอบหนึ่งของระบบ PTS


คําตอบ 1 : การเคลื่อนยายสิ่งของ


คําตอบ 2 : การปลอยวัตถุ


คําตอบ 3 : การยกมือไปยังปลายทาง
คําตอบ 4 : การหยิบของใหแนนดวยนิ้ว

กร ข
ขอที่ : 418


ิ ว
าว
จงบอกความหมายของการหยิบ (GRASP) ซึ่งเปนองคประกอบหนึ่งของระบบ PTS


คําตอบ 1 : การหยิบของใหแนนดวยนิ้ว


คําตอบ 2 : การยกมือไปยังปลายทาง
คําตอบ 3 : การตั้งใหตรงตําแหนง
คําตอบ 4 : การเคลื่อนยายสิ่งของ

ขอที่ : 419
การหาเวลามาตรฐานโดยใชระบบเวลาเคลื่อนไหวที่ทราบลวงหนา (Predetermined Time System, PTS) ไมสามารถใชไดกับงานใด
98 of 102
คําตอบ 1 : งานที่ทําอยูแลวโดยการสังเกตและจดบันทึกการเคลื่อนไหวพื้นฐานที่เกิดขึ้น
คําตอบ 2 : งานที่มีคนงานหลาย ๆ คนทํางานนั้น และวิธีการทํางานของคนงานเหลานั้นมีความแตกตางกัน
คําตอบ 3 : งานที่ยังไมเกิดขึ้นแตเราทราบวางานนี้ตองมีการเคลื่อนไหวพื้นฐานอะไรบาง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 420
โรงงานอุตสาหกรรมเสื้อผาสําเร็จรูปแหงหนึ่งตองการผลิตผลิตภัณฑใหมที่มีขั้นตอนการผลิตเหมือนเดิมหรือคลายคลึงกันมากกับขั้นตอนการผลิตผลิตภัณฑเดิม ถาวิศวกรฝายผลิตใช


ระบบเวลาเคลื่อนไหวที่ทราบลวงหนา (Predetermined Time System, PTS) มาหาเวลาที่ใชทําการผลิตผลิตภัณฑใหมจะเหมาะสมหรือไม เพราะอะไร
คําตอบ 1 : ไมเหมาะสม เพราะเปนผลิตภัณฑคนละรุนซึ่งไมมีความเกี่ยวของกัน

น่ า

คําตอบ 2 : ไมเหมาะสม เพราะผลิตภัณฑแตละรุนจะมีความเปนอิสระตอกัน


คําตอบ 3 : เหมาะสม เพราะขั้นตอนการผลิตเหมือนเดิมจึงทราบการเคลื่อนไหวในขั้นตอนการผลิตผลิตภัณฑใหม

มจ
คําตอบ 4 : เหมาะสม เพราะเปนความรับผิดชอบของวิศวกรฝายผลิต

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 421
งานนําชิ้นงานเขาเครื่องจักรงานหนึ่งพบวาเวลาพื้นฐาน (Basic Time) ขึ้นอยูกับความหนาของชิ้นงาน จากขอมูลการทํางานเดิมพบวาความหนาชิ้นงานที่ 10 , 15 , 20 , 25 มิลลิเมตร
ใชเวลาทํางานพื้นฐาน คือ 6 , 9 , 12 , 15 วินาที ตามลําดับ จงหาเวลามาตรฐานของการทํางานนี้เมื่อชิ้นงานมีความหนา 17 มิลลิเมตร ถาเวลาเผื่อเทากับ 10 %
คําตอบ 1 : 10.2 วินาที

ส ิท

คําตอบ 2 : 11.2 วินาที

ง ว
คําตอบ 3 : 12.2 วินาที


คําตอบ 4 : 13.2 วินาที

ขอ
กร
ขอที่ : 422
การนําเสนอขอมูลเวลามาตรฐานทําไดอยางไร
คําตอบ 1 : กราฟ


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : ตาราง
คําตอบ 3 : สูตร

ส ภ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 423
จากขอมูลเวลามาตรฐานที่กําหนดให งานใดเปนงานผันแปร 1. การขนสง 0.004 นาทีตอฟุต 2. การปรับเกจ 2.340 นาที 3. การตั้งเครื่องอัด 15 นาที 30 นาที 60 นาที ขึ้นกับความ
หนา 4. การบรรจุชิ้นสวนขนาดใหญ 0.15 นาที
คําตอบ 1 : 234
คําตอบ 2 : 123 99 of 102
คําตอบ 3 : 13
คําตอบ 4 : 1

ขอที่ : 424
จากขอมูลเวลามาตรฐานที่กําหนดให งานใดเปนงานคงที่ 1. การนําชิ้นงานเขา 0.005 นาทีตอนิ้ว (ความยาวเสนรอบวง) 2. การปรับเกจ 2.340 นาที 3. การตั้งเครื่องขึ้นรูป 15 นาที
30 นาที 60 นาที 4. การบรรจุชิ้นสวนขนาดใหญ 0.15 นาที
คําตอบ 1 : 24

่ า ย
คําตอบ 2 : 13


คําตอบ 3 : 234


คําตอบ 4 : 123

จ ำ

ขอที่ : 425

า้
ถาเวลาทํางาน 1 วันคือ 8 ชั่วโมง เปนชวงเวลาเผื่อการหยุดงานที่ไมสามารถปองกันไดวันละ 10% ถาประสิทธิภาพในการผลิตเทากับ 75% และสามารถผลิตชิ้นงานได 1500 ชิ้นตอ

ิธ์ ห
วัน จงหาอัตราการผลิตของงานนี้
คําตอบ 1 : 4.63 ชิ้นตอนาที

ิท
คําตอบ 2 : 4.63 นาทีตอชิ้น


คําตอบ 3 : 0.216 ชั่วโมงตอนาที


คําตอบ 4 : 0.216 ชิ้นตอนาที

ง ว

ขอที่ : 426


ถาเวลาทํางาน 1 วันคือ 8 ชั่วโมง เปนชวงเวลาหยุดงาน 48 นาที ถาประสิทธิภาพในการผลิตเทากับ 75% และมีอัตราการผลิตเทากับ 0.216 นาทีตอชิ้น จะสามารถผลิตชิ้นงานไดกี่

กร ข
ชิ้นตอวัน
คําตอบ 1 : 1,250 ชิ้นตอวัน


คําตอบ 2 : 1,500 ชิ้นตอวัน

าว ศ

คําตอบ 3 : 1,750 ชิ้นตอวัน
คําตอบ 4 : 2,000 ชิ้นตอวัน

ขอที่ : 427
ส ภ
ถาเวลาทํางาน 1 วันคือ 8 ชั่วโมง เปนชวงเวลาหยุดงาน 48 นาที ถาประสิทธิภาพในการผลิตเทากับ 75% และมีอัตราการผลิตเทากับ 0.216 นาทีตอชิ้น ถาตองการผลิตชิ้นงานใหได
2,000 ชิ้นตองเพิ่มการทํางานลวงเวลาเทาไร
คําตอบ 1 : 108 นาที
คําตอบ 2 : 75 นาที
คําตอบ 3 : 60 นาที
100 of 102
คําตอบ 4 : ไมตองเพิ่ม
ขอที่ : 428
จงคํานวณหา performance ถาพนักงานสามารถผลิตสินคาได 1,000 ชิ้น ภายใน 8 ชั่วโมง เมื่อเวลามาตรฐานของการผลิตชิ้นงานคือ 100 ชิ้นตอชั่วโมง
คําตอบ 1 : 100%
คําตอบ 2 : 112.5%
คําตอบ 3 : 125%


คําตอบ 4 : 150%

น่ า

ขอที่ : 429


ถาเวลามาตรฐานตอรอบการปมชิ้นงานตอชิ้นเทากับ 1.5 นาที เมื่อตองการปมขึ้นรูปชิ้นงาน 1 ชิ้นใหไดในเวลา 0.172 นาที จะตองใชเครื่องปมกี่เครื่อง
คําตอบ 1 : 7 เครื่อง

มจ
า้
คําตอบ 2 : 8 เครื่อง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 9 เครื่อง
คําตอบ 4 : 10 เครื่อง

ขอที่ : 430

ส ิท
ว น
ถาเวลาทํางาน 1 วันคือ 8 ชั่วโมง เปนชวงเวลาหยุดงาน 50 นาที ถาประสิทธิภาพในการผลิตเทากับ 80% และมีอัตราการผลิตเทากับ 0.172 นาทีตอชิ้น จะสามารถผลิตชิ้นงานไดกี่


ชิ้นตอวัน


คําตอบ 1 : 1,500 ชิ้นตอวัน


คําตอบ 2 : 2,000 ชิ้นตอวัน

กร ข
คําตอบ 3 : 2,250 ชิ้นตอวัน
คําตอบ 4 : 2,500 ชิ้นตอวัน


ิ ว
าว
ขอที่ : 431
ถาพบวาการนําชิ้นงานเขาเครื่องจักร (Loading) เปนงานที่ไมขึ้นกับขนาด น้ําหนักและจํานวน ดังนั้นขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :ส ภ งาน Loading เปนงานผันแปร
งาน Loading เปนงานคงที่
เวลาการทํางานของงาน Loading ไมคงที่
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 432
ถาการตรวจวัดชิ้นงานที่มีความหนาตาง ๆ กัน คือ 10 , 12 , 15 และ 20 มิลลิเมตร ใชเวลาในการทํางาน คือ 2.5 , 2.6 , 2.5 และ 2.5 วินาที ตามลําดับ สรุปไดวา101
อยofางไร
102

คําตอบ 1 : งานตรวจวัดชิ้นงานตามขนาดขางตนเปนงานคงที่
คําตอบ 2 : เวลาที่ใชตรวจวัดชิ้นงานความหนา 25 มิลลิเมตร ใชเวลาประมาณ 2.5 วินาที
คําตอบ 3 : งานตรวจวัดชิ้นงานเปนงานผันแปร
คําตอบ 4 : ขอ 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 433
หลังจากทําการปรับปรุงและไดวิธีการทํางานใหมเปนที่เรียบรอยแลว เครื่องมือใดที่จะชวยในการทําใหวิธีการทํางานใหมนั้นมีการใชงานไดอยางถูกตอง
คําตอบ 1 : Process Chart

่ า ย

คําตอบ 2 : Job Description


คําตอบ 3 : Work Construction

จ ำ
คําตอบ 4 : Work Instruction

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
434
ถาการตัดชิ้นงานที่มีความหนาตาง ๆ กัน คือ 10 , 12.5 , 15 และ 20 มิลลิเมตร ใชเวลามาตรฐานในการทํางาน เทากับ 15 , 20 , 25 และ 35 วินาที ตามลําดับ จงหาเวลามาตรฐานใน
การตัดชิ้นงานหนา 17.5 มิลลิเมตร

ิท
คําตอบ 1 : 27.5 วินาที


คําตอบ 2 : 30.0 วินาที


คําตอบ 3 : 32.5 วินาที
คําตอบ 4 : 40.0 วินาที

ง ว
อ ส

ขอที่ : 435

กร
การดัดแปลงแผนภูมิปฏิบัติงาน (Operation Chart หรือ Left and Right Hand Chart) มาใชเปนแบบฟอรมที่ใชบันทึกขั้นตอนในการปฏิบัติงาน(Standard Practice Sheet) เปน
ตัวอยางของการทําอะไร
คําตอบ 1 :


ิ ว
Standardization

าว
คําตอบ 2 : Process Design
คําตอบ 3 :


Project Report


คําตอบ 4 : Prototype

102 of 102

You might also like