You are on page 1of 118

สาขา: อุตสาหการ วิชา: IE07 Maintenance Engineering

ขอที่ : 1
ในการบํารุงรักษาดวยตนเอง (Self Maintenance) กิจกรรมใดตอไปนี้ไมใชกิจกรรมเพื่อปองกันการเสื่อมสภาพ
คําตอบ 1 : การใชเครื่องจักรอยางถูกวิธี


คําตอบ 2 : การซอมแซมกรณีเกิดเหตุขัดของแบบฉุกเฉิน

่ า
คําตอบ 3 : การหยอดน้ํามันหลอลื่นในจุดที่จําเปน


คําตอบ 4 : การทําความสะอาดเครื่องจักร

ขอที่ : 2

จ ำ ห

ในการบํารุงรักษาดวยตนเอง (Self Maintenance) กิจกรรมใดตอไปนี้เปนกิจกรรมของการแกไขการเสื่อมสภาพ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การปรับปรุงวิธีการตรวจสอบเครื่องจักร/อุปกรณ
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนอะไหลที่ทําใหเกิดเหตุขัดของ
คําตอบ 3 : การทําความสะอาดเครื่องจักร

ิท
คําตอบ 4 : การตรวจสอบความดันของลมยางอยางสม่ําเสมอ

นส

ขอที่ : 3

ส ง
ขอใดที่มักจะเปนผลมาจากการที่โรงงานอุตสาหกรรมมีระบบซอมบํารุงที่ดี


คําตอบ 1 : เดินเครื่องจักรทําการผลิตไดอยางราบรื่น


คําตอบ 2 : ผลิตภัณฑมีคุณภาพดี

กร
คําตอบ 3 : ตนทุนการผลิตตอหนวยต่ําลง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 4

าว ศ


หากตนทุนของงานซอมบํารุงคิดเปนรอยละ 20 ของยอดขาย และกําไรคิดเปนรอยละ 10 ของยอดขาย การลดตนทุนในงานซอมบํารุงลงรอยละ 10 จะเปนผลใหกําไรเพิ่มขึ้นรอยละ


เทาไร
คําตอบ 1 : รอยละ 10
คําตอบ 2 : รอยละ 20
คําตอบ 3 : รอยละ 30
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

1 of 118
ขอที่ : 5
ขอใดเปนคาประสิทธิผลเชิงรวมของโรงงานที่ขาดระบบซอมบํารุงที่ดี ที่ระบุโดยนายเซอิจิ นากาจิมา ผูเชี่ยวชาญดานการซอมบํารุงรักษาโรงงานอุตสาหกรรมชาวญี่ปุน
คําตอบ 1 : รอยละ 50
คําตอบ 2 : รอยละ 60
คําตอบ 3 : รอยละ 70
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย
ขอที่ : 6


ขอใดเปนคาประสิทธิผลเชิงรวมของโรงงานทั่วไปที่มีระบบซอมบํารุงที่ดี ที่ระบุโดยนายเซอิจิ นากาจิมา ผูเชี่ยวชาญดานการซอมบํารุงรักษาโรงงานอุตสาหกรรมชาวญี่ปุน


คําตอบ 1 : รอยละ 85

จ ำ
คําตอบ 2 : รอยละ 90


คําตอบ 3 : รอยละ 95

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 7
ิธ์ ห
ิท
ขอใดที่มีผลทําใหประสิทธิผลเชิงรวมของเครื่องจักรต่ําลง


คําตอบ 1 : เครื่องจักรชํารุดหยุดงานบอยครั้ง

ว น
คําตอบ 2 : เครื่องจักรเดินชากวาความเร็วมาตรฐาน


คําตอบ 3 : ตองซ้ํางานที่ออกจากเครื่องใหม


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอ
กร
ขอที่ : 8


ขอใดที่ไมมีผลทําใหประสิทธิผลเชิงรวมของเครื่องจักรต่ําลง



คําตอบ 1 : ปรับตั้งเครื่องจักรเปลี่ยนการผลิตบอยครั้ง

าว
คําตอบ 2 : เครื่องจักรเดินชากวาความเร็วมาตรฐาน


คําตอบ 3 : การใชเวลาทํางานฝกทักษะงานซอมใหกับพนักงาน


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 9
ขอใดที่ถือวาเปนความสูญเสียแฝงที่เกิดจากระบบซอมบํารุงขาดประสิทธิผล
คําตอบ 1 : สูญเสียตลาดจากความลาชาในการสงมอบงาน
คําตอบ 2 : ตนทุนในการผลิตตอหนวยสูงขึ้น
2 of 118
คําตอบ 3 : ขวัญและกําลังใจตกต่ํา สัมพันธภาพระหวางฝายไมดี
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 10
ประเทศใดที่ถือกันวาเปนแหลงที่เกิดของวิธีการจัดการงานซอมบํารุงโรงงานอุตสาหกรรมที่เรียกวาการซอมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance)
คําตอบ 1 : ญี่ปุน
คําตอบ 2 : เยอรมัน
คําตอบ 3 : สหรัฐอเมริกา

่ า ย

คําตอบ 4 : อังกฤษ

ขอที่ : 11

จ ำ ห

ขอใดที่ไมถือวาเปนงานซอมบํารุงปองกัน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การขจัดจุดออนหรือขอบกพรองที่เปนสาเหตุใหเกิดการชํารุดขัดของ
คําตอบ 2 : การตรวจสอบสภาพเครื่องจักร
คําตอบ 3 : การเปลี่ยนชิ้นสวนที่หมดอายุ

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

นส

ขอที่ : 12


ขอใดเปนระดับผลผลิตของสายการผลิตที่จะเพิ่มขึ้น หากการปรับปรุงระบบซอมบํารุงทําใหประสิทธิผลเชิงรวมของสายการผลิตเพิ่มขึ้นจากรอยละ 60 เปนรอยละ 90
คําตอบ 1 : รอยละ 30

อ ส

คําตอบ 2 : รอยละ 40

กร
คําตอบ 3 : รอยละ 50


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 13

าว ศ


ขอใดที่เปนลักษณะเฉพาะที่โดดเดนในการดําเนินงานซอมบํารุงในแบบฉบับของอุตสาหกรรมในประเทศญี่ปุน


คําตอบ 1 : การซอมบํารุงปองกันไมใหเกิดการชํารุดขัดของ
คําตอบ 2 : การซอมบํารุงดวยตนเองของพนักงานที่เปนผูเดินเครื่อง
คําตอบ 3 : การดัดแปลงปรับปรุงเครื่องจักรเพื่อขจัดสาเหตุของการชํารุดขัดของ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 14 3 of 118
ขอใดเปนขั้นตอนแรกของการซอมบํารุงดวยตนเอง
คําตอบ 1 : การตรวจเช็คสภาพเครื่องจักรประจําวัน
คําตอบ 2 : การทําความสะอาดขั้นตน
คําตอบ 3 : การปรับตั้งกอนเดินเครื่อง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 15

่ า ย
ขอใดที่เปนกิจกรรมหลักของการซอมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance)


คําตอบ 1 : การปรับปรุงแบบเนนชัดในจุดที่เปนปญหา


คําตอบ 2 : การซอมบํารุงดวยตนเองของพนักงานที่ใชเครื่อง

จ ำ
คําตอบ 3 : การใหการศึกษาและฝกอบรมพนักงาน


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 16
ขอใดที่เปนระยะเวลาที่มักจะตองใชในการพัฒนาระบบซอมบํารุงใหเปนแบบการซอมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance - TPM)

ิท
คําตอบ 1 : 3-4 เดือน


คําตอบ 2 : 6-12 เดือน

ว น
คําตอบ 3 : 3-4 ป


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

อ ส

ขอที่ : 17

กร
การจัดตั้งหนวยงานขึ้นมาทําหนาที่ในการสงเสริมผลักดัน อยูในชวงใดของการพัฒนาระบบซอมบํารุงใหเปนแบบการซอมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance -


TPM)



คําตอบ 1 : ชวงเตรียมการ

าว
คําตอบ 2 : ชวงเริ่มงาน


คําตอบ 3 : ชวงดําเนินงาน


คําตอบ 4 : ชวงรักษาและพัฒนาระบบ

ขอที่ : 18
การจัดงานเปดตัวเพื่อแสดงความตั้งใจที่จะพัฒนาระบบซอมบํารุงโดยพนักงานทุกคน และอาจมีการเชิญชวนลูกคาและผูสงมอบเขารวมงานดวย เปนขั้นตอนที่อยูในชวงใดของการ
พัฒนาระบบซอมบํารุงใหเปนแบบการซอมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance - TPM)
คําตอบ 1 : ชวงเตรียมการ
คําตอบ 2 : ชวงเริ่มงาน 4 of 118

คําตอบ 3 : ชวงดําเนินงาน
คําตอบ 4 : ชวงรักษาและพัฒนาระบบ

ขอที่ : 19
การฝกอบรมบุคลากรเปนขั้นตอนที่อยูในชวงใดของการพัฒนาระบบซอมบํารุงใหเปนแบบการซอมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance - TPM)
คําตอบ 1 : ชวงเตรียมการ
คําตอบ 2 : ชวงเริ่มงาน
คําตอบ 3 : ชวงดําเนินงาน

่ า ย

คําตอบ 4 : ชวงรักษาและพัฒนาระบบ

ขอที่ : 20

จ ำ ห

รางวัลดานการบํารุงรักษาโรงงาน เชน TPM Excellent Award อาจนํามาใชในชวงใดของการพัฒนาระบบซอมบํารุงใหเปนแบบการซอมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive

า้
Maintenance - TPM)

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ชวงเตรียมการ
คําตอบ 2 : ชวงเริ่มงาน

ิท
คําตอบ 3 : ชวงดําเนินงาน


คําตอบ 4 : ชวงรักษาและพัฒนาระบบ

ขอที่ : 21

ง ว น

ขอใดเปนชื่อขององคกรที่สงเสริมการพัฒนาระบบซอมบํารุงดวยการจัดใหมีการพิจารณาใหรางวัลกับบริษัทที่มีความเปนเลิศในดานนี้
คําตอบ 1 :

ขอ
Japanese Union of Scientists and Engineers - JUSE

กร
คําตอบ 2 : Japanese Institute of Plant Maintenance - JIPM


คําตอบ 3 : Japanese Productivity Center - JPC



คําตอบ 4 : Japanese Management Association - JMA

ขอที่ : 22

ภ าว

ขอใดเปนแนวความคิดในการบํารุงรักษาโรงงานอุตสาหกรรม ที่เนนการพิจารณาผลกระทบทุกดานที่เกิดขึ้นจากงานและนําความรูในหลากหลายสาขาวิชาเขามาประยุกตใช
คําตอบ 1 : การซอมบํารุงปองกัน
คําตอบ 2 : การซอมบํารุงทวีผล
คําตอบ 3 : เทโรเทคโนโลยี
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

5 of 118
ขอที่ : 23
ขอใดเปนการสูญเสียที่สามารถชี้บงไดดวยตัวประกอบการใชเครื่อง (Utilization Factor – UF)
คําตอบ 1 : หยุดงานเพราะไมมีคําสั่งผลิต ไมมีวัตถุดิบ หยุดตามวาระเทศกาล หรือดวยเหตุอื่นๆ
คําตอบ 2 : เครื่องชํารุดขัดของ และ เสียเวลาตั้งเครื่องในการเปลี่ยนผลิตภัณฑ
คําตอบ 3 : ความเร็วลด เดินเครื่องตัวเปลา และเหตุติดขัดในการผลิต
คําตอบ 4 : ปญหาทางคุณภาพและการสูญเสียสวนได

่ า ย
ขอที่ : 24


ขอใดเปนการสูญเสียที่สามารถชี้บงไดดวยตัวประกอบการเดินเครื่อง (Running Factor – RF) หรือ ระดับความพรอม (Availability – A)


คําตอบ 1 : หยุดงานเพราะไมมีคําสั่งผลิต ไมมีวัตถุดิบ หยุดตามวาระเทศกาล หรือดวยเหตุอื่นๆ

จ ำ
คําตอบ 2 : เครื่องชํารุดขัดของ และ เสียเวลาตั้งเครื่องในการเปลี่ยนผลิตภัณฑ


คําตอบ 3 : ความเร็วลด เดินเครื่องตัวเปลา และเหตุติดขัดในการผลิต

า้
คําตอบ 4 : ปญหาทางคุณภาพและการสูญเสียสวนได

ขอที่ : 25
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนการสูญเสียที่สามารถชี้บงไดดวยตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF)


คําตอบ 1 : หยุดงานเพราะไมมีคําสั่งผลิต ไมมีวัตถุดิบ หยุดตามวาระเทศกาล หรือดวยเหตุอื่นๆ

ว น
คําตอบ 2 : เครื่องชํารุดขัดของ และ เสียเวลาตั้งเครื่องในการเปลี่ยนผลิตภัณฑ


คําตอบ 3 : ความเร็วลด เดินเครื่องตัวเปลา และเหตุติดขัดในการผลิต


คําตอบ 4 : ปญหาทางคุณภาพและการสูญเสียสวนได

ขอ
กร
ขอที่ : 26


ขอใดเปนการสูญเสียที่สามารถชี้บงไดดวยตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF)



คําตอบ 1 : หยุดงานเพราะไมมีคําสั่งผลิต ไมมีวัตถุดิบ หยุดตามวาระเทศกาล หรือดวยเหตุอื่นๆ

าว
คําตอบ 2 : เครื่องชํารุดขัดของ และ เสียเวลาตั้งเครื่องในการเปลี่ยนผลิตภัณฑ


คําตอบ 3 : ความเร็วลด เดินเครื่องตัวเปลา และเหตุติดขัดในการผลิต


คําตอบ 4 : ปญหาทางคุณภาพและการสูญเสียสวนได

ขอที่ : 27
ขอใดเปนดัชนีที่สามารถชี้บงการสูญเสียจากการสูญเสียสวนได (Yield loss)
คําตอบ 1 : ตัวประกอบการใชเครื่อง (Utilization Factor – UF)
คําตอบ 2 : ตัวประกอบการเดินเครื่อง (Running Factor – RF) หรือ ระดับความพรอม (Availability – A)
6 of 118
คําตอบ 3 : ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF)
คําตอบ 4 : ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF)

ขอที่ : 28
ขอใดเปนดัชนีที่สามารถชี้บงการสูญเสียจากการเดินเครื่องตัวเปลาได
คําตอบ 1 : ตัวประกอบการใชเครื่อง (Utilization Factor – UF)
คําตอบ 2 : ตัวประกอบการเดินเครื่อง (Running Factor – RF) หรือ ระดับความพรอม (Availability – A)
คําตอบ 3 : ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF)

่ า ย

คําตอบ 4 : ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF)

ขอที่ : 29

จ ำ ห

ขอใดเปนดัชนีที่เปนตัวชี้บงการสูญเสียจากการตั้งเครื่องเพื่อเปลี่ยนผลิตภัณฑ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ตัวประกอบการใชเครื่อง (Utilization Factor – UF)
คําตอบ 2 : ตัวประกอบการเดินเครื่อง (Running Factor – RF)
คําตอบ 3 : ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF)

ิท
คําตอบ 4 : ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF)

นส

ขอที่ : 30


ขอใดเปนดัชนีที่เปนตัวชี้บงการสูญเสียจากการที่หยุดทําการผลิตเพราะไมมีคําสั่งใหทําการผลิตไดดี
คําตอบ 1 :

อ ส
ตัวประกอบการใชเครื่อง (Utilization Factor – UF)


คําตอบ 2 : ตัวประกอบการเดินเครื่อง (Running Factor – RF) หรือ ระดับความพรอม (Availability – A)

กร
คําตอบ 3 : ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF)


คําตอบ 4 : ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF)

ขอที่ : 31

าว ศ


ขอใดเปนประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (Overall Equipment Effectiveness - OEE) หากมีคาตัวประกอบการใชเครื่อง (Utilization Factor – UF) = 85.00 % ตัวประกอบ


การเดินเครื่อง (Running Factor – RF) = 92.00 % ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF) = 96.00 % ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF) = 98.00
%
คําตอบ 1 : 73.57 %
คําตอบ 2 : 86.55 %
คําตอบ 3 : 91.20 %
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
7 of 118

ขอที่ : 32
ขอใดเปนประสิทธิผลโดยรวมของการผลิต (Overall Production Effectiveness - OPE) หากมีคาตัวประกอบการใชเครื่อง (Utilization Factor – UF) = 85.00 % ตัวประกอบ
การเดินเครื่อง (Running Factor – RF) = 92.00 % ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF) = 96.00 % ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF) = 98.00
%
คําตอบ 1 : 73.57 %
คําตอบ 2 : 86.55 %
คําตอบ 3 : 91.20 %


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

น่ า

ขอที่ : 33


ขอใดเปนตัวประกอบการใชเครื่อง (Utilization Factor – UF) ของโรงงานที่เดินเครื่องปละ 365 วันๆ ละ 24 ชั่วโมง หากในปที่คํานวณหยุดการผลิตในวาระเทศกาล 360 ชั่วโมง


หยุดซอมเพราะเหตุชํารุดขัดของ 140 ชั่วโมง เสียเวลาในการปรับตั้งเครื่อง เปลี่ยนผลิตภัณฑ 100 ชั่วโมง

า้ ม
คําตอบ 1 : 95.89 %

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 97.14 %
คําตอบ 3 : 97.26 %
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ส ิท

ขอที่ : 34


ขอใดเปนตัวประกอบการใชเครื่อง (Running Factor – RF) หรือ ระดับความพรอม (Availability – A) ของโรงงานที่เดินเครื่องปละ 365 วันๆ ละ 24 ชั่วโมง หากในปที่คํานวณนี้


หยุดการผลิตในวาระเทศกาล 360 ชั่วโมง หยุดซอมเพราะเหตุชํารุดขัดของ 140 ชั่วโมง และเสียเวลาในการปรับตั้งเครื่อง เปลี่ยนผลิตภัณฑ 100 ชั่วโมง

อ ส
คําตอบ 1 : 95.89 %


คําตอบ 2 : 97.14 %

กร
คําตอบ 3 : 97.26 %


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 35

าว ศ


ขอใดเปนตัวประกอบการใชเครื่อง (Utilization Factor – UF) ในเดือนสิงหาคมของโรงงานที่เดินเครื่องสัปดาหละ 7 วันๆ ละ 24 ชั่วโมง หากในเดือนนี้หยุดการผลิตในวาระเทศกาล


48 ชั่วโมง หยุดซอมเพราะเหตุชํารุดขัดของ 20 ชั่วโมง เสียเวลาในการปรับตั้งเครื่อง เปลี่ยนผลิตภัณฑ 10 ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 93.55 %
คําตอบ 2 : 95.53 %
คําตอบ 3 : 95.69 %
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

8 of 118
ขอที่ : 36
ขอใดเปนตัวประกอบการใชเครื่อง (Running Factor – RF) หรือระดับความพรอม (Availability – A) ในเดือนสิงหาคมของโรงงานที่เดินเครื่องสัปดาหละ 7 วันๆ ละ 24 ชั่วโมง
หากในเดือนนี้หยุดการผลิตในวาระเทศกาล 48 ชั่วโมง หยุดซอมเพราะเหตุชํารุดขัดของ 20 ชั่วโมง เสียเวลาในการปรับตั้งเครื่อง เปลี่ยนผลิตภัณฑ 10 ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 93.55 %
คําตอบ 2 : 95.53 %
คําตอบ 3 : 95.69 %
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย
ขอที่ : 37


ขอใดเปนตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF) ของเครื่องจักร หากในเดือนมิถุนายนเครื่องจักรนี้ผลิตสินคาที่มีผลผลิตมาตรฐาน 1.2 ตันตอชั่วโมง ได 632 ตัน และ


มีเวลาเดินเครื่องสุทธิ 650 ชั่วโมง


คําตอบ 1 :


73.15 %


คําตอบ 2 : 81.03 %

า้
คําตอบ 3 : 97.23 %

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 38


ขอใดเปนตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF) ของเครื่องจักร หากในปที่ทําการคํานวณเครื่องจักรนี้ผลิตสินคาที่มีผลผลิตมาตรฐาน 1.0 ตันตอชั่วโมง ได 7,232


ตัน โดย หยุดการผลิตในวาระเทศกาล 200 ชั่วโมง หยุดเพราะเหตุอื่นๆ 160 หยุดซอมเพราะเหตุชํารุดขัดของ 140 ชั่วโมง เสียเวลาในการปรับตั้งเครื่อง เปลี่ยนผลิตภัณฑ 100


ชั่วโมง

ส ง
คําตอบ 1 : 84.88 %


คําตอบ 2 : 86.51 %


คําตอบ 3 : 88.63 %

กร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด


ิ ว
าว
ขอที่ : 39
ขอใดเปนตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF) ของเครื่องจักร ที่ในชวงเวลาเดินเครื่องสุทธิ 140 ชั่วโมง สามารถผลิตสินคาที่มีมาตรฐานผลผลิต 10 และ 20 หนวย


ตอชั่วโมงได 400 และ 800 หนวย ตามลําดับ


คําตอบ 1 : 42.86 %
คําตอบ 2 : 57.14 %
คําตอบ 3 : 85.71 %
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 40
9 of 118
ขอใดเปนตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF) ของเครื่องจักร ที่ในชวงเวลาเดินเครื่องสุทธิ 140 ชั่วโมง สามารถผลิตสินคาที่มีมาตรฐานผลผลิต 10 และ 20 หนวยตอ
ชั่วโมงได 400 และ 800 หนวย โดยมีของเสีย 32 และ 40 หนวย ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 93.50 %
คําตอบ 2 : 94.00%
คําตอบ 3 : 96.25 %
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 41

่ า ย
ขอใดเปนประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (Overall Equipment Effectiveness - OEE) หากผลผลิตสุทธิของสินคาที่มีมาตรฐานผลผลิต 7.5 หนวยตอชั่วโมง ที่ไดในชวง


สัปดาหหนึ่ง เปน 820 หนวย โดยในสัปดาหนี้ชวงที่หยุดเนื่องจากไมมีการสั่งผลิต 18 ชั่วโมง และเครื่องจักรชํารุดขัดของ 10 ชั่วโมง


คําตอบ 1 : 65.08 %


คําตอบ 2 :


72.89 %


คําตอบ 3 : 91.20 %

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 42
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนประสิทธิผลโดยรวมของการผลิต (Overall Production Effectiveness - OPE) หากผลผลิตสุทธิของสินคาที่มีมาตรฐานผลผลิต 7.5 หนวยตอชั่วโมง ที่ไดในชวงสัปดาห


หนึ่ง เปน 820 หนวย โดยในสัปดาหนี้มีชวงที่หยุดเนื่องจากไมมีการสั่งผลิต 18 ชั่วโมง และเครื่องจักรชํารุดขัดของ 10 ชั่วโมง


คําตอบ 1 : 65.08 %

ง ว
คําตอบ 2 : 72.89 %


คําตอบ 3 : 91.20 %


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 43

กร ข

ิ ว
ขอใดถือไดวาเปนจุดเริ่มตนของวงจรชีวิตเครื่องจักร

าว
คําตอบ 1 : เกิดความตองการเครื่องจักร
คําตอบ 2 : ผลิตและประกอบเครื่องจักร

ส ภ
คําตอบ 3 : เริ่มใชงานเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ครั้งแรกที่เครื่องจักรชํารุดขัดของ

ขอที่ : 44
เมื่อเครื่องจักรไมสามารถทํางานไดในระดับที่ตองการถือไดวาเครื่องจักรสิ้นอายุประเภทใด
คําตอบ 1 : อายุงานทางกายภาพ
คําตอบ 2 : อายุงานทางเศรษฐกิจ 10 of 118

คําตอบ 3 : อายุงานทางวิทยาการ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ไมถูกตอง

ขอที่ : 45
เมื่อการใชงานเครื่องจักรตอไปทําใหเกิดตนทุนโดยรวมสูงขึ้นถือไดวาเครื่องจักรสิ้นอายุประเภทใด
คําตอบ 1 : อายุงานทางกายภาพ
คําตอบ 2 : อายุงานทางเศรษฐกิจ
คําตอบ 3 : อายุงานทางวิทยาการ

่ า ย

คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 46

จ ำ ห

เมื่อมีเครื่องจักรแบบใหมที่ดีกวาเครื่องจักรเดิมที่ใชงานอยูในทุกๆ ดานที่มีนัยสําคัญตอการใชงาน ถือไดวาเครื่องจักรเดิมสิ้นอายุประเภทใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : อายุงานทางกายภาพ
คําตอบ 2 : อายุงานทางเศรษฐกิจ
คําตอบ 3 : อายุงานทางวิทยาการ

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

นส

ขอที่ : 47


ตนทุนประเภทใดมักจะลดลงเมื่อเครื่องจักรมีอายุการใชงานมากขึ้น
คําตอบ 1 : ตนทุนการใชงานเครื่องจักรตอป

อ ส

คําตอบ 2 : ตนทุนซอมบํารุงรักษาเครื่องจักรตอป

กร
คําตอบ 3 : ตนทุนเครื่องจักรเริ่มตนเฉลี่ยตอป


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 48

าว ศ


ขอความตอไปนี้ขอใดมักไมเปนความจริง


คําตอบ 1 : ราคาเครื่องจักรเปนเพียงองคประกอบหนึ่งของตนทุนวงจรชีวิต
คําตอบ 2 : ตนทุนวงจรชีวิตอาจสูง 3-10 เทา ของราคาเครื่องจักร
คําตอบ 3 : การซื้อเครื่องจักรโดยพิจารณาจากราคาเปนเรื่องที่ทําไดงาย
คําตอบ 4 : การใชเครื่องจักรที่มีราคาต่ําสุดจะทําใหมีตนทุนสินคาตอหนวยถูกที่สุด

ขอที่ : 49 11 of 118
ขอใดเปนเกณฑในการตัดสินใจเลือกเครื่องจักรที่จะนํามาใชงานที่ดีที่สุด
คําตอบ 1 : ราคาเครื่องจักร
คําตอบ 2 : ตนทุนในการใชงานเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ตนทุนในการซอมบํารุงเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ตนทุนตลอดวงจรชีวิตของเครื่องจักร

ขอที่ : 50

่ า ย
ขอใดที่ไมใชองคประกอบของตนทุนตลอดวงจรชีวิตของเครื่องจักร


คําตอบ 1 : ราคาเครื่องจักร


คําตอบ 2 : คานายหนาซื้อขายเครื่องจักร

จ ำ
คําตอบ 3 : ตนทุนโอกาสในการชํารุดหยุดซอม


คําตอบ 4 : ตนทุนในการซอมบํารุงเครื่องจักร

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 51
ราคาอะไหลประกันที่ซื้อพรอมกับเครื่องจักรเปนตนทุนในกลุมใด

ิท
คําตอบ 1 : ตนทุนเครื่องจักรเริ่มตน


คําตอบ 2 : ตนทุนในการใชงานเครื่องจักร

ว น
คําตอบ 3 : ตนทุนซอมบํารุงรักษาเครื่องจักร


คําตอบ 4 : ตนทุนสูญเสีย

อ ส

ขอที่ : 52

กร
อะไหลสิ้นเปลืองที่ใชไปในระหวางอายุการใชงานของเครื่องจักรเปนตนทุนในกลุมใด


คําตอบ 1 : ตนทุนเครื่องจักรเริ่มตน



คําตอบ 2 : ตนทุนในการใชงานเครื่องจักร

าว
คําตอบ 3 : ตนทุนซอมบํารุงรักษาเครื่องจักร


คําตอบ 4 : ตนทุนสูญเสีย

ขอที่ : 53

คาไฟฟาและพลังงานสําหรับเครื่องจักรเปนตนทุนในกลุมใด
คําตอบ 1 : ตนทุนเครื่องจักรเริ่มตน
คําตอบ 2 : ตนทุนในการใชงานเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ตนทุนซอมบํารุงรักษาเครื่องจักร
12 of 118
คําตอบ 4 : ตนทุนสูญเสีย
ขอที่ : 54
คาใชจายในการบํารุงรักษาเชิงปองกันเปนตนทุนในกลุมใด
คําตอบ 1 : ตนทุนเครื่องจักรเริ่มตน
คําตอบ 2 : ตนทุนในการใชงานเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ตนทุนซอมบํารุงรักษาเครื่องจักร


คําตอบ 4 : ตนทุนสูญเสีย

น่ า

ขอที่ : 55


โอกาสในการขายสินคาที่ขาดหายไปเนื่องจากเครื่องจักรเกิดการชํารุดขัดของเปนตนทุนในกลุมใด
คําตอบ 1 : ตนทุนเครื่องจักรเริ่มตน

มจ
า้
คําตอบ 2 : ตนทุนในการใชงานเครื่องจักร

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ตนทุนซอมบํารุงรักษาเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 56

ส ิท
ว น
คาใชจายในการฝกอบรมพนักงานฝายผลิตในการเดินเครื่องเปนตนทุนในกลุมใด


คําตอบ 1 : ตนทุนเครื่องจักรเริ่มตน


คําตอบ 2 : ตนทุนในการใชงานเครื่องจักร


คําตอบ 3 : ตนทุนซอมบํารุงรักษาเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ตนทุนสูญเสีย

กร ข
ขอที่ : 57


ิ ว
าว
คาใชจายในการฝกอบรมชางซอมบํารุงใหมีทักษะในการทํางานเปนตนทุนในกลุมใด


คําตอบ 1 : ตนทุนเครื่องจักรเริ่มตน


คําตอบ 2 : ตนทุนในการใชงานเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ตนทุนซอมบํารุงรักษาเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ตนทุนสูญเสีย

ขอที่ : 58
ตนทุนประเภทใดในตนทุนตลอดวงจรชีวิต ที่สามารถประมาณไดจากคาระดับความพรอมหรือประสิทธิผลเชิงรวมของเครื่องจักรได
13 of 118
คําตอบ 1 : ตนทุนเครื่องจักรเริ่มตน
คําตอบ 2 : ตนทุนในการใชงานเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ตนทุนซอมบํารุงรักษาเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ตนทุนสูญเสีย

ขอที่ : 59
เครื่องจักรที่มีระดับความพรอมรอยละ 99 ที่กําหนดไววาจะใชงานปละ 5,000 ชั่วโมง จะมีตนทุนสูญเสียปละเทาไร หากตนทุนสูญเสียผลผลิตตอชั่วโมงเทากับ 100,000 บาท
คําตอบ 1 : 1,000,000 บาท

่ า ย

คําตอบ 2 : 5,000,000 บาท


คําตอบ 3 : 9,900,000 บาท

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
60
ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่งซึ่งมีอายุการใชงาน 5,000 ชั่วโมง จากผูผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้
ผูผลิต ราคา (บาท) ตนทุนในการใชงาน (บาท/ชั่วโมง)

ิท
A 10,000 1.20


B 5,000 1.60


C 4,000 1.80


คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

ส ง

คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 61

ว กร
าว ศ

ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่งซึ่งมีอายุการใชงาน 5,000 ชั่วโมง จากผูผลิตสามราย (A, B, C)โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้
ผูผลิต ราคา (บาท) ตนทุนติดตั้งหรือเปลี่ยน (บาทตอครั้ง) ตนทุนในการใชงาน (บาท/ชั่วโมง)


A 10,000 1,000 1.20


B 5,000 2,000 1.60
C 4,000 3,000 1.80
คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
14 of 118

ขอที่ : 62
ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่งซึ่งมีอายุการใชงาน 5,000 ชั่วโมง จากผูผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้
ผูผลิต ราคา ตนทุนติดตั้งหรือ ตนทุนในการใชงาน ตนทุนในการบํารุงรักษา
(บาท) เปลี่ยน (บาทตอครั้ง) (บาท/ชั่วโมง) (บาท/ชั่วโมง)
A 10,000 1,000 1.20 0.10
B 5,000 2,000 1.60 0.25
C 4,000 3,000 1.80 0.00
คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

่ า ย
คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด


คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

จ ำ

ขอที่ : 63

า้
ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่ง จากผูผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้

ิธ์ ห
ผูผลิต อายุการใชงาน (ชั่วโมง) ราคา (บาท) ตนทุนในการใชงาน
(บาท/ชั่วโมง)
A 5,000 10,000 1.20

ิท
B 4,500 5,000 1.60


C 4,000 4,000 1.80
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

ง ว น

คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอ
ขอที่ : 64

ว กร


ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่ง จากผูผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้

าว
ผูผลิต อายุการใชงาน ราคา (บาท) ตนทุนติดตั้งหรือ ตนทุนในการใชงาน
(ชั่วโมง) เปลี่ยน (บาทตอครั้ง) (บาท/ชั่วโมง)

ส ภ
A 5,000 10,000 1,000 1.20
B 4,500 5,000 2,000 1.60
C 4,000 4,000 3,000 1.80
คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
15 of 118
ขอที่ : 65
ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่ง จากผูผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้
ผูผลิต อายุการใชงาน ราคา (บาท) ตนทุนสูญเสียชวง ตนทุนในการใชงาน
(ชั่วโมง) เปลี่ยน (บาทตอครั้ง) (บาท/ชั่วโมง)
A 5,000 10,000 20,000 1.20
B 4,500 5,000 20,000 1.60
C 4,000 4,000 20,000 1.80

่ า ย
คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด


คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด


คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

มจ
า้
ขอที่ : 66

ิธ์ ห
ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่งซึ่งมีอายุการใชงาน 10 ป จากผูผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้ (Present
worth Factor : P/A, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 6.1446)
ผูผลิต ราคา (ลานบาท) ตนทุนในการใชงานและบํารุงรักษา

ิท
(ลานบาท/ป)


A 2.00 0.50

ว น
B 3.00 0.40


C 4.00 0.30


คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด


คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

กร ข
คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด


ิ ว
าว
ขอที่ : 67


ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่งซึ่งมีอายุการใชงาน 10 ป จากผูผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้ (Present


worth Factor : P/A, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 6.1446)
ผูผลิต ราคา (ลาน ตนทุนสูญเสีย (ลาน ตนทุนในการใชงานและบํารุง
บาท) บาท/ป) รักษา (ลานบาท/ป)
A 2.00 1.00 0.50
B 3.00 0.90 0.40
C 4.00 0.80 0.30
คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด 16 of 118

คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 68
ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่งซึ่งมีอายุการใชงาน 10 ป จากผูผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้ (Present
worth Factor : P/A, 10%, 10 มีคาเทากับ 6.1446 และ P/F, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 0.3855 )
ผูผลิต ราคา (ลานบาท) ตนทุนในการใชงานและบํารุงรักษา มูลคาซาก (ลานบาท)


(ลานบาท/ป)

่ า
A 2.00 0.50 0.40


B 3.00 0.40 0.60


C 4.00 0.30 0.80
คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

จ ำ

คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

า้
คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 69


ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่งซึ่งมีอายุการใชงาน 10 ป จากผูผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้ (Present


worth Factor : P/A, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 6.1446 และ P/F, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 0.3855 )

ง ว
ผูผลิต ราคา (ลาน ตนทุนในการใชงานและบํารุง ตนทุนสูญเสีย มูลคาซาก (ลาน


บาท) รักษา (ลานบาท/ป) (ลานบาท/ป) บาท)


A 2.00 0.50 1.00 0.40


B 3.00 0.40 0.90 0.60

กร
C 4.50 0.30 0.80 0.90


คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด



คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

าว
คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 70

ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่งซึ่งมีอายุการใชงาน 10 ป จากผูผลิตสี่ราย (A, B, C, D) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้ (Present
worth Factor : P/A, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 6.1446)
ผูผลิต ราคา (ลานบาท) ตนทุนในการใชงานและบํารุงรักษา
(ลานบาท/ป)
A 2.00 1.00
B 3.00 0.80 17 of 118

C 4.00 0.60
D 5.00 0.50
คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด
คําตอบ 4 : D มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

่ า ย
ขอที่ : 71


ขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองในการเปรียบเทียบตนทุนรวมของอุปกรณอยางหนึ่งซึ่งมีอายุการใชงาน 10 ป จากผูผลิตสี่ราย (A, B, C, D) โดยมีตนทุนในสวนที่ตางกันดังนี้ (Present


worth Factor : P/A, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 6.1446)


ผูผลิต ราคา (ลานบาท) ตนทุนในการใชงานและบํารุงรักษา ตนทุนสูญเสีย (ลาน


(ลานบาท/ป) บาท/ป)

า้ ม
A 2.00 1.00 2.00
B 3.00 0.80 1.60

ิธ์ ห
C 4.00 0.60 1.20
D 5.00 0.50 1.00

ิท
คําตอบ 1 : A มีตนทุนรวมต่ําที่สุด


คําตอบ 2 : B มีตนทุนรวมต่ําที่สุด


คําตอบ 3 : C มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

ง ว
คําตอบ 4 : D มีตนทุนรวมต่ําที่สุด

ขอที่ :

อ ส

72

กร
ขอใดเปนเครื่องจักรที่มีตนทุนวงจรชีวิตเทียบเทาต่ําสุด หากตนทุนวงจรชีวิต (Life cycle cost – LCC) ที่ไมรวมตนทุนสูญเสีย และ ระดับความพรอมในการเดินเครื่อง (Running
factor – RF) ของเครื่องจักรสี่เครื่อง (A, B, C, D) ที่ทํางานเหมือนกัน เปนตามที่แสดงขางลางนี้


เครื่องจักร LCC (ลานบาท) RF



A 8 0.60

าว
B 9 0.70


C 10 0.80


D 14 0.90
คําตอบ 1 : เครื่องจักร A
คําตอบ 2 : เครื่องจักร B
คําตอบ 3 : เครื่องจักร C
คําตอบ 4 : เครื่องจักร D

ขอที่ : 73 18 of 118

ขอใดเปนเครื่องจักรที่มีตนทุนวงจรชีวิตเทียบเทาต่ําสุด หากตนทุนวงจรชีวิต (Life cycle cost – LCC) ที่ไมรวมตนทุนสูญเสีย และ ระดับสมรรถภาพในการเดินเครื่อง


(Performance factor – PF) ของเครื่องจักรสี่เครื่อง (A, B, C, D) ที่ทํางานเหมือนกัน เปนตามที่แสดงขางลางนี้
เครื่องจักร LCC (ลานบาท) PF
A 8 0.80
B 9 0.85
C 10 0.90
D 14 0.95
คําตอบ 1 : เครื่องจักร A

่ า ย
คําตอบ 2 : เครื่องจักร B


คําตอบ 3 : เครื่องจักร C


คําตอบ 4 : เครื่องจักร D

จ ำ

ขอที่ : 74

า้
ขอใดเปนเครื่องจักรที่มีตนทุนวงจรชีวิตเทียบเทาต่ําสุด หากตนทุนวงจรชีวิต (Life cycle cost – LCC) ที่ไมรวมตนทุนสูญเสีย และ ระดับคุณภาพในการเดินเครื่อง (Quality factor

ิธ์ ห
– QF) ของเครื่องจักรสี่เครื่อง (A, B, C และ D) ที่ทํางานเหมือนกัน เปนตามที่แสดงขางลางนี้
เครื่องจักร LCC (ลานบาท) QF
A 8 0.80

ิท
B 9 0.93


C 10 0.96

ว น
D 14 0.99


คําตอบ 1 : เครื่องจักร A


คําตอบ 2 : เครื่องจักร B

ขอ
คําตอบ 3 : เครื่องจักร C

กร
คําตอบ 4 : เครื่องจักร D

ขอที่ : 75


ิ ว
าว
ขอใดเปนเครื่องจักรที่มีตนทุนวงจรชีวิตเทียบเทาต่ําสุด หากตนทุนวงจรชีวิต (Life cycle cost – LCC) ที่ไมรวมตนทุนสูญเสีย และ ระดับความพรอมในการเดินเครื่อง (Running


factor – RF) ระดับสมรรถภาพในการเดินเครื่อง (Performance factor – PF) และระดับคุณภาพในการเดินเครื่อง (Quality factor – QF) ของเครื่องจักรสี่เครื่อง (A, B, C และ D)


ที่ทํางานเหมือนกัน เปนตามที่แสดงขางลางนี้
เครื่องจักร LCC (ลานบาท) RF PF QF
A 8 0.60 0.80 0.80
B 9 0.70 0.85 0.93
C 10 0.80 0.90 0.96
D 14 0.90 0.95 0.99
คําตอบ 1 : เครื่องจักร A
คําตอบ 2 : เครื่องจักร B 19 of 118

คําตอบ 3 : เครื่องจักร C
คําตอบ 4 : เครื่องจักร D

ขอที่ : 76
ขอใดเปนเครื่องจักรที่มีตนทุนวงจรชีวิตต่ําสุด หากมูลคาปจจุบันของตนทุนวงจรชีวิต (Life cycle cost – LCC) ที่ไมรวมตนทุนสูญเสีย และ ระดับความพรอมในการเดินเครื่อง
(Running factor – RF) ของเครื่องจักรสี่เครื่อง (A, B, C และ D) ที่ทํางานเหมือนกัน เปนตามที่แสดงขางลางนี้ โดยที่ประมาณไดวากําลังการผลิตของเครื่องจักรเปน 1,000
หนวย/ป ทํารายได 2,000 บาท/หนวย และจะใชเครื่องจักรทําการผลิต 10 ป (Present worth Factor : P/A, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 6.1446)


เครื่องจักร LCC (ลานบาท) RF

่ า
A 8 0.60


B 9 0.70


C 10 0.80

จ ำ
D 14 0.90


คําตอบ 1 : เครื่องจักร A

า้
คําตอบ 2 : เครื่องจักร B

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เครื่องจักร C
คําตอบ 4 : เครื่องจักร D

ขอที่ : 77

ส ิท

ขอใดเปนเครื่องจักรที่มีตนทุนวงจรชีวิตต่ําสุด หากมูลคาปจจุบันของตนทุนวงจรชีวิต (Life cycle cost – LCC) ที่ไมรวมตนทุนสูญเสีย และ ระดับสมรรถภาพในการเดินเครื่อง

ง ว
(Performance factor – PF) ของเครื่องจักรสี่เครื่อง (A, B, C และ D) ที่ทํางานเหมือนกัน เปนตามที่แสดงขางลางนี้ โดยที่ประมาณไดวากําลังการผลิตของเครื่องจักรเปน 1,000


หนวย/ป ทํารายได 2,000 บาท/หนวย และจะใชเครื่องจักรทําการผลิต 10 ป (Present worth Factor : P/A, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 6.1446)


เครื่องจักร LCC (ลานบาท) PF


A 8 0.80

กร
B 9 0.85
C 10 0.90


D 14 0.95
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

าว ศ

เครื่องจักร A
เครื่องจักร B


คําตอบ 3 : เครื่องจักร C

ขอที่ : 78

คําตอบ 4 : เครื่องจักร D

ขอใดเปนเครื่องจักรที่มีตนทุนวงจรชีวิตเทียบเทาต่ําสุด หากมูลคาปจจุบันของตนทุนวงจรชีวิต (Life cycle cost – LCC) ที่ไมรวมตนทุนสูญเสีย และ ระดับคุณภาพในการเดินเครื่อง


(Quality factor – QF) ของเครื่องจักรสี่เครื่อง (A, B, C และ D) ที่ทํางานเหมือนกัน เปนตามที่แสดงขางลางนี้ โดยที่ประมาณไดวากําลังการผลิตของเครื่องจักรเปน 1,000 หนวย/
ป ทํารายได 2,000 บาท/หนวย และจะใชเครื่องจักรทําการผลิต 10 ป (Present worth Factor : P/A, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 6.1446)
20 of 118
เครื่องจักร LCC (ลานบาท) QF
A 8 0.80
B 9 0.93
C 10 0.96
D 14 0.99
คําตอบ 1 : เครื่องจักร A
คําตอบ 2 : เครื่องจักร B
คําตอบ 3 : เครื่องจักร C


คําตอบ 4 : เครื่องจักร D

น่ า

ขอที่ : 79


ขอใดเปนเครื่องจักรที่มีตนทุนวงจรชีวิตเทียบเทาต่ําสุด หากมูลคาปจจุบันของตนทุนวงจรชีวิต (Life cycle cost – LCC) ที่ไมรวมตนทุนสูญเสีย และ ระดับความพรอมในการเดิน


เครื่อง (Running factor – RF) ระดับสมรรถภาพในการเดินเครื่อง (Performance factor – PF) และระดับคุณภาพในการเดินเครื่อง (Quality factor – QF) ของเครื่องจักรสี่เครื่อง


(A, B, C และ D) ที่ทํางานเหมือนกัน เปนตามที่แสดงขางลางนี้ โดยที่ประมาณไดวากําลังการผลิตของเครื่องจักรเปน 1,000 หนวย/ป ทํารายได 2,000 บาท/หนวย และจะใชเครื่อง

า้
จักรทําการผลิต 10 ป (Present worth Factor : P/A, 10%, 10 ป มีคาเทากับ 6.1446)

ิธ์ ห
เครื่องจักร LCC (ลานบาท) RF PF QF
A 8 0.60 0.80 0.80
B 9 0.70 0.85 0.93

ิท
C 10 0.80 0.90 0.96


D 14 0.90 0.95 0.99
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
เครื่องจักร A
เครื่องจักร B

ง ว น

คําตอบ 3 : เครื่องจักร C
คําตอบ 4 : เครื่องจักร D

ขอ
ขอที่ : 80

ว กร


ขอใดที่ไมใชประโยชนของสถิติการชํารุดขัดของ (Failure statistics)

าว
คําตอบ 1 : ใชในการคํานวณหาคา Reliability


คําตอบ 2 : ใชวิเคราะหลักษณะฐานการชํารุดขัดของของเครื่องจักร


คําตอบ 3 : ใชเปรียบเทียบคุณภาพของเครื่องจักรอุปกรณหรือชิ้นสวน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 81
จากขอมูลจํานวนอุปกรณที่ชํารุดขัดของ ที่แสดงในตาราง คาความนาจะเปนในการชํารุดขัดของ (Failure probability) ในปที่ 100-200 จะมีคาเทาใด
ปที่ 1 2 3 4 5 6
จํานวนที่ชํารุด 12 18 40 16 10 4 21 of 118
คําตอบ 1 : 0.18
คําตอบ 2 : 0.30
คําตอบ 3 : 0.70
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 82

่ า ย
จากขอมูลจํานวนอุปกรณที่ชํารุดขัดของ ที่แสดงในตาราง คาความนาจะเปนในการชํารุดขัดของสะสม (Cumulative failure probability) ในชวงเวลา 2 ป จะมีคาเทาใด


ปที่ 1 2 3 4 5 6


จํานวนที่ชํารุด 12 18 40 16 10 4


คําตอบ 1 :


0.18


คําตอบ 2 : 0.30

า้
คําตอบ 3 : 0.70

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 83


จากขอมูลจํานวนอุปกรณที่ชํารุดขัดของ ที่แสดงในตาราง คาความนาจะเปนในการอยูรอด (Survival probability) ในชวงเวลา 2 ป จะมีคาเทาใด


ปที่ 1 2 3 4 5 6


จํานวนที่ชํารุด 12 18 40 16 10 4
คําตอบ 1 : 0.18

ส ง

คําตอบ 2 : 0.30


คําตอบ 3 :

กร
0.70
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด


ิ ว
าว
ขอที่ : 84
ขอใดเปนอัตราการชํารุดขัดของ (Failure rate) ของเครื่องจักร หากในการใชงานเครื่องจักรนี้ 50 เครื่องในชวงเวลา 100 ชั่วโมง มีการชํารุดขัดของเกิดขึ้น 2 ครั้ง


คําตอบ 1 : 0.004 ครั้ง/ชั่วโมง
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ส 0.020 ครั้ง/ชั่วโมง
0.040 ครั้ง/ชั่วโมง
ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 85
ความนาจะเปนในการชํารุดขัดของ (Failure probability) มีการแจกแจงแบบใด 22 of 118

คําตอบ 1 : Hyper-exponential
คําตอบ 2 : Negative exponential
คําตอบ 3 : Normal distribution
คําตอบ 4 : เปนไปไดทั้งสามแบบ

ขอที่ : 86
อัตราการชํารุดขัดของ (Failure rate) จะมีคาคงที่เมื่อความนาจะเปนในการชํารุดขัดของ (Failure probability) มีการแจกแจงแบบใด
คําตอบ 1 : Hyper-exponential

่ า ย

คําตอบ 2 : Negative exponential


คําตอบ 3 : Normal distribution

จ ำ
คําตอบ 4 : เปนไปไดทั้งสามแบบ

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
87
การแจกแจงของความนาจะเปนแบบใดที่สามารถใชอธิบายพฤติกรรมของความนาจะเปนในการชํารุดขัดของ (Failure probability) ไดทุกชวงอายุของเครื่องจักรอุปกรณ
คําตอบ 1 : Hyper-exponential distribution

ิท
คําตอบ 2 : Negative exponential distribution


คําตอบ 3 : Normal distribution

ว น
คําตอบ 4 : Weibull distribution

ส ง

ขอที่ : 88


ขอใดเปนชื่อเรียกเสนโคงที่สามารถใชอธิบายการชํารุดขัดของของเครื่องจักรอุปกรณในทางวิศวกรรมไดเปนอยางดี

กร
คําตอบ 1 : เสนโคงรูประฆัง


คําตอบ 2 : เสนโคงรูปอางน้ํา



คําตอบ 3 : เสนโคงรูปเรือ

าว
คําตอบ 4 : เสนโคงรูปตัวเอส

ขอที่ : 89

ส ภ
ขอใดเปนสถิติการชํารุดขัดของที่ใชพล็อตเสนโคงรูปอางน้ํา
คําตอบ 1 : คาความนาจะเปนในการชํารุดขัดของ (Failure probability)
คําตอบ 2 : คาความนาจะเปนในการชํารุดขัดของสะสม (Cumulative failure probability)
คําตอบ 3 : คาความนาจะเปนในการอยูรอด (Survival probability)
คําตอบ 4 : อัตราการชํารุดขัดของ (Failure rate)
23 of 118
ขอที่ : 90
ขอใดเปนอายุการใชงานสามชวงที่แบงในเสนโคงรูปอางน้ํา
คําตอบ 1 : ชวงเริ่มตน ชวงใชงาน ชวงพัฒนา
คําตอบ 2 : ชวงออกแบบ ชวงผลิต ชวงใชงาน
คําตอบ 3 : ชวงเริ่มงาน ชวงใชงาน ชวงสึกหรอ
คําตอบ 4 : ชวงใชงาน ชวงสึกหรอ ชวงฟนฟู

่ า ย

ขอที่ : 91


ขอใดอาจเปนสาเหตุของการชํารุดขัดของชวงเริ่มงาน

จ ำ
คําตอบ 1 : ขาดการบํารุงรักษา


คําตอบ 2 : ขาดการหลอลื่น

า้
คําตอบ 3 : อุบัติเหตุ

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 92


ขอใดอาจเปนสาเหตุของการชํารุดขัดของชวงใชงาน

ว น
คําตอบ 1 : ขาดการหลอลื่น


คําตอบ 2 : สืบทอดจากสวนอื่น


คําตอบ 3 : อุบัติเหตุ


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

กร ข

ขอที่ : 93



ขอใดที่มักเปนสาเหตุของการชํารุดขัดของชวงใชงาน

าว
คําตอบ 1 : การออกแบบเครื่องจักรไมเหมาะสม


คําตอบ 2 : การติดตั้งเครื่องจักรบกพรอง


คําตอบ 3 : การใชงานผิดวิธี
คําตอบ 4 : การเสื่อมสภาพของวัสดุตามธรรมชาติ

ขอที่ : 94
ขอใดที่มักเปนสาเหตุของการชํารุดขัดของชวงสึกหรอ
คําตอบ 1 : การออกแบบเครื่องจักรไมเหมาะสม
24 of 118
คําตอบ 2 : การติดตั้งเครื่องจักรบกพรอง
คําตอบ 3 : การใชงานผิดวิธี
คําตอบ 4 : การเสื่อมสภาพของวัสดุตามธรรมชาติ

ขอที่ : 95
ชวงใดที่มักมีระยะเวลาที่ยาวนานที่สุดของเครื่องจักร
คําตอบ 1 : ชวงเริ่มงาน
คําตอบ 2 : ชวงใชงาน

่ า ย

คําตอบ 3 : ชวงสึกหรอ


คําตอบ 4 : เทากันทุกชวง

จ ำ

ขอที่ :

า้
96
เวบูลลพารามิเตอรที่สามารถชี้บงลักษณะฐานการชํารุดขัดของของเครื่องจักรอุปกรณไดเปนอยางดี คือ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : พารามิเตอรรูปทรง (Shape parameter)
คําตอบ 2 : พารามิเตอรขนาด (Scale parameter)

ิท
คําตอบ 3 : พารามิเตอรตําแหนง (Location parameter)


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

ง ว น

97


ชวงใดที่การชํารุดของเครื่องจักรที่เมื่อวิเคราะหดวยฟงชั่นเวบูลลแลวคาพารามิเตอรรูปทรงมีคานอยกวา 1


คําตอบ 1 : ชวงเริ่มงาน

กร
คําตอบ 2 : ชวงใชงาน


คําตอบ 3 : ชวงสึกหรอ



คําตอบ 4 : ทุกๆ ชวง

ขอที่ : 98

ภ าว

ชวงใดที่การชํารุดของเครื่องจักรที่เมื่อวิเคราะหดวยฟงชั่นเวบูลลแลวคาพารามิเตอรรูปทรงทางทฤษฎีมีคาเทากับ 1
คําตอบ 1 : ชวงเริ่มงาน
คําตอบ 2 : ชวงใชงาน
คําตอบ 3 : ชวงสึกหรอ
คําตอบ 4 : ทุกๆ ชวง

25 of 118
ขอที่ : 99
ชวงใดที่การชํารุดของเครื่องจักรที่เมื่อวิเคราะหดวยฟงกชั่นเวบูลลแลวคาพารามิเตอรรูปทรงมีคามากกวา 1
คําตอบ 1 : ชวงเริ่มงาน
คําตอบ 2 : ชวงใชงาน
คําตอบ 3 : ชวงสึกหรอ
คําตอบ 4 : ทุกๆ ชวง

่ า ย
ขอที่ : 100


ขอใดเปนความนาจะเปนของการชํารุดขัดของสะสมถึงอายุ 572 ชั่วโมง ที่จะใชพล็อตกราฟเวบูลลแบบลําดับมัชฌิม (Mean ranking) หากขอมูลอายุการชํารุดขัดของเปนดังนี้ 250,


346, 412, 572, 612, 716, 896 (หนวย : ชั่วโมง)


คําตอบ 1 :


42.86 %


คําตอบ 2 : 50.00 %

า้
คําตอบ 3 : 62.50 %

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 101


ขอใดเปนความนาจะเปนของการชํารุดขัดของสะสมถึงอายุ 572 ชั่วโมง ที่จะใชพล็อตกราฟเวบูลลแบบลําดับมัชฌิม (Mean ranking) หากขอมูลอายุการชํารุดขัดของเปนดังนี้ 250,


346, 412, 572, 612, 716, 896 (หนวย : ชั่วโมง)

ง ว
คําตอบ 1 : 42.86 %


คําตอบ 2 : 50.00 %


คําตอบ 3 : 62.50 %


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

ว กร


102

าว
ขอใดเปนความนาจะเปนของการชํารุดขัดของสะสมถึงอายุ 596 ชั่วโมง ที่จะใชพล็อตกราฟเวบูลลแบบลําดับมัธยฐาน (Median ranking) หากขอมูลอายุการชํารุดขัดของเปนดังนี้
316, 446, 596, 650, 714, 872, 912 (หนวย : ชั่วโมง)


คําตอบ 1 :


22.97 %
คําตอบ 2 : 33.33 %
คําตอบ 3 : 36.49 %
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 103
ขอใดเปนความนาจะเปนของการชํารุดขัดของสะสมถึงอายุ 212 ชั่วโมง ที่จะใชพล็อตกราฟเวบูลลแบบลําดับมัชฌิม (Mean ranking) หากขอมูลอายุการชํารุดขัด ของเปนดังนี้ 250,
26 of 118
146, 412, 372, 212, 316, 196 (หนวย : ชั่วโมง)
คําตอบ 1 : 37.50 %
คําตอบ 2 : 42.86 %
คําตอบ 3 : 62.50 %
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 104

่ า ย
ขอใดเปนความนาจะเปนของการชํารุดขัดของสะสมถึงอายุ 196 ชั่วโมง ที่จะใชพล็อตกราฟเวบูลลแบบลําดับมัธยฐาน (Median ranking) หากขอมูลอายุการชํารุดขัดของเปนดังนี้


316, 146, 196, 250, 412, 372, 212 (หนวย : ชั่วโมง)


คําตอบ 1 : 22.97 %


คําตอบ 2 :


33.33 %


คําตอบ 3 : 36.49 %

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 105
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนอายุการใชงานของอุปกรณที่การแจกแจงความนาจะเปนของการชํารุดขัดของ (Failure probability density function) เปนแบบปกติ (Normal distribution) ที่ทําใหมี


ความนาจะเปนในการชํารุดขัดของสะสมเปน 0.95 หากอุปกรณนี้มีอายุการใชงานเฉลี่ย 520 ชั่วโมง โดยมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 40 ชั่วโมง


คําตอบ 1 : 580.40 ชั่วโมง

ง ว
คําตอบ 2 : 585.80 ชั่วโมง


คําตอบ 3 : 600.00 ชั่วโมง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 106

กร ข

ขอใดเปนอายุการใชงานของอุปกรณที่การแจกแจงความนาจะเปนของการชํารุดขัดของ (Failure probability density function) เปนแบบปกติ (Normal distribution) ที่ทําใหมี

าว ศ

คาความนาวางใจ (Reliability) เปน 0.95 หากอุปกรณนี้มีอายุการใชงานเฉลี่ย 520 ชั่วโมง โดยมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 40 ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 454.20 ชั่วโมง


คําตอบ 2 : 542.34 ชั่วโมง


คําตอบ 3 : 585.80 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 107
ขอใดเปนอัตราการชํารุดขัดของของอุปกรณที่นํามาทดสอบการใชงานจํานวน 10 ชิ้น ในชวงระยะเวลา 100 ชั่วโมง และปรากฏมีการชํารุด 2 ชิ้น ที่ชั่วโมงทดสอบที่ 12 และ 21 ตาม
ลําดับ
27 of 118
คําตอบ 1 : 0.0020 ครั้งตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : 0.0024 ครั้งตอชั่วโมง
คําตอบ 3 : 0.0025 ครั้งตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 108
ขอใดเปนอัตราการชํารุดขัดของของเครื่องจักรที่ผูผลิตขายในชวงสามเดือนแรกได 24, 36 และ 50 เครื่องตามลําดับ โดยมีเหตุขัดของในชวงนี้ 4 ครั้ง
คําตอบ 1 : 0.121 ครั้งตอเดือน

่ า ย

คําตอบ 2 : 0.0288 ครั้งตอเดือน


คําตอบ 3 : 0.0364 ครั้งตอเดือน

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
109
ขอใดเปนความนาวางใจ (Reliability) ในชวงการใชงาน 2,000 ชั่วโมง ของอุปกรณที่มีการแจกแจงของการชํารุดขัดของแบบ Negative exponential หากอัตราการชํารุดขัดของคง
ที่ที่ระดับ 0.0001 ครั้งตอชั่วโมง

ิท
คําตอบ 1 : 0.8187


คําตอบ 2 : 0.9048


คําตอบ 3 :


0.9512


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

อ ส

ขอที่ : 110

กร
ขอใดเปนความนาจะเปนของการชํารุดขัดของสะสม (Cumulative failure probability) ถึงอายุการใชงาน 4,000 ชั่วโมง ของอุปกรณที่มีการแจกแจงของการชํารุดขัดของแบบ
Negative exponential หากอัตราการชํารุดขัดของคงที่ที่ระดับ 0.0001 ครั้งตอชั่วโมง
คําตอบ 1 : 0.2592


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 0.3297
คําตอบ 3 :


0.9932


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 111
ขอใดเปนความนาจะเปนของการชํารุดขัดของ (Failure probability) ในชวงการใชงาน 1,000 -2,000 ชั่วโมง ของอุปกรณที่มีการแจกแจงของการชํารุดขัดของแบบ Negative
exponential หากอัตราการชํารุดขัดของคงที่ที่ระดับ 0.0001 ครั้งตอชั่วโมง
คําตอบ 1 : 0.0861
คําตอบ 2 : 0.0952 28 of 118
คําตอบ 3 : 0.1813
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 112
ขอใดเปนความนาจะเปนตนทุนที่คาดหมายของการชํารุดขัดของ ของอุปกรณที่มีการแจกแจงของการชํารุดขัดของแบบ Negative exponential หากอัตราการชํารุดขัดของคงที่ที่
ระดับ 0.0001 ครั้งตอชั่วโมง ในชวงการใชงาน 2,000 ชั่วโมง หากการชํารุดขัดของแตละครั้งมีตนทุน 100,000 บาท
คําตอบ 1 : 8,610 บาท

่ า ย
คําตอบ 2 : 9,520 บาท


คําตอบ 3 : 18,130 บาท


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

จ ำ

ขอที่ : 113

า้
ขอใดเปนการจัดขอมูลเวลาใชงานกอนการชํารุดขัดของและความนาจะเปนสะสมในการชํารุดขัดของที่ถูกตอง

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : F10 = 1,300 F50 = 670 F90 = 3,440
คําตอบ 2 : F10 = 3,440 F50 = 1,300 F90 = 670

ิท
คําตอบ 3 : F10 = 3,400 F50 = 670 F90 = 1,300


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 114

ง ว น

ขอใดเปนความนาจะเปนของการชํารุดขัดของสะสมของขอมูลลําดับที่ 4 ที่เรียงจากมากไปหานอย ที่จะใชพล็อตกราฟเวบูลลแบบลําดับมัชฌิม (Mean ranking) หากมีขอมูลอายุการ


ชํารุดขัดของ 9 ตัว
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
40.00 %

กร ข

50.00 %



คําตอบ 3 : 60.00 %

าว
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 115

ส ภ
ขอใดเปนความนาจะเปนของการชํารุดขัดของสะสมของขอมูลลําดับที่ 4 ที่เรียงจากนอยไปหามาก ที่จะใชพล็อตกราฟเวบูลลแบบลําดับมัธยฐาน (Median ranking) หากมีขอมูลอายุ
การชํารุดขัดของ 9 ตัว
คําตอบ 1 : 28.72 %
คําตอบ 2 : 39.36 %
คําตอบ 3 : 50.00 %
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด 29 of 118
ขอที่ : 116
ขอใดเปนอัตราการชํารุดขัดของ (Failure rate) ในปที่สอง หากความนาจะเปนในการชํารุดของ (Failure probability) ในสองปแรกเปน 0.10 และ 0.14 ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 0.1200
คําตอบ 2 : 0.1333
คําตอบ 3 : 0.1556
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย

ขอที่ : 117


ขอใดเปนความนาจะเปนในการอยูรอด (Survival probability) ในชวงสองป หากความนาจะเปนในการชํารุดของ (Failure probability) ในสองปแรกเปน 0.10 และ 0.14 ตาม


ลําดับ

มจ
คําตอบ 1 : 0.90

า้
คําตอบ 2 : 0.86

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 0.76
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 118

ส ิท

ขอใดเปนคาประมาณอายุต่ําสุด (Minimum life) ที่ดี หากเวบูลลกราฟเปนเสนโคงและมีอายุที่คาความนาจะเปนสะสมจุดหลักดังนี้ F10 = 670, F50 = 1,300, F90 = 3,440


(หนวย : ชั่วโมง)
คําตอบ 1 : 100 ชั่วโมง

ส ง

คําตอบ 2 : 200 ชั่วโมง


คําตอบ 3 : 300 ชั่วโมง

กร
คําตอบ 4 : 400 ชั่วโมง


ิ ว
าว
ขอที่ : 119
โรงงานแหงหนึ่งทํางาน 8 ชั่วโมง/วัน ใน 1 สัปดาหทํางาน 5 วัน จากการศึกษาสภาพการทํางานของเครื่องฉีดพลาสติกในโรงงาน พบวาสามารถผลิตชิ้นงานไดประมาณ 535 ชิ้น/วัน


และเครื่องจักรเกิดเหตุขัดของ (down time) โดยเฉลี่ยเปน 3 ชั่วโมง/สัปดาห และรอบเวลาที่ใชในการผลิตเปน 0.68 นาที/ชิ้น จงคํานวณหาเปอรเซ็นตสภาพความพรอมของการใช


งาน (Availability) ของเครื่องจักร
คําตอบ 1 : 87.4%
คําตอบ 2 : 92.5%
คําตอบ 3 : 79.7%
คําตอบ 4 : 95.5%

30 of 118
ขอที่ : 120
Reliability ของเครื่องจักรหมายถึง
คําตอบ 1 : อัตราการชํารุดขัดของของเครื่องจักร
คําตอบ 2 : โอกาสที่เครื่องจักรจะเสีย
คําตอบ 3 : ความนาจะเปนที่เครื่องจักรจะเสีย
คําตอบ 4 : ความนาจะเปนที่เครื่องจักรจะทํางาน

่ า ย
ขอที่ : 121


ตัวเลขใดตอไปนี้อาจเปนคา Reliability ของเครื่องจักรได


คําตอบ 1 : 0.6548

จ ำ
คําตอบ 2 : 1.2451


คําตอบ 3 : 2.4218

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 122
ิธ์ ห
ิท
ตัวเลขใดตอไปนี้ไมอาจเปนคา Reliability ของเครื่องจักรได


คําตอบ 1 : 0.2451

ว น
คําตอบ 2 : 0.4218


คําตอบ 3 : 0.6548


คําตอบ 4 : 1.0586

ขอ
กร
ขอที่ : 123


อัตราการชํารุดขัดของกับอายุการใชงานเฉลี่ย มีความสัมพันธแบบใด



คําตอบ 1 : เสนตรง

าว
คําตอบ 2 : ผกผัน


คําตอบ 3 : ยกกําลัง


คําตอบ 4 : ไมมีความสัมพันธกันเลย

ขอที่ : 124
Mean Time Between Failures (MTBF) ของเครื่องจักรเครื่องหนึ่งเปน 2,000 ชั่วโมงตอครั้ง อัตราการชํารุดขัดของ (Failure rate) ของเครื่องจักรเครื่องนี้ จะมีคาเทากับเทาใด
คําตอบ 1 : 0.001 ครั้งตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : 0.002 ครั้งตอชั่วโมง
31 of 118
คําตอบ 3 : 0.005 ครั้งตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 125
หากอัตราการชํารุดขัดของ (Failure rate) ของเครื่องจักรเครื่องหนึ่งเปน 0.002 ครั้งตอชั่วโมง Mean Time Between Failures ( MTBF) ของเครื่องจักรเครื่องนี้ จะมีคาเทากับ
เทาใด
คําตอบ 1 : 1,000 ชั่วโมงตอครั้ง

่ า ย
คําตอบ 2 : 2,000 ชั่วโมงตอครั้ง


คําตอบ 3 : 5,000 ชั่วโมงตอครั้ง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

จ ำ

ขอที่ : 126

า้
อัตราการชํารุดขัดของ กับ Reliability มีความสัมพันธกันแบบใด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เสนตรง
คําตอบ 2 : ผกผัน

ิท
คําตอบ 3 : ยกกําลัง


คําตอบ 4 : ไมมีความสัมพันธกันเลย

ขอที่ : 127

ง ว น

ขอใดที่มีคาคงที่ในชวงอายุใชงานเครื่องจักร
คําตอบ 1 : อัตราการชํารุดขัดของ

ขอ
กร
คําตอบ 2 : Reliability


คําตอบ 3 : Maintainability



คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 128

ภ าว

Reliability กับ Maintainability มีความสัมพันธทางคณิตศาสตรกันแบบใด
คําตอบ 1 : เสนตรง
คําตอบ 2 : ผกผัน
คําตอบ 3 : ยกกําลัง
คําตอบ 4 : ไมมีความสัมพันธกันเลย

32 of 118
ขอที่ : 129
เครื่องจักรที่มี Maintainability ดีหมายถึงขอใด
คําตอบ 1 : เครื่องจักรที่ ใชงานไดดีไมคอยชํารุดขัดของ
คําตอบ 2 : เครื่องจักรที่ใชเวลาในการซอมบํารุงนอย
คําตอบ 3 : เครื่องจักรที่มีสัดสวนของเวลาที่ใชงานไดสูง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย
ขอที่ : 130


ตัวชี้วัดคา Maintainability ที่ดีคือขอใด


คําตอบ 1 : มัชฌิมเวลาในการซอมบํารุง (Mean time to repair – MTTR)

จ ำ
คําตอบ 2 : มัชฌิมเวลาระหวางการชํารุด (Mean time between failures - MTBF)


คําตอบ 3 : ไดทั้ง MTTR และ MTBF

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 131
ิธ์ ห
ิท
ตัวชี้วัดคา Reliability ไดคือขอใด


คําตอบ 1 : มัชฌิมเวลาในการซอมบํารุง (Mean time to repair – MTTR)

ว น
คําตอบ 2 : มัชฌิมเวลาระหวางการชํารุด (Mean time between failures - MTBF)


คําตอบ 3 : ไดทั้ง MTTR และ MTBF


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอ
กร
ขอที่ : 132


เครื่องจักรที่มี Availability ดี หมายถึงขอใด



คําตอบ 1 : เครื่องจักรที่ใชงานไดดีไมคอยชํารุดขัดของ

าว
คําตอบ 2 : เครื่องจักรที่ใชเวลาในการซอมบํารุงนอย


คําตอบ 3 : เครื่องจักรที่มีสัดสวนของเวลาที่ใชงานไดสูง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 133
เครื่องจักรที่ทุกชิ้นสวนตองทํางานรวมกันเครื่องจักรจึงจะทํางานได เมื่อมีชิ้นสวนมากชิ้นมักจะมีผลกับคา Reliability ในลักษณะใด
คําตอบ 1 : Reliability ของเครื่องจักรลดลง
คําตอบ 2 : Reliability ของเครื่องจักรเทาเดิม
33 of 118
คําตอบ 3 : Reliability ของเครื่องจักรเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 : ไมแนนอน

ขอที่ : 134
การมีตัวเสริม หรือตัวขนาน (Redundant) มีผลกับคา Reliability ในลักษณะใด
คําตอบ 1 : Reliability ของเครื่องจักรลดลง
คําตอบ 2 : Reliability ของเครื่องจักรเทาเดิม
คําตอบ 3 : Reliability ของเครื่องจักรเพิ่มขึ้น

่ า ย

คําตอบ 4 : ไมแนนอน

ขอที่ : 135

จ ำ ห

สายการผลิตที่มีเครื่องจักรตอเนื่องกันสามเครื่อง หากเครื่องใดเครื่องหนึ่งหยุดสายการผลิตก็ตองหยุด หาก Reliability ของเครื่องจักรแตละเครื่องในชวงเวลาหนึ่งเปน 0.9

า้
Reliability ของสายการผลิตในชวงเวลานี้มีคาเทาใด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.729
คําตอบ 2 : 0.999

ิท
คําตอบ 3 : 2.700


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 136

ง ว น

โรงงานมีเครื่องจักรสามเครื่อง หากเพียงเครื่องใดเครื่องหนึ่งทํางานก็พอเพียงสําหรับการผลิต หาก Reliability ของเครื่องจักรแตละเครื่องในชวงเวลาหนึ่งเปน 0.9 Reliability ของ


การผลิตของโรงงานในชวงเวลานี้ เปนเทาใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
0.729

กร ข

0.999



คําตอบ 3 : 2.700

าว
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 137

ส ภ
วิธีการที่จะใชปรับปรุงคา Reliability ของเครื่องจักรใหดีขึ้นไดคือขอใด
คําตอบ 1 : ลดชิ้นสวนที่ไมจําเปน หรือมีประโยชนนอยลง
คําตอบ 2 : ใชชิ้นสวนที่เปนมาตรฐานเดียวกัน
คําตอบ 3 : ลดเวลาคอยในงานซอมใหนอยลง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก
34 of 118

ขอที่ : 138
สายการผลิตที่มีเครื่องจักรตอเนื่องกันสองเครื่อง หากเครื่องใดเครื่องหนึ่งหยุดสายการผลิตก็ตองหยุด หาก Reliability ของเครื่องจักรแตละเครื่องในชวงเวลาหนึ่งเปน 0.92 และ
0.80 Reliability ของสายการผลิตในชวงเวลานี้คือ
คําตอบ 1 : 0.928
คําตอบ 2 : 0.892
คําตอบ 3 : 0.736
คําตอบ 4 : 1.720

่ า ย

ขอที่ : 139


โรงงานมีเครื่องจักรสองเครื่อง หากเพียงเครื่องใดเครื่องหนึ่งทํางานก็พอเพียงสําหรับการผลิต หาก Reliability ของเครื่องจักรแตละเครื่องในชวงเวลาหนึ่งเปน 0.95 และ 0.90


Reliability ของการผลิตของโรงงานในชวงเวลานี้ คือเทาใด


คําตอบ 1 :


0.855

า้
คําตอบ 2 : 0.995

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 1.850
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 140

ส ิท

วิธีการที่จะใชปรับปรุงคา Maintainability ของเครื่องจักรใหดีขึ้นไดคือขอใด

ง ว
คําตอบ 1 : ลดชิ้นสวนที่ไมจําเปน หรือมีประโยชนนอย


คําตอบ 2 : ใชชิ้นสวนที่เปนมาตรฐานเดียวกัน


คําตอบ 3 : ลดเวลาคอยในงานซอมใหนอยลง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ :

ว กร


141

าว
วิธีการที่จะใชปรับปรุงคา Availability ของเครื่องจักรใหดีขึ้นไดคือ
คําตอบ 1 : ลดชิ้นสวนที่ไมจําเปน หรือมีประโยชนนอยลง

ส ภ
คําตอบ 2 : ใชชิ้นสวนที่เปนมาตรฐานเดียวกัน
คําตอบ 3 : ลดเวลาคอยในงานซอมใหนอยลง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 142
ขอใดตอไปนี้สามารถใชเปนหนวยวัดของ Mean time between failures (MTBF) ได
คําตอบ 1 : ชั่วโมงตอครั้ง 35 of 118

คําตอบ 2 : กิโลเมตรตอครั้ง
คําตอบ 3 : รอบตอครั้ง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 143
ขอใดใชเปนหนวยวัดของอัตราการชํารุดขัดของ (Failure rate) ได
คําตอบ 1 : ครั้งตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : ครั้งตอกิโลเมตร

่ า ย

คําตอบ 3 : ครั้งตอรอบ


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

จ ำ

ขอที่ :

า้
144
สถิติระบุวาเครื่องจักรเครื่องหนึ่งมีคา Mean time between failures (MTBF) เปน 500 ชั่วโมงตอครั้ง Mean time to repair(MTTR) เปน 10 ชั่วโมงตอครั้ง ระดับความพรอม

ิธ์ ห
(Availability - A) ของเครื่องจักรนี้คือ
คําตอบ 1 : 98.04 %

ิท
คําตอบ 2 : 98.00 %


คําตอบ 3 : 90.00 %


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ง ว

ขอที่ :


145


วิศวกรซอมบํารุงรับชิ้นสวนเครื่องจักร 10 ชิ้นมาทดสอบการใชงานระยะเวลา 120 ชั่วโมง มี 2 ชิ้นที่ขัดของในชั่วโมงที่ 80 และ 90 อัตราการชํารุดขัดของ (Failure rate) ของชิ้นสวน

กร
นี้โดยประมาณ คือเทาใด
คําตอบ 1 : 0.01667 ครั้ง / ชั่วโมง
คําตอบ 2 :


ิ ว
0.01176 ครั้ง / ชั่วโมง

าว
คําตอบ 3 : 0.00177 ครั้ง / ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 0.00167 ครั้ง / ชั่วโมง

ขอที่ : 146
ส ภ
จงประมาณอัตราการชํารุดขัดของ (Failure rate) ของผลิตภัณฑที่มีรายงานยอดขายในสองเดือนแรกเปน 100 และ 200 ชุดตามลําดับโดยมีจํานวนที่มีการชํารุดขัดของรวมกันจํานวน
5 ชุด
คําตอบ 1 : 0.01667 ครั้ง / เดือน
คําตอบ 2 : 0.02000 ครั้ง / เดือน
คําตอบ 3 : 0.01250 ครั้ง / เดือน 36 of 118
คําตอบ 4 : 0.00833 ครั้ง / เดือน
ขอที่ : 147
คา Reliability ของเครื่องจักรที่มีอัตราการชํารุดขัดของคงที่ 0.0001 ครั้งตอชั่วโมง ในชวงเวลาการใชงาน 5,000 ชั่วโมง คือ
คําตอบ 1 : 0.6065
คําตอบ 2 : 0.8413
คําตอบ 3 : 0.9512


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

น่ า

ขอที่ : 148


จงประมาณคา Reliability ในชวงระยะเวลารับประกันหนึ่งปของผลิตภัณฑที่มีรายงานยอดขายในสองเดือนแรกเปน 100 และ 200 ชุดตามลําดับโดยมีจํานวนที่มีการชํารุดขัดของรวม


กันจํานวน 5 ชุด
คําตอบ 1 : 0.7866

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 0.8187
คําตอบ 3 : 0.9802
คําตอบ 4 :

ิท
0.9835

ขอที่ : 149

นส
ง ว
โรงงานมีหมอไอน้ําสามลูกแตโดยปกติสองลูกก็พอเพียงกับการใชงาน หากระดับ Reliability ในชวงการใชงานชวงหนึ่งของหมอไอน้ําแตละลูกเปน 0.9 ระดับ Reliability ของหมอ


ไอน้ําทั้งชุดในชวงเวลานี้คือ


คําตอบ 1 : 0.7290


คําตอบ 2 :

กร
0.8100
คําตอบ 3 : 0.9720


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 150

าว ศ


เครื่องจักร 2 เครื่อง (M1, M2) มีคา Mean time between failures (MTBF) และ Mean time to repair (MTTR) เปนตามที่แสดงไวในตาราง ระดับความพรอม (Availability)


ของเครื่องจักรสองเครื่องนี้เครื่องใดดีกวากัน
เครื่องจักร MTBF (ชั่วโมง/ครั้ง) MTTR (ชั่วโมง/ครั้ง)
M1 100 2
M2 400 10
คําตอบ 1 : M1 ดีกวา M2
คําตอบ 2 : M2 ดีกวา M1
คําตอบ 3 : เทากัน 37 of 118
คําตอบ 4 : ไมสามารถสรุปไดจากขอมูลเทาที่มี
ขอที่ : 151
เครื่องจักรมีอุปกรณสําคัญอยู 2 รายการ หากคา Mean time between failures (MTBF) และ Mean time to repair (MTTR) เปนตามที่แสดงไวในตาราง จะระบุระดับความพรอม
(Availability) ของเครื่องจักรนี้
Part MTBF (ชั่วโมง/ครั้ง) MTTR (ชั่วโมง/ครั้ง)
P1 100 5
P2 400 10
คําตอบ 1 : 97.50 %

่ า ย

คําตอบ 2 : 95.00 %


คําตอบ 3 : 93.02 %

จ ำ
คําตอบ 4 : 92.92 %

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
152
เครื่องจักรที่ประกอบดวยชิ้นสวนหลัก 2 รายการ (P1, P2) มีจํานวนและอัตราการชํารุดในหนึ่งลานชั่วโมง จะมีอัตราการชํารุดขัดของเทาใด
Part จํานวน อัตราการชํารุดในหนึ่งลานชั่วโมง

ิท
P1 2 300


P2 1 400


คําตอบ 1 : 0.001 ครั้ง/ชั่วโมง

ง ว
คําตอบ 2 : 0.003 ครั้ง/ชั่วโมง


คําตอบ 3 : 0.004 ครั้ง/ชั่วโมง


คําตอบ 4 : 0.007 ครั้ง/ชั่วโมง

ขอที่ : 153

กร ข

คา Reliability ในชวงเวลาการใชงาน 100 ชั่วโมง ของเครื่องจักรซึ่งประกอบดวยชิ้นสวนหลักสองรายการ (P1 และ P2) ที่มีจํานวนและอัตราการชํารุดขัดของดังแสดงในตาราง คือ

าว ศ

เทาใด
Part จํานวน (ชิ้น) อัตราการชํารุดขัดของ (ครั้ง/ชั่วโมง)


P1 2 0.0002


P2 4 0.0001
คําตอบ 1 : 0.4493
คําตอบ 2 : 0.9083
คําตอบ 3 : 0.9321
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

38 of 118
ขอที่ : 154
คา Reliability ในชวงเวลาการใชงาน 100 ชั่วโมง ของเครื่องจักรซึ่งประกอบดวยชิ้นสวนหลักสองรายการ (P1 และ P2) ที่มีจํานวนและคา Mean time between failures (MTBF)
ดังแสดงในตาราง และมีอัตราการชํารุดขัดของคงที่ คือ เทาใด
Part จํานวน (ชิ้น) MTBF (ชั่วโมง/ครั้ง)
P1 2 2,000
P2 4 8,000
คําตอบ 1 : 0.8607
คําตอบ 2 : 0.9512


คําตอบ 3 : 0.9851

่ า
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

หน

ขอที่ : 155


เครื่องจักรมีอุปกรณสําคัญอยู 2 รายการ (P1 และ P2) หากจํานวนและ Mean time to repair (MTTR) ของชิ้นสวนเปนตามที่แสดงไวในตาราง MTTR ของเครื่องจักรนี้ คือ เทาใด


จํานวน (ชิ้น) อัตราการชํารุด (ครั้ง/ชั่วโมง) MTTR (ชั่วโมง/ครั้ง)

า้
Part
P1 1 0.002 5

ิธ์ ห
P2 1 0.001 10
คําตอบ 1 : 6.67 ชั่วโมง / ครั้ง

ิท
คําตอบ 2 : 7.50 ชั่วโมง / ครั้ง


คําตอบ 3 : 8.42 ชั่วโมง / ครั้ง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ง ว

ขอที่ :


156


เครื่องจักรมีอุปกรณสําคัญอยู 2 รายการ (P1 และ P2) หากจํานวนและ Mean time to repair (MTTR) ของชิ้นสวนเปนตามที่แสดงไวในตาราง MTTR ของเครื่องจักรนี้คือเทาใด

กร
Part จํานวน อัตราการชํารุด (ครั้ง/ชั่วโมง) MTTR (ชั่วโมง/ครั้ง)
P1 2 0.003 4


P2 4 0.001 8

าว ศ

คําตอบ 1 : 4.8 ชั่วโมง / ครั้ง
คําตอบ 2 : 5.6 ชั่วโมง / ครั้ง


คําตอบ 3 : 6.2 ชั่วโมง / ครั้ง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 157
เครื่องจักรที่ประกอบดวยชิ้นสวนหลัก 2 รายการ (P1, P2) มีจํานวนและอัตราการชํารุดในหนึ่งลานชั่วโมง (r) และคา Mean time to repair (MTTR) เปนตามที่แสดงไวในตาราง จง
ระบุระดับความพรอม (Availability) ของเครื่องจักรนี้
Part จํานวน r (ครั้งในหนึ่งลานชั่วโมง) MTTR (ชั่วโมง/ครั้ง)
A 2 300 5 39 of 118

B 1 400 10
คําตอบ 1 : 99.20 %
คําตอบ 2 : 99.25 %
คําตอบ 3 : 99.30 %
คําตอบ 4 : 99.40 %

ขอที่ : 158

่ า ย
หน
จ ำ

จงประมาณคา Reliability ของเครื่องจักรที่เขียนแผนภาพกลองไดดังแสดง

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.504
คําตอบ 2 : 0.872
คําตอบ 3 : 0.916

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

นส

ขอที่ : 159

ส ง
ขอ
ว กร
จงประมาณคา Reliability ของเครื่องจักรที่เขียนแผนภาพกลองไดดังแสดง
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
0.1624

าว ศ


0.8376


คําตอบ 3 : 0.9160
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 160

40 of 118
จงประมาณคา Reliability ของเครื่องจักรที่เขียนแผนภาพกลองไดดังแสดง


คําตอบ 1 : 0.8376

่ า
คําตอบ 2 : 0.8720


คําตอบ 3 : 0.8924


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

จ ำ

ขอที่ :

า้
161

ิธ์ ห
ส ิท

จงประมาณคา Reliability ของเครื่องจักรที่เขียนแผนภาพกลองไดดังแสดง


คําตอบ 1 :


0.8376


คําตอบ 2 : 0.8700


คําตอบ 3 : 1.6800


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 162

ว กร
าว ศ

ขอใดเปนวิธีที่เหมาะสมที่จะใชตรวจการเสียสมดุลของเครื่องจักร
คําตอบ 1 : การวิเคราะหการสั่นสะเทือน


คําตอบ 2 : การวัดอุณหภูมิและภาพฉาย


คําตอบ 3 : การวิเคราะหน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 4 : การตรวจสอบดวยเครื่องอุลตราโซนิก

ขอที่ : 163
ขอใดเปนวิธีการตรวจสอบการแตกหักของเฟองเกียรในกลองที่ดี
คําตอบ 1 : การวิเคราะหการสั่นสะเทือน 41 of 118
คําตอบ 2 : การวัดอุณหภูมิและภาพฉาย
คําตอบ 3 : การวิเคราะหน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 4 : การตรวจสอบดวยเครื่องอุลตราโซนิก

ขอที่ : 164
ขอใดเปนวิธีที่ดีที่สุดในการตรวจสอบการสึกหรอภายในเครื่องจักร
คําตอบ 1 : การวิเคราะหการสั่นสะเทือน
คําตอบ 2 : การวัดอุณหภูมิและภาพฉาย

่ า ย

คําตอบ 3 : การวิเคราะหน้ํามันหลอลื่น


คําตอบ 4 : การตรวจสอบดวยเครื่องอุลตราโซนิก

จ ำ

ขอที่ :

า้
165
ขอใดเปนเปนวิธีที่ดีที่สุดสําหรับการตรวจสอบการทํางานเกินกําลังของเครื่องจักร

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การวิเคราะหการสั่นสะเทือน
คําตอบ 2 : การวัดอุณหภูมิและภาพฉาย

ิท
คําตอบ 3 : การวิเคราะหน้ํามันหลอลื่น


คําตอบ 4 : การตรวจสอบดวยเครื่องอุลตราโซนิก

ขอที่ :

ง ว น

166


ขอใดเปนอุปกรณที่สามารถตรวจสอบสภาพดวย Shock pulse measurement ไดเปนอยางดี


คําตอบ 1 : คลัปปลิ้ง

กร
คําตอบ 2 : ตลับลูกปน


คําตอบ 3 : หมอไอน้ํา



คําตอบ 4 : เฟองเกียร

ขอที่ : 167

ภ าว

ขอใดเปนเครื่องมือที่สามารถใชในการตรวจจับรอยรั่วของทอ วาลว และตัวดักไอน้ําไดดี
คําตอบ 1 : Barometer
คําตอบ 2 : Steam regulator
คําตอบ 3 : Tachometer
คําตอบ 4 : Ultrasonic

42 of 118
ขอที่ : 168
ขอใดเปนระดับความถี่ที่ใชเครื่องอุลตราโซนิกในการวัด
คําตอบ 1 : เกิน 10,000 Hertz
คําตอบ 2 : เกิน 20,000 Hertz
คําตอบ 3 : เกิน 30,000 Hertz
คําตอบ 4 : เกิน 40,000 Hertz

่ า ย
ขอที่ : 169


ขอใดเปนเครื่องมือที่ใชในการวัดความเร็วรอบของเครื่องจักรที่หมุนได


คําตอบ 1 : Stereoscope

จ ำ
คําตอบ 2 : Stethoscope


คําตอบ 3 : Stroboscope

า้
คําตอบ 4 : Tachometer

ขอที่ : 170
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนเครื่องมือที่ชวยใหฟงเสียงของเครื่องจักรขณะทํางานไดชัดเจนขึ้น


คําตอบ 1 : Stereoscope

ว น
คําตอบ 2 : Stethoscope


คําตอบ 3 : Stroboscope


คําตอบ 4 : Tachometer

ขอ
กร
ขอที่ : 171


ขอใดที่ขนาดถือวาเปน Amplitude ของการสั่นสะเทือน



คําตอบ 1 : ระยะเคลื่อนที่ (Displacement)

าว
คําตอบ 2 : ความเร็ว (Velocity)


คําตอบ 3 : ความเรง (Acceleration)


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 172
ขอใดเปนรูปแบบขอมูลที่นิยมใชในการวิเคราะหการสั่นสะเทือน
คําตอบ 1 : Frequency domain
คําตอบ 2 : Sine wave
43 of 118
คําตอบ 3 : Time domain
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 173
ขอใดเปนกราฟแบบ Frequency domain ของการสั่นสะเทือน
คําตอบ 1 : แกนนอนเปนคา Time แกนตั้งเปนคา Amplitude
คําตอบ 2 : แกนนอนเปนคา Frequency แกนตั้งเปนคา Amplitude
คําตอบ 3 : แกนนอนเปนคา Frequency แกนตั้งเปนคา Time

่ า ย

คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 174

จ ำ ห

ขอใดเปนกราฟแบบ Frequency domain ของการสั่นสะเทือน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Fast Fourier Transform (FFT)
คําตอบ 2 : Boolean Function Transform (BFT)
คําตอบ 3 : Markov Chain Transform (MCT)

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

นส

ขอที่ : 175


ขอใดเปนเงื่อนไขที่สําคัญที่สุดในการวัดการสั่นสะเทือน
คําตอบ 1 : เครื่องมือวัดเดียวกันทุกครั้ง

อ ส

คําตอบ 2 : ผูวัดคนเดียวกันทุกครั้ง

กร
คําตอบ 3 : ตําแหนงที่วัดเดียวกันทุกครั้ง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 176

าว ศ


ขอใดเปนการวัดการสั่นสะเทือนที่ควรทําในการตรวจสภาพเครื่องจักร


คําตอบ 1 : การสั่นสะเทือนตามแนวนอน (Horizontal vibration)
คําตอบ 2 : การสั่นสะเทือนตามแนวดิ่ง (Vertical vibration)
คําตอบ 3 : การสั่นสะเทือนตามแนวแกน (Axial vibration)
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 177 44 of 118


ขอใดเปนวิธีวิเคราะหการสั่นสะเทือนเมื่อตองการที่จะยืนยันชิ้นสวนหรืออุปกรณที่เปนปญหา
คําตอบ 1 : Broadband analysis
คําตอบ 2 : Narrowband analysis
คําตอบ 3 : Signature analysis
คําตอบ 4 : Amplitude Trending

ขอที่ : 178

่ า ย
ขอใดเปนวิธีวิเคราะหการสั่นสะเทือนที่ชวยชี้บงสภาพของเครื่องจักรอุปกรณ


คําตอบ 1 : Broadband analysis


คําตอบ 2 : Narrowband analysis

จ ำ
คําตอบ 3 : Signature analysis


คําตอบ 4 : Amplitude Trending

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 179
ขอใดเปนการวิเคราะหการสั่นสะเทือนที่แสดงเอกลักษณของชุดเครื่องจักรแตละชุด

ิท
คําตอบ 1 : Narrowband analysis


คําตอบ 2 : Signature analysis

ว น
คําตอบ 3 : Trending


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

อ ส

ขอที่ : 180

กร
ขอมูลพื้นฐานที่ใชวิเคราะหการสั่นสะเทือนเชิงเปรียบเทียบจะตองตั้งใหมเมื่อใด


คําตอบ 1 : เมื่อมีการซอมแซมเครื่องจักร



คําตอบ 2 : เมื่อมีการยกเครื่องหรือฟนสภาพเครื่องจักร

าว
คําตอบ 3 : เมื่อมีการเปลี่ยนอุปกรณหลักของเครื่องจักร


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 181

ขอใดอาจเปน harmonic ของคลื่นความถี่ 2,500 Hertz
คําตอบ 1 : คลื่นความถี่ 7,500 Hertz
คําตอบ 2 : คลื่นความถี่ 10,000 Hertz
คําตอบ 3 : คลื่นความถี่ 25,000 Hertz
45 of 118
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
ขอที่ : 182
ขอใดเปนเครื่องมือวัดอุณหภูมิที่ไมไดใชโลหะสองชนิด
คําตอบ 1 : Bimetallic
คําตอบ 2 : Thermistor
คําตอบ 3 : Thermocouple


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

น่ า

ขอที่ : 183


ขอใดเปนเครื่องมือวัดอุณหภูมิที่ใชความแตกตางในสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวของโลหะสองชนิด
คําตอบ 1 : Bimetallic element thermometer

มจ
า้
คําตอบ 2 : Thermistor

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Thermocouple
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 184

ส ิท
ว น
ขอใดเปนเครื่องมือวัดอุณหภูมิที่ใชความแตกตางของความตานทานไฟฟาของตัวนํา เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป


คําตอบ 1 : Bimetallic


คําตอบ 2 : Thermistor


คําตอบ 3 :


Thermocouple

กร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 185


ิ ว
าว
ขอใดเปนเครื่องมือวัดอุณหภูมิที่ใชความแตกตางของแรงดันไฟฟาที่เกิดขึ้นจากขั้วรวมของโลหะสองชนิด เมื่ออุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลงไป


คําตอบ 1 : Bimetallic


คําตอบ 2 : Thermistor
คําตอบ 3 : Thermocouple
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 186
ขอใดเปนเครื่องมือวัดอุณหภูมิที่ใชคุณสมบัติของโลหะบางชนิดที่เปลี่ยนแปลงสีไปตามอุณหภูมิ
46 of 118
คําตอบ 1 : Bimetallic
คําตอบ 2 : Thermistor
คําตอบ 3 : Thermocouple
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 187
ขอใดเปนเครื่องมือวัดอุณหภูมิที่สามารถวัดไดในชวง 1,000 ถึง 5,000 ° F
คําตอบ 1 : Bimetallic

่ า ย

คําตอบ 2 : Optical pyrometer


คําตอบ 3 : Thermistor

จ ำ
คําตอบ 4 : Thermocouple

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
188
ขอใดเปนเครื่องมือวัดอุณหภูมิที่ทําการวัดคาไดโดยไมตองสัมผัสวัตถุที่ตองการวัดอุณหภูมิ
คําตอบ 1 : Gas thermometer

ิท
คําตอบ 2 : Resistance thermometer


คําตอบ 3 : Pyrometer

ว น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ส ง

ขอที่ : 189


ขอใดเปนรังสีที่ใชในการวัดและแสดงระดับอุณหภูมิของเครื่องมือฉายภาพอุณหภูมิ (Thermography)

กร
คําตอบ 1 : รังสีอัลฟา (Alpha-ray)


คําตอบ 2 : รังสีแกมมา (Gamma-ray)



คําตอบ 3 : รังสีอินฟราเรด (Infrared-ray)

าว
คําตอบ 4 : รังสีเอ็กซ (X-ray)

ขอที่ : 190

ส ภ
ขอใดเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความยาวคลื่นสูงสุดในขอตอไปนี้
คําตอบ 1 : คลื่นวิทยุ
คําตอบ 2 : คลื่นอินฟราเรด (คลื่นใตแดง)
คําตอบ 3 : คลื่นอุลตราไวโอเลท (คลื่นเหนือมวง)
คําตอบ 4 : คลื่นรังสีเอ็กซ
47 of 118
ขอที่ : 191
ขอใดเปนความสัมพันธเชิงคณิตศาสตรที่ถูกตองระหวางองศาเซลเซียส (C) กับ องศาฟาเรนไฮต (F)
คําตอบ 1 : F = C + 32
คําตอบ 2 : F = 1.8*C
คําตอบ 3 : F = 1.8*C + 32
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย

ขอที่ : 192


ขอใดเปนระดับอุณหภูมิที่ศูนยสัมบูรณ (absolute zero )

จ ำ
คําตอบ 1 : -273.15 °C


คําตอบ 2 : -32 °C

า้
คําตอบ 3 : 0 °C

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 193


ขอใดเปนอุณหภูมิเทียบเทาของ 50 องศาเซลเซียส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
82 เคลวิน
122 เคลวิน

ง ว น
323.15 เคลวิน

อ ส
คําตอบ 3 :


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 194

ว กร


ขอใดเปนอุณหภูมิเทียบเทาของ 400 °F

าว
คําตอบ 1 : 204.4 °C


คําตอบ 2 : 212 °C


คําตอบ 3 : 273.15 °C
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 195
ขอใดเปนเครื่องมือที่เหมาะสําหรับใชในการตรวจสภาพของสถานีไฟฟายอย
คําตอบ 1 : Thermistor 48 of 118
คําตอบ 2 : Thermocouple
คําตอบ 3 : Thermography
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 196
ขอใดเปนความผิดปกติที่สามารถตรวจพบไดโดยใชเครื่องมือฉายภาพอุณหภูมิ (Thermography)
คําตอบ 1 : การหลุดหลวมของอุปกรณไฟฟา
คําตอบ 2 : การหลุดหลวมของอุปกรณทางกล

่ า ย

คําตอบ 3 : การมีภาระงานเกินระดับปกติ


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

จ ำ

ขอที่ :

า้
197
ขอใดเปนเครื่องจักรอุปกรณที่ตัวแปรรวมในการทํางานหรือประสิทธิภาพในการทํางานสามารถชี้บงสภาพของเครื่องจักรอุปกรณนั้นไดดี

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เครื่องสูบ
คําตอบ 2 : มอเตอรไฟฟา

ิท
คําตอบ 3 : ระบบไฮดรอลิกส


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ :

ง ว น

198


ขอใดเปนตัวแปรรวมในการทํางานที่สามารถชี้บงสภาพของเครื่องจักรไฟฟาไดดี


คําตอบ 1 : ความเร็วรอบของเครื่อง

กร
คําตอบ 2 : กระแสไฟฟาที่ใชในขณะเดินเครื่อง


คําตอบ 3 : แรงบิดของเครื่อง



คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 199

ภ าว

ขอใดเปนเครื่องมือที่ใชตรวจสอบสภาพของเครื่องจักรไฟฟาไดดี
คําตอบ 1 : Flow meter
คําตอบ 2 : Multi meter
คําตอบ 3 : Pressure gauge
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

49 of 118
ขอที่ : 200
ขอใดเปนตัวแปรรวมในการทํางานที่สามารถชี้บงสภาพของระบบนิวเมติกสไดดี
คําตอบ 1 : แรงดันไฟฟา
คําตอบ 2 : แรงดันไอน้ํา
คําตอบ 3 : กําลังลม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย
ขอที่ : 201


ขอใดเปนเครื่องมือที่ใชในการชี้บงสภาพของระบบไฮดรอลิกสไดดี


คําตอบ 1 : Fluid level indicator

จ ำ
คําตอบ 2 : Multi meter


คําตอบ 3 : Pressure flow meter

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 202
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนตัวแปรรวมในการทํางานที่สามารถชี้บงสภาพของเครื่องสูบไดดี


คําตอบ 1 : อัตราการไหลของของเหลว

ว น
คําตอบ 2 : ความถวงจําเพาะของของเหลว


คําตอบ 3 : อุณหภูมิของเครื่องสูบ


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอ
กร
ขอที่ : 203


ขอใดเปนเครื่องมือที่สามารถใชในการชี้บงสภาพของเครื่องสูบไดดี



คําตอบ 1 : Flow meter

าว
คําตอบ 2 : Multi meter


คําตอบ 3 : Ohm meter


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 204
ขอใดเปนตัวแปรรวมในการทํางานที่สามารถชี้บงสภาพของหมอไอน้ําไดดี
คําตอบ 1 : แรงดันไอ
คําตอบ 2 : อุณหภูมิของไอ
50 of 118
คําตอบ 3 : อัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 205
ขอใดเปนเครื่องมือที่สามารถใชในการชี้บงสภาพของหมอไอน้ําไดดี
คําตอบ 1 : Current clamp meter
คําตอบ 2 :


Pressure gauge

่ า
คําตอบ 3 : Volt meter


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 206

จ ำ ห

ขอใดเปนอุปกรณที่วัดกระแสไฟฟาจากแรงเหนี่ยวนําของสนามแมเหล็กรอบสายไฟ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Amp meter
คําตอบ 2 : Current clamp meter
คําตอบ 3 : Multi meter

ิท
คําตอบ 4 : Oscilloscope

นส

ขอที่ : 207


ขอใดเปนการทํางานที่แทจริงของ โอหมมิเตอร ที่ใชทั่วไป
คําตอบ 1 :


วัดแรงดันแลวแปลงเปนความตานทาน


คําตอบ 2 : วัดกระแสแลวแปลงเปนความตานทาน

กร
คําตอบ 3 : วัดความตานทานแลวผานวงจรขยายเพื่อแสดงคา


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 208

าว ศ


ขอใดเปนวิธีที่มักใชในการตรวจสอบวาวงจรไฟฟาทํางานอยูหรือไม (วงจรเปดหรือปด)


คําตอบ 1 : Resistance testing
คําตอบ 2 : Megger testing
คําตอบ 3 : HiPot testing
คําตอบ 4 : Impedance testing

ขอที่ : 209 51 of 118


ขอใดเปนวิธีตรวจสอบความตานทานจากการใหแรงดันไฟฟาขนาด 500-5,000 โวลต ในสวนของวงจรที่ตองการตรวจสอบ
คําตอบ 1 : Resistance testing
คําตอบ 2 : Megger testing
คําตอบ 3 : HiPot testing
คําตอบ 4 : Impedance testing

ขอที่ : 210

่ า ย
ขอใดเปนวิธีทดสอบทางไฟฟาที่ใชตรวจสอบการทํางานของขดลวดไดดี


คําตอบ 1 : Resistance testing


คําตอบ 2 : Megger testing

จ ำ
คําตอบ 3 : HiPot testing


คําตอบ 4 : Impedance testing

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 211
ขอใดเปนเครื่องมือมาตรฐานที่ใชวิเคราะหการทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิกสกันอยางแพรหลาย

ิท
คําตอบ 1 : Amp meter


คําตอบ 2 : Ohmmeter

ว น
คําตอบ 3 : Oscilloscope


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

อ ส

ขอที่ : 212

กร
ขอใดเปนความผิดปกติของเครื่องจักรอุปกรณที่อาจพบไดจากการตรวจสอบดวยสายตา


คําตอบ 1 : การรั่วซึมของน้ํามันไฮดรอลิก



คําตอบ 2 : การรั่วซึมของน้ําหลอเย็น

าว
คําตอบ 3 : การเกิดสนิมบนชิ้นสวนโลหะ


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 213

ขอใดเปนเครื่องมือที่ทําใหสามารถมองเครื่องจักรที่หมุนไดในสภาพที่คลายหยุดนิ่งได
คําตอบ 1 : Stereoscope
คําตอบ 2 : Stethoscope
คําตอบ 3 : Stroboscope
52 of 118
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
ขอที่ : 214
ขอใดเปนความถี่ในการกระพริบแสงที่จะทําใหมองเครื่องจักรที่หมุนดวยความเร็วรอบ 950 รอบตอนาทีในสภาพที่คลายหยุดนิ่งได
คําตอบ 1 : 450 รอบตอนาที
คําตอบ 2 : 900 รอบตอนาที
คําตอบ 3 : 1,900 รอบตอนาที


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

น่ า

ขอที่ : 215


ขอใดเปนอุปกรณที่ใชในครัวเรือนที่สามารถนํามาใชวิเคราะหสภาพเครื่องจักรไดเปนอยางดี
คําตอบ 1 : โทรทัศนวงจรปด

มจ
า้
คําตอบ 2 : ระบบบันทึกภาพและเครื่องเลนวีดิทัศน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เตาไฟฟา
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 216

ส ิท
ว น
ขอใดเปนการตรวจสอบที่สามารถทําโดยใชแสงเลเซอร


คําตอบ 1 : ตรวจสอบความตรง


คําตอบ 2 : ตรวจสอบความขนาน


คําตอบ 3 : ตรวจสอบความเรียบ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

กร ข
ขอที่ : 217


ิ ว
าว
ขอใดเปนเครื่องมือที่สามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงขนาดของชิ้นสวนแมเพียงเล็กนอยไดดี


คําตอบ 1 : Alignment telescope


คําตอบ 2 : Measuring microscope
คําตอบ 3 : Optical comparator
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 218
ขอใดเปนเครื่องมือที่ชวยการมองเห็นในการตั้งแนวแกนใหไดศูนย
53 of 118
คําตอบ 1 : Alignment telescope
คําตอบ 2 : Measuring microscope
คําตอบ 3 : Optical comparator
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 219
ขอใดเปนเครื่องมือฉายภาพขยายเปรียบเทียบเพื่อชวยการมองเห็นสภาพเครื่องจักรไดอยางชัดเจน
คําตอบ 1 : Alignment telescope

่ า ย

คําตอบ 2 : Measuring microscope


คําตอบ 3 : Optical comparator

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
220
ขอใดเปนวิธีการที่ไดผลดีและประหยัดตอการตรวจสอบดวยสายตาสําหรับสวนของเครื่องจักรดานที่ติดผนัง
คําตอบ 1 : เจาะผนังทําชองมองถาวร

ิท
คําตอบ 2 : ติดกระจกเงาที่ผนังดานนั้น


คําตอบ 3 : ติดตั้งกลองวงจรปด

ว น
คําตอบ 4 : ยายเครื่องจักรนั้นออกมาจากผนัง

ส ง

ขอที่ : 221


ขอใดเปนโอกาสอันเหมาะที่จะตรวจสอบชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องจักรดวยสายตาอยางละเอียด

กร
คําตอบ 1 : ในขณะทําการซอมฉุกเฉิน (Emergency maintenance)


คําตอบ 2 : ในขณะปดเครื่องทํางานซอม (Shutdown maintenance)



คําตอบ 3 : ในขณะทําการซอมใหญหรือยกเครื่อง (Major repair or overhaul)

าว
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 222

ส ภ
ขอใดเปนจุดประสงคของการใชผงแมเหล็กในการตรวจสอบโลหะ
คําตอบ 1 : ตรวจสภาพความเปนแมเหล็กของโลหะ
คําตอบ 2 : ตรวจสอบความเรียบของผิวโลหะ
คําตอบ 3 : ตรวจหารอยแตกราวในเนื้อโลหะ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
54 of 118
ขอที่ : 223
ในการตรวจสอบหารอยแตกราวบนโลหะดวยวิธีใชสีซึมลึก (Dye penetrant) ตัวสารซึมลึก (penetrant) มักถูกใชเปนลําดับที่เทาใด
คําตอบ 1 : กระปองที่ 1
คําตอบ 2 : กระปองที่ 2
คําตอบ 3 : กระปองที่ 3
คําตอบ 4 : กระปองที่ 4

่ า ย

ขอที่ : 224


ขอใดเปนคุณสมบัติที่สําคัญของสารซึมลึก (Penetrant) ที่ใชในการตรวจสอบหารอยแตกราวของโลหะดวยวิธีสีซึมลึก (Dye penetrant)

จ ำ
คําตอบ 1 : มีแรงตึงผิวต่ําจึงซึมลึกไดดี


คําตอบ 2 : มีเม็ดสีขนาดเล็กทําใหซึมลึกในรอยแตกราวได

า้
คําตอบ 3 : มีความลื่นสูงจึงมีความสามารถในการไหลดี

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 225


ขอใดเปนความหมายของ Exograph

ว น
คําตอบ 1 : ภาพฉายของอุณหภูมิที่เกิดจากรังสีอินฟราเรด


คําตอบ 2 : ภาพฉายที่เกิดจากรังสีเอ็กซ (x-ray)


คําตอบ 3 : ภาพฉายที่เกิดจากรังสีแกมมา (gamma-ray)


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

กร ข

ขอที่ : 226



ขอใดเปนขอเดนของ Gamma-ray ที่เหนือกวา X-ray ในการใชคลื่นแมเหล็กไฟฟาตรวจหารอยราวของโลหะ

าว
คําตอบ 1 : สามารถตรวจโลหะไดหนามากกวา


คําตอบ 2 : ใชเวลาในการตรวจสอบนอยกวา


คําตอบ 3 : ตรวจสอบรอยแตกราวของโลหะที่หนานอยกวา 2 นิ้วไดดีมาก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 227
ขอใดเปนประเภทของน้ํามันที่นํามาใชหลอลื่นเครื่องจักรในเชิงอุตสาหกรรมมากที่สุดในปจจุบัน
คําตอบ 1 : น้ํามันจากพืช
55 of 118
คําตอบ 2 : น้ํามันจากสัตว
คําตอบ 3 : น้ํามันจากปโตรเลียม
คําตอบ 4 : น้ํามันสังเคราะห

ขอที่ : 228
ขอใดเปนประเภทของน้ํามันปโตรเลียมที่คาดัชนีความหนืดสูง (High viscosity index)
คําตอบ 1 :


Aromatic

่ า
คําตอบ 2 : Asphaltic


คําตอบ 3 : Naphthenic


คําตอบ 4 : Paraffinic

จ ำ

ขอที่ :

า้
229
ขอใดเปนประเภทของน้ํามันปโตรเลียมที่มีคาจุดไหลเทต่ํา (Low pour point)

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Aromatic
คําตอบ 2 : Asphaltic

ิท
คําตอบ 3 : Naphthenic


คําตอบ 4 : Paraffinic

ขอที่ :

ง ว น

230


ขอใดเปนประเภทของน้ํามันปโตรเลียมที่มีราคาถูกที่ใชหลอลื่นเฟองเปดที่มีรอบความเร็วต่ํา


คําตอบ 1 : Aromatic

กร
คําตอบ 2 : Asphaltic


คําตอบ 3 : Naphthenic



คําตอบ 4 : Paraffinic

ขอที่ : 231

ภ าว

ขอใดเปนสวนประกอบของจาระบีที่ใชในการหลอลื่น
คําตอบ 1 : สบู น้ํามัน สารเพิ่มคุณสมบัติ
คําตอบ 2 : เรซิน น้ํามัน สารเพิ่มคุณสมบัติ
คําตอบ 3 : เยลลี่ น้ํามัน สารเพิ่มคุณสมบัติ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

56 of 118
ขอที่ : 232
ขอใดเปนอัตราสวนโดยน้ําหนักของสวนประกอบของจาระบี (สบู : น้ํามัน : สารเพิ่มคุณสมบัต)ิ ที่ใชในการหลอลื่น
คําตอบ 1 : 70 : 25 : 5
คําตอบ 2 : 60 : 35 : 5
คําตอบ 3 : 40 : 55 : 5
คําตอบ 4 : 15 : 80 : 5

่ า ย
ขอที่ : 233


ขอใดเปนจาระบีที่มีความแข็งมากที่สุด


คําตอบ 1 : NLGI No. 00

จ ำ
คําตอบ 2 : NLGI No. 0


คําตอบ 3 : NLGI No. 6

า้
คําตอบ 4 : NLGI No. 10

ขอที่ : 234
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนตัวอุมน้ํามันในจาระบีที่ทนน้ําแตไมทนความรอน


คําตอบ 1 : สบูแคลเซียม

ว น
คําตอบ 2 : สบูโซเดียม


คําตอบ 3 : สบูลิเทียม


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอ
กร
ขอที่ : 235


ขอใดเปนตัวอุมน้ํามันในจาระบีที่ไมทนน้ําแตทนความรอนไดดี



คําตอบ 1 : สบูแคลเซียม

าว
คําตอบ 2 : สบูโซเดียม


คําตอบ 3 : สบูลิเทียม


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 236
ขอใดเปนตัวอุมน้ํามันในจาระบีที่ทนน้ําและทนความรอนไดดี
คําตอบ 1 : สบูแคลเซียม
คําตอบ 2 : สบูโซเดียม
57 of 118
คําตอบ 3 : สบูลิเทียม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 237
จาระบีในขอใดสามารถใชปนรวมกันได
คําตอบ 1 : ชนิดเดียวกันแตคนละเบอร
คําตอบ 2 : เบอรเดียวกันแตตางชนิด
คําตอบ 3 : ยี่หอเดียวกันแตตัวอุมน้ํามัน (สบู) ตางกัน

่ า ย

คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 238

จ ำ ห

ขอใดเปนสารหลอลื่นสังเคราะหที่มักใชในตลับลูกปนที่ไมตองหลอลื่น

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Organic esters
คําตอบ 2 : Polyglycols
คําตอบ 3 : Silicones

ิท
คําตอบ 4 : Synthethetic hydrocarbons

นส

ขอที่ : 239


ขอใดที่ไมใชคุณสมบัติของน้ํามันหลอลื่นสังเคราะห
คําตอบ 1 : ดัชนีความหนืดสูง

อ ส

คําตอบ 2 : จุดไหลเทสูง

กร
คําตอบ 3 : การระเหยตัวต่ํา


คําตอบ 4 : ความเสถียรของคุณสมบัติทางเคมีสูง

ขอที่ : 240

าว ศ


ขอใดเปนประเภทของน้ํามันหลอลื่นสังเคราะหที่ใชกันมากในทางอุตสาหกรรม


คําตอบ 1 : Ester, diester, complex ester
คําตอบ 2 : Polyalphaolefin : PAO
คําตอบ 3 : Polyglycol
คําตอบ 4 : Silicone

ขอที่ : 241 58 of 118


ขอใดเปนสารเคมีที่สามารถนําไปใชทําเปนสารหลอลื่นแข็งได
คําตอบ 1 : Molybdenum disulfide
คําตอบ 2 : Boron nitride
คําตอบ 3 : Cerium fluoride
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 242

่ า ย
ขอใดเปนสารหลอลื่นแข็งที่สามารถทนความรอนไดเกิน 1,000 องศาเซลเซียส


คําตอบ 1 : Molybdenum disulfide


คําตอบ 2 : Boron nitride

จ ำ
คําตอบ 3 : Cerium fluoride


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 243
ขอใดเปนหนวยวัดความหนืดในระบบเมตริก

ิท
คําตอบ 1 : เซนติสโตก (cSt)


คําตอบ 2 : วินาทีเซโบลต (SUS, SSU)

ว น
คําตอบ 3 : เรดวูดNo.1 (RW1)


คําตอบ 4 : อิงเลอร (E˚˚)

อ ส

ขอที่ :

กร
244
ขอใดเปนระบบวัดความหนืดที่มีหนวยวัดเปนวินาทีเซโบลต (SUS, SSU)


คําตอบ 1 : ระบบเมตริก (สากล)

าว ศ

คําตอบ 2 : ระบบอเมริกัน
คําตอบ 3 : ระบบอังกฤษ


คําตอบ 4 : ระบบยุโรป (เยอรมัน)

ขอที่ : 245 ส
ขอใดเปนอุณหภูมิอางอิงที่ใชวัดความหนืดในระบบเมตริก
คําตอบ 1 : 100 องศาฟาเรนไฮต, 210 องศาฟาเรนไฮต
คําตอบ 2 : 40 องศาเซลเซียส, 100 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 : 20 องศาเซลเซียส, 50 องศาเซลเซียส, 100 องศาเซลเซียส
59 of 118
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
ขอที่ : 246
ขอใดเปนเงื่อนไขที่เหมาะที่จะใชเลือกน้ํามันหลอลื่นที่มีความหนืดต่ํา
คําตอบ 1 : ความเร็วรอบต่ํา
คําตอบ 2 : ความเร็วรอบสูง
คําตอบ 3 : อุณหภูมิสูง


คําตอบ 4 : แรงกดสูง

น่ า

ขอที่ : 247


ขอใดเปนเงื่อนไขที่เหมาะที่จะเลือกใชน้ํามันหลอลื่นที่มีความหนืดสูง
คําตอบ 1 : ความเร็วรอบต่ํา

มจ
า้
คําตอบ 2 : อุณหภูมิสูง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แรงกดสูง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 248

ส ิท
ว น
ขอใดเปนคุณสมบัติของน้ํามันหลอลื่นที่มีความสําคัญดานความปลอดภัย


คําตอบ 1 : ความตานทานการรวมตัวกับออกซิเจน


คําตอบ 2 : จุดไหลเท


คําตอบ 3 : จุดวาบไฟ
คําตอบ 4 : ดัชนีความหนืด

กร ข
ขอที่ : 249


ิ ว
าว
ขอใดคือความหมายที่ถูกตองของจุดไหลเทของน้ํามันหลอลื่น


คําตอบ 1 : ระดับความลาดเอียงของแทงทดสอบที่น้ํามันหลอลื่นจะไหลเทไปได


คําตอบ 2 : อุณหภูมิต่ําสุดที่น้ํามันจะไหลไดโดยไมมีอะไรรบกวน
คําตอบ 3 : ขนาดเสนผาศูนยกลางของทอทดลองที่น้ํามันหลอลื่นจะไหลได
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 250
ขอใดเปนคุณสมบัติของน้ํามันหลอลื่นที่มีคาดัชนีความหนืดสูง
60 of 118
คําตอบ 1 : มีความหนืดสูงที่อุณหภูมิสูง
คําตอบ 2 : มีความหนืดสูงขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
คําตอบ 3 : คาความหนืดเปลี่ยนแปลงนอยแมอุณหภูมิเปลี่ยนไปมาก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 251
ขอใดเปนวิธีกําจัดน้ํามันหลอลื่นที่ดี
คําตอบ 1 : เททิ้งลงทอระบายน้ํา

่ า ย

คําตอบ 2 : เททิ้งใหซึมลงในดิน


คําตอบ 3 : ขายใหกับผูรับซื้อเร

จ ำ
คําตอบ 4 : นําไปใชกับงานที่มีความตองการต่ํากวา

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
252
ขอใดเปนจุดมุงหมายของการทดสอบน้ํามันหลอลื่นดวยการเผา (Burn test)
คําตอบ 1 : เพื่อหาจุดวาบไฟ

ิท
คําตอบ 2 : เพื่อหาโลหะที่อยูในน้ํามันหลอลื่น


คําตอบ 3 : เพื่อทดสอบวามีน้ําปนเปอนในน้ํามันหลอลื่นหรือไม

ว น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ส ง

ขอที่ : 253


ขอใดเปนจุดมุงหมายของการทดสอบน้ํามันหลอลื่นดวยขวดทดสอบ (bottle test) ที่มีการเติมคารไบด ในการทดลอง

กร
คําตอบ 1 : เพื่อหาออกซิเจนหรือออกไซดที่ปนอยูในน้ํามัน


คําตอบ 2 : เพื่อหาโลหะมีอยูในน้ํามันหลอลื่น



คําตอบ 3 : เพื่อทดสอบวามีน้ําปนเปอนในน้ํามันหลอลื่นหรือไม

าว
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 254

ส ภ
ขอใดเปนจุดมุงหมายของการทดสอบน้ํามันหลอลื่นดวยแทงไหลน้ํามัน (Flow stick)
คําตอบ 1 : เพื่อตรวจวาน้ํามันหลอลื่นมีความหนืดเหมาะสมที่จะใชงานตอไปไดหรือไม
คําตอบ 2 : เพื่อตรวจหา ของแข็งหรือสิ่งแปลกปลอมที่ปนเปอนอยูในน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 3 : เพื่อทดสอบวามีน้ําปนเปอนในน้ํามันหลอลื่นหรือไม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
61 of 118
ขอที่ : 255
ขอใดเปนจุดมุงหมายของการทดสอบน้ํามันหลอลื่นดวยกระดาษซึม (Paper test)
คําตอบ 1 : เพื่อตรวจวาน้ํามันหลอลื่นมีความหนืดเหมาะสมที่จะใชงานตอไปไดหรือไม
คําตอบ 2 : เพื่อตรวจหา ของแข็งหรือสิ่งแปลกปลอมที่ปนเปอนอยูในน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 3 : เพื่อตรวจหาโลหะที่เกิดจากการสึกหรอของเครื่องจักรที่ตกคางในน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย

ขอที่ : 256


ขอใดเปนวิธีที่ดีที่สุดในการตรวจสอบการสึกหรอ (Wear) ของเครื่องจักร

จ ำ
คําตอบ 1 : การวิเคราะหการสั่นสะเทือน


คําตอบ 2 : การฉายภาพอุณหภูมิ

า้
คําตอบ 3 : การวิเคราะหน้ํามันหลอลื่น

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 257


ขอใดเปนวิธีที่ดีที่สุดในการตรวจสอบการลาตัว (Fatigue) ของเครื่องจักร

ว น
คําตอบ 1 : การวิเคราะหการสั่นสะเทือน


คําตอบ 2 : การฉายภาพอุณหภูมิ


คําตอบ 3 : การวิเคราะหน้ํามันหลอลื่น


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

กร ข

ขอที่ : 258



ขอใดเปนหนาที่ของปลั๊กแมเหล็ก (Magnetic plug)

าว
คําตอบ 1 : ปรับเสนแรงแมเหล็กของน้ํามันหลอลื่น


คําตอบ 2 : ดูดโลหะจากน้ํามันหลอลื่นไปเก็บไว


คําตอบ 3 : ปองกันการรั่วซึมของน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 259
ขอใดเปนวัตถุประสงคของการวิเคราะหคา TAN และ TBN ของน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 1 : วิเคราะหการสึกหรอของเครื่องจักร
62 of 118
คําตอบ 2 : วิเคราะหอายุของน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 3 : วิเคราะหวาน้ํามันหลอลื่นมีความเหมาะสมที่จะใชงานไดหรือไม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 260
ขอใดเปนสารเพิ่มคุณสมบัติที่ชวยลดการเกิดกรดในน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 1 : สารตานออกซิเดชั่น (Oxidation Inhibitors)
คําตอบ 2 : สารปองกันสนิม (Rust Inhibitors)

่ า ย

คําตอบ 3 : สารรับแรงกดสูง (Extreme-pressure Additives)


คําตอบ 4 : สารปรับปรุงดัชนีความหนืด (Viscosity Index Improver)

จ ำ

ขอที่ :

า้
261
ขอใดเปนสารเพิ่มคุณสมบัติที่ชวยเพิ่มความสามารถในการรับภาระงานของน้ํามันหลอลื่น

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : สารตานออกซิเดชั่น (Oxidation Inhibitors)
คําตอบ 2 : สารปองกันสนิม (Rust Inhibitors)

ิท
คําตอบ 3 : สารรับแรงกดสูง (Extreme-pressure Additives)


คําตอบ 4 : สารปรับปรุงดัชนีความหนืด (Viscosity Index Improver)

ขอที่ :

ง ว น

262


ขอใดเปนสารเพิ่มคุณสมบัติที่ทําใหน้ํามันหลอลื่นใชงานไดดีแมอุณหภูมิของเครื่องจักรขณะทํางานจะสูงขึ้น


คําตอบ 1 : สารตานออกซิเดชั่น (Oxidation Inhibitors)

กร
คําตอบ 2 : สารปองกันสนิม (Rust Inhibitors)


คําตอบ 3 : สารรับแรงกดสูง (Extreme-pressure Additives)



คําตอบ 4 : สารปรับปรุงดัชนีความหนืด (Viscosity Index Improver)

ขอที่ : 263

ภ าว

ขอใดเปนเงื่อนไขที่เหมาะสมสําหรับระบบหลอลื่นที่ใชการเติมจาระบีดวยมือ
คําตอบ 1 : มีจุดเติมจาระบีนอย เขาถึงไดยาก
คําตอบ 2 : มีจุดเติมจาระบีนอย เขาถึงไดโดยสะดวก
คําตอบ 3 : มีจุดเติมจาระบีมาก เขาถึงไดยาก
คําตอบ 4 : มีจุดเติมจาระบีมาก เขาถึงไดโดยสะดวก

63 of 118
ขอที่ : 264
ขอใดเปนเงื่อนไขที่เหมาะสมสําหรับระบบหลอลื่นที่ใชการเติมจาระบีโดยจายแบบอัตโนมัติจากศูนยกลาง
คําตอบ 1 : มีจุดจาระบีเติมนอย เขาถึงไดยาก
คําตอบ 2 : มีจุดเติมจาระบีนอย เขาถึงไดโดยสะดวก
คําตอบ 3 : มีจุดจาระบีเติมมาก เขาถึงไดยาก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย
ขอที่ : 265


ขอใดเปนระบบหลอลื่นที่ระบายความรอนไดดีเทาที่ตองการได


คําตอบ 1 : ระบบจุมหรือสาดน้ํามัน

จ ำ
คําตอบ 2 : ระบบละอองน้ํามัน


คําตอบ 3 : ระบบไหลเวียนน้ํามัน

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 266
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนระบบหลอลื่นที่ระบายความรอนไดนอยที่สุด


คําตอบ 1 : ระบบเติมน้ํามันดวยการหยอด

ว น
คําตอบ 2 : ระบบจุมหรือสาดน้ํามัน


คําตอบ 3 : ระบบละอองน้ํามัน


คําตอบ 4 : ระบบไหลเวียนน้ํามัน

ขอ
กร
ขอที่ : 267


ขอใดเปนระบบหลอลื่นที่ตนทุนเริ่มตนต่ําสุด



คําตอบ 1 : ระบบจุมหรือสาดน้ํามัน

าว
คําตอบ 2 : ระบบจายจาระบีอัตโนมัติจากศูนยกลาง


คําตอบ 3 : ระบบละอองน้ํามัน


คําตอบ 4 : ระบบไหลเวียนน้ํามัน

ขอที่ : 268
ขอใดเปนระบบหลอลื่นที่มีตนทุนดานสารหลอลื่นต่ําสุด
คําตอบ 1 : ระบบเติมจาระบีดวยมือ
คําตอบ 2 : ระบบจายจาระบีอัตโนมัติจากศูนยกลาง
64 of 118
คําตอบ 3 : ระบบเติมน้ํามันดวยการหยอด
คําตอบ 4 : ระบบไหลเวียนน้ํามัน

ขอที่ : 269
ขอใดเปนวิธีการที่ใชกันทั่วไปเพื่อปองกันการสับสนปะปนในการใชสารหลอลื่นในโรงงานอุตสาหกรรม
คําตอบ 1 : ตั้งรหัสประจําตัวสําหรับสารหลอลื่นแตละชนิด
คําตอบ 2 : ใชรูปสัญลักษณของสารหลอลื่นแตละชนิด
คําตอบ 3 : ใชสีที่แตกตางสําหรับสารหลอลื่นแตละชนิด

่ า ย

คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 270

จ ำ ห

ขอใดเปนเหตุผลที่มีการลดความหลากหลายของสารหลอลื่นในการออกแบบระบบการจัดการหลอลื่นเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เพื่อลดคาใชจายในการซื้อสารหลอลื่นใหนอยลง
คําตอบ 2 : เพื่อลดความยุงยากซับซอนในการจัดการสารหลอลื่น
คําตอบ 3 : เพื่อใหการใชสารหลอลื่นตรงกับความตองการของผูสรางเครื่องจักรใหมากที่สุด

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

นส

ขอที่ : 271


ขอใดเปนเอกสารหลักในการดําเนินงานหลอลื่น
คําตอบ 1 : แผนการหลอลื่นแมบท

อ ส

คําตอบ 2 : รายการตรวจประเมินระบบหลอลื่น

กร
คําตอบ 3 : บัญชีสารหลอลื่น


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 272

าว ศ


ขอใดเปนบุคคลที่ควรไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบงานหลอลื่น


คําตอบ 1 : ชางซอมเครื่องกล
คําตอบ 2 : พนักงานประจําเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ชางหลอลื่น หรือ ชางน้ํามัน
คําตอบ 4 : เลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งในสามขอขางตนไดตามความพรอมและความเหมาะสม

ขอที่ : 273 65 of 118


ขอใดเปนประโยชนของการใหพนักงานประจําเครื่องจักรเปนผูรับผิดชอบงานหลอลื่น
คําตอบ 1 : ทําใหความเปนเจาของสมบูรณขึ้น
คําตอบ 2 : เพิ่มทักษะทางดานเทคนิคใหกับพนักงานประจําเครื่อง
คําตอบ 3 : ลดภาระงานหลอลื่นของฝายซอมบํารุง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 274

่ า ย
ขอใดเปนประโยชนของการใหชางหลอลื่นเปนผูรับผิดชอบงานหลอลื่น


คําตอบ 1 : ลดตนทุนในการหลอลื่น


คําตอบ 2 : ทําใหความรับผิดชอบกับเครื่องจักรมีความชัดเจน

จ ำ
คําตอบ 3 : สรางและใชความเชี่ยวชาญของชางหลอลื่น


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 275
ขอใดเปนวัตถุประสงคหลักในการตรวจประเมินระบบหลอลื่น (Lubrication system audit)

ิท
คําตอบ 1 : เพื่อควบคุมการหลอลื่นใหเปนไปตามแบบแผนที่กําหนดไว


คําตอบ 2 : เพื่อลดตนทุนในการหลอลื่น

ว น
คําตอบ 3 : เพื่อตรวจหาขอบกพรองของพนักงานที่รับผิดชอบงานหลอลื่น


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

อ ส

ขอที่ : 276

กร
ขอใดเปนเงื่อนไขสําคัญที่ทําใหเกิดความสัมพันธเชิงปฏิปกษระหวางผูขายกับผูใชสารหลอลื่น


คําตอบ 1 : ผูใชขาดความรูเกี่ยวกับสารหลอลื่น



คําตอบ 2 : ผูขายไมมีความรูเกี่ยวกับสารหลอลื่น

าว
คําตอบ 3 : ทั้งสองฝายหวังแคผลประโยชนเฉพาะหนา


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 277

ขอใดเปนเหตุผลที่ผูใชสารหลอลื่นมักเลือกสงสารหลอลื่นไปวิเคราะหที่หองทดสอบของบริษัทน้ํามันผูจําหนายสารหลอลื่น
คําตอบ 1 : บริษัทน้ํามันมักไดมาตรฐาน ISO 17025
คําตอบ 2 : ถือเปนความรับผิดชอบโดยตรงของผูขายสารหลอลื่น
คําตอบ 3 : การจัดตั้งหองทดสอบและวิเคราะหน้ํามันหลอลื่นมีตนทุนสูง
66 of 118
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก
ขอที่ : 278
ขอใดเปนขั้นตอนที่มักเปนปญหาในการวิเคราะหน้ํามันหลอลื่นที่ตองกระทําอยางมีทักษะดีพอ
คําตอบ 1 : การเก็บตัวอยางน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 2 : การกําหนดตัวชี้บงน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 3 : การสงตัวอยางน้ํามันหลอลื่นไปหองทดสอบ


คําตอบ 4 : การกําจัดน้ํามันหลอลื่น

น่ า

ขอที่ : 279


ขอใดมักเปนที่มาของการปนเปอนของน้ําในน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 1 : การดูดซึม

มจ
า้
คําตอบ 2 : การควบแนน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ตัวเปลี่ยนถายความรอน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 280

ส ิท
ว น
ขอใดเปนเหตุผลของการวางถังน้ํามันตามนอนแทนการวางตั้ง


คําตอบ 1 : เพื่อความสะดวกในการถายเทน้ํามันหลอลื่นไปใชงาน


คําตอบ 2 : เพื่อปองกันการดูดซึมไอน้ําจากอากาศเขาไปปนเปอนกับน้ํามัน


คําตอบ 3 : เพื่อลดโอกาสในการเกิดอัคคีภัยในคลังน้ํามัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

กร ข
ขอที่ : 281


ิ ว
าว
ขอมูลสําคัญที่จําเปนตองมีในใบแจงซอม คือขอใด


คําตอบ 1 : วันเวลาที่แจง


คําตอบ 2 : แผนกที่แจงซอม
คําตอบ 3 : วันเวลาที่เครื่องเสีย
คําตอบ 4 : ความเรงดวนของงาน

ขอที่ : 282
ขอมูลสําคัญที่จําเปนตองมีในใบแจงซอม คือขอใด
67 of 118
คําตอบ 1 : วันเวลาที่แจง
คําตอบ 2 : แผนกที่แจงซอม
คําตอบ 3 : รหัสของเครื่องที่เสีย
คําตอบ 4 : ความเรงดวนของงาน

ขอที่ : 283
ขอมูลสําคัญที่จําเปนตองมีในใบแจงซอม คือขอใด
คําตอบ 1 : วันเวลาที่แจง

่ า ย

คําตอบ 2 : แผนกที่แจงซอม


คําตอบ 3 : ตําแหนงที่ตั้งของเครื่องที่เสีย

จ ำ
คําตอบ 4 : ความเรงดวนของงาน

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
284
ขอมูลสําคัญที่จําเปนตองมีในใบแจงซอม คือขอใด
คําตอบ 1 : วันเวลาที่แจง

ิท
คําตอบ 2 : แผนกที่แจงซอม


คําตอบ 3 : อาการที่เครื่องเสีย

ว น
คําตอบ 4 : ความเรงดวนของงาน

ส ง

ขอที่ : 285


ผูที่จะเขียนใบแจงซอมไดนั้น จะตองเปนใครจึงจะเหมาะสม

กร
คําตอบ 1 : หัวหนาแผนกผลิต


คําตอบ 2 : หัวหนาแผนกบํารุงรักษา



คําตอบ 3 : maintenance inspector

าว
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 286

ส ภ
ขอมูลที่นํามาจากรายงานการซอม และ เอามาบันทึกไวในประวัติเครื่องจักร คือขอใด
คําตอบ 1 : วันเวลาที่เครื่องเสีย
คําตอบ 2 : รหัสหมายเลขเครื่อง
คําตอบ 3 : ผูจําหนายอะไหล
คําตอบ 4 : ผูผลิตเครื่องจักร
68 of 118
ขอที่ : 287
ขอมูลที่นํามาจากรายงานการซอม และ เอามาบันทึกไวในประวัติเครื่องจักร คือขอใด
คําตอบ 1 : วันเวลาที่ซอมเครื่องเสร็จ
คําตอบ 2 : รหัสหมายเลขเครื่อง
คําตอบ 3 : ผูจําหนายอะไหล
คําตอบ 4 : ผูผลิตเครื่องจักร

่ า ย

ขอที่ : 288


ขอมูลที่นํามาจากรายงานการซอม และ เอามาบันทึกไวในประวัติเครื่องจักร คือขอใด

จ ำ
คําตอบ 1 : รหัสหมายเลขเครื่อง


คําตอบ 2 : ผูจําหนายอะไหล

า้
คําตอบ 3 : รายการอะไหลที่เปลี่ยนในการซอมครั้งนั้น

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ผูผลิตเครื่องจักร

ิท
ขอที่ : 289


ขอมูลที่นํามาจากรายงานการซอม และ เอามาบันทึกไวในประวัติเครื่องจักร คือขอใด

ว น
คําตอบ 1 : รหัสหมายเลขเครื่อง


คําตอบ 2 : ผูจําหนายอะไหล


คําตอบ 3 : สาเหตุที่เครื่องจักรเสีย


คําตอบ 4 : ผูผลิตเครื่องจักร

กร ข

ขอที่ : 290



ขอมูลที่นํามาจากรายงานการซอม และ เอามาบันทึกไวในประวัติเครื่องจักร คือขอใด

าว
คําตอบ 1 : รหัสหมายเลขเครื่อง


คําตอบ 2 : ผูจําหนายอะไหล


คําตอบ 3 : รายชื่อพนักงานซอม
คําตอบ 4 : ผูผลิตเครื่องจักร

ขอที่ : 291
ขอมูลที่นํามาจากรายงานการซอม และ เอามาบันทึกไวในประวัติเครื่องจักร คือขอใด
คําตอบ 1 : รหัสหมายเลขเครื่อง
69 of 118
คําตอบ 2 : ผูจําหนายอะไหล
คําตอบ 3 : ระยะเวลาที่ตองรออะไหล (ถามี)
คําตอบ 4 : ผูผลิตเครื่องจักร

ขอที่ : 292
ขอมูลที่นํามาจากรายงานการซอม และ เอามาบันทึกไวในประวัติเครื่องจักร คือขอใด
คําตอบ 1 : รหัสหมายเลขเครื่อง
คําตอบ 2 : ผูจําหนายอะไหล

่ า ย

คําตอบ 3 : วันเวลาที่เริ่มทํางานซอม


คําตอบ 4 : ผูผลิตเครื่องจักร

จ ำ

ขอที่ :

า้
293
ระบบขอมูลที่สําคัญในการจัดการบํารุงรักษา นอกจาก ระบบการแจงซอมและสั่งงาน ระบบบันทึกประวัติเครื่องจักรแลว ยังมีอะไรอีก

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ระบบการสั่งซื้ออะไหล
คําตอบ 2 : ระบบการวางแผนshutdown

ิท
คําตอบ 3 : ระบบการเก็บเอกสารซอมบํารุง


คําตอบ 4 : ระบบขอมูลรายละเอียดเครื่องจักร

ขอที่ :

ง ว น

294


ขอใดเปนรายละเอียดที่จําเปนตองมีในใบสั่งงานบํารุงรักษา


คําตอบ 1 : ผูที่จะติดตอในการซื้ออะไหล

กร
คําตอบ 2 : หมายเลขงาน


คําตอบ 3 : คาใชจายในการซอม



คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 295

ภ าว

ขอใดเปนรายละเอียดที่จําเปนตองมีในใบสั่งงานบํารุงรักษา
คําตอบ 1 : ประวัติเครื่องจักร
คําตอบ 2 : รายชื่อชาง
คําตอบ 3 : คาใชจายในการซอม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

70 of 118
ขอที่ : 296
ขอใดเปนรายละเอียดที่จําเปนตองมีในใบสั่งงานบํารุงรักษา
คําตอบ 1 : ผูที่จะติดตอในการซื้ออะไหล
คําตอบ 2 : หมายเลขรหัสเครื่องจักรที่ตองบํารุงรักษา
คําตอบ 3 : ประวัติเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

่ า ย
ขอที่ : 297


ขอใดเปนรายละเอียดที่จําเปนตองมีในใบสั่งงานบํารุงรักษา


คําตอบ 1 : ตําแหนงที่ตั้งเครื่องจักร

จ ำ
คําตอบ 2 : ผูที่จะติดตอในการซื้ออะไหล


คําตอบ 3 : ประวัติเครื่องจักร

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 298
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนรายละเอียดที่จําเปนตองมีในใบสั่งงานบํารุงรักษา


คําตอบ 1 : ผูที่จะติดตอในการซื้ออะไหล

ว น
คําตอบ 2 : รายละเอียดของงานบํารุงรักษา


คําตอบ 3 : ประวัติเครื่องจักร


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอ
กร
ขอที่ : 299


ขอใดเปนรายละเอียดที่จําเปนตองมีในใบสั่งงานบํารุงรักษา



คําตอบ 1 : บริษัทผูขายอะไหล

าว
คําตอบ 2 : หมายเลขรหัสเครื่องจักรที่ตองบํารุงรักษา


คําตอบ 3 : ประวัติเครื่องจักร


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 300
ขอใดเปนรายละเอียดที่จําเปนตองมีในใบสั่งงานบํารุงรักษา
คําตอบ 1 : ผูที่จะติดตอในการซื้ออะไหล
คําตอบ 2 : ประมาณการเวลาที่จะตองใชในการทํางาน
71 of 118
คําตอบ 3 : ประวัติเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 301
ขอใดเปนรายละเอียดที่จําเปนตองมีในใบสั่งงานบํารุงรักษา
คําตอบ 1 : ผูที่จะติดตอในการซื้ออะไหล
คําตอบ 2 : ประวัติเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ขอแนะนําเกี่ยวกับความปลอดภัย (ถามี)

่ า ย

คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 302

จ ำ ห

เมื่อทํางานบํารุงรักษาตามใบสั่งงานแลว รายละเอียดที่ตองรายงานกลับมาในใบสั่งงานควรเปนขอใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น
คําตอบ 2 : บริษัทที่ไดติดตอซื้ออะไหล
คําตอบ 3 : วันเวลาที่เริ่มงานจริง

ิท
คําตอบ 4 : หมายเลขเครื่องจักร

นส

ขอที่ : 303


เมื่อทํางานบํารุงรักษาตามใบสั่งงานแลว รายละเอียดที่ตองรายงานกลับมาในใบสั่งงานควรเปนขอใด
คําตอบ 1 :

อ ส
รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น


คําตอบ 2 : บริษัทที่ไดติดตอซื้ออะไหล

กร
คําตอบ 3 : วันเวลาที่งานเสร็จ


คําตอบ 4 : หมายเลขเครื่องจักร

ขอที่ : 304

าว ศ


เมื่อทํางานบํารุงรักษาตามใบสั่งงานแลว รายละเอียดที่ตองรายงานกลับมาในใบสั่งงานควรเปนขอใด


คําตอบ 1 : บริษัทที่ไดติดตอซื้ออะไหล
คําตอบ 2 : รายการงานที่ทําไปแลว
คําตอบ 3 : หมายเลขเครื่องจักร
คําตอบ 4 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น

ขอที่ : 305 72 of 118


เมื่อทํางานบํารุงรักษาตามใบสั่งงานแลว รายละเอียดที่ตองรายงานกลับมาในใบสั่งงานควรเปนขอใด
คําตอบ 1 : บริษัทที่ไดติดตอซื้ออะไหล
คําตอบ 2 : รายการอะไหลที่ใชไปในการทํางาน
คําตอบ 3 : หมายเลขเครื่องจักร
คําตอบ 4 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น

ขอที่ : 306

่ า ย
เมื่อทํางานบํารุงรักษาตามใบสั่งงานแลว รายละเอียดที่ตองรายงานกลับมาในใบสั่งงานควรเปนขอใด


คําตอบ 1 : หมายเลขเครื่องจักร


คําตอบ 2 : บริษัทที่ไดติดตอซื้ออะไหล

จ ำ
คําตอบ 3 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น


คําตอบ 4 : เลขที่อางอิงของใบเบิกวัสดุและอะไหล

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 307
เมื่อทํางานบํารุงรักษาตามใบสั่งงานแลว รายละเอียดที่ตองรายงานกลับมาในใบสั่งงานควรเปนขอใด

ิท
คําตอบ 1 : หมายเลขเครื่องจักร


คําตอบ 2 : บริษัทที่ไดติดตอซื้ออะไหล

ว น
คําตอบ 3 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น


คําตอบ 4 : รายชื่อพนักงานบํารุงรักษาที่ทํางานนั้น

อ ส

ขอที่ : 308

กร
ขอมูลที่ควรเก็บไวในรายการเกี่ยวกับเครื่องจักรไดแก


คําตอบ 1 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น



คําตอบ 2 : ประวัติเครื่องจักร

าว
คําตอบ 3 : ผูขายอะไหล


คําตอบ 4 : วิธีการบํารุงรักษาปองกัน

ขอที่ : 309

ขอมูลที่ควรเก็บไวในรายการเกี่ยวกับเครื่องจักรไดแก
คําตอบ 1 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น
คําตอบ 2 : ประวัติเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ตําแหนงที่ตั้งของเครื่องจักร
73 of 118
คําตอบ 4 : วิธีการบํารุงรักษาปองกัน
ขอที่ : 310
ขอมูลที่เก็บไวในรายการเกี่ยวกับเครื่องจักรไดแก
คําตอบ 1 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น
คําตอบ 2 : ประวัติเครื่องจักร
คําตอบ 3 : รายละเอียดผูผลิตเครื่องจักร


คําตอบ 4 : วิธีการบํารุงรักษาปองกัน

น่ า

ขอที่ : 311


ขอมูลที่ควรเก็บไวในรายการเกี่ยวกับเครื่องจักรไดแก
คําตอบ 1 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น

มจ
า้
คําตอบ 2 : ประวัติเครื่องจักร

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : รายการอางอิงเกี่ยวกับแบบ (drawing) ของเครื่องจักร
คําตอบ 4 : วิธีการบํารุงรักษาปองกัน

ขอที่ : 312

ส ิท
ว น
ขอมูลที่ควรเก็บไวในรายการเกี่ยวกับเครื่องจักรไดแก


คําตอบ 1 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น


คําตอบ 2 : ประวัติเครื่องจักร


คําตอบ 3 : คูมือการใชงาน (Manual) ของเครื่องจักร
คําตอบ 4 : วิธีการบํารุงรักษาปองกัน

กร ข
ขอที่ : 313


ิ ว
าว
ขอมูลที่ควรเก็บไวในรายการเกี่ยวกับเครื่องจักรไดแก


คําตอบ 1 : รายชื่อพนักงานผูควบคุมเครื่องจักรนั้น


คําตอบ 2 : ประวัติเครื่องจักร
คําตอบ 3 : รหัสของเครื่องจักร
คําตอบ 4 : วิธีการบํารุงรักษาปองกัน

ขอที่ : 314
ขอใดที่ถือวาเปนงานซอมบํารุงปองกันทางออม (Indirect PM)
74 of 118
คําตอบ 1 : การเปลี่ยนชิ้นสวนของเครื่องจักรที่หมดอายุ
คําตอบ 2 : การยกเครื่อง
คําตอบ 3 : การตรวจสอบสภาพเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 315
ขอใดเปนสิ่งที่พนักงานตรวจสอบเครื่องจักร (PM Inspector) ควรทําเมื่อพบขอบกพรองเล็กนอยที่สามารถแกไขไดโดยงาย
คําตอบ 1 : แกไขขอบกพรองนั้นแลวทํารายงาน

่ า ย

คําตอบ 2 : ออกใบแจงซอม


คําตอบ 3 : สั่งใหหยุดเครื่อง

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
316
ขอใดเปนสิ่งที่พนักงานตรวจสอบเครื่องจักร (PM Inspector) ควรทําเมื่อพบขอบกพรองที่ตองมีการวินิจฉัยสาเหตุหรือตองเปลี่ยนชิ้นสวนอะไหล
คําตอบ 1 : แกไขขอบกพรองนั้นแลวทํารายงาน

ิท
คําตอบ 2 : ออกใบแจงซอม


คําตอบ 3 : สั่งใหหยุดเครื่อง

ว น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ส ง

ขอที่ : 317


ขอใดเปนเอกสารที่มักระบุวิธีการและความถี่ในการซอมบํารุงปองกัน

กร
คําตอบ 1 : มาตรฐานงานซอมบํารุงปองกัน


คําตอบ 2 : กําหนดการซอมบํารุงปองกัน



คําตอบ 3 : ใบสั่งงานซอมบํารุงปองกัน

าว
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 318

ส ภ
ขอใดเปนประโยชนของการซอมบํารุงปองกัน
คําตอบ 1 : ลดการชํารุดขัดของของเครื่องจักรและการสูญเสียผลผลิต
คําตอบ 2 : ลดงานซอมฉุกเฉิน งานซอมใหญ
คําตอบ 3 : ลดการใชอะไหลและขนาดคงคลังอะไหล
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก
75 of 118
ขอที่ : 319
ขอใดเปนถือวาเปนงานซอมบํารุงประจํา (Routine maintenance)
คําตอบ 1 : การหลอลื่นและการตรวจสอบสภาพเครื่องจักร
คําตอบ 2 : การหลอลื่นและการเปลี่ยนชิ้นสวนที่หมดอายุ
คําตอบ 3 : การทําความสะอาดและการหลอลื่นเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย

ขอที่ : 320


ขอใดเปนการตรวจสอบแบบภาวะวิสัย (Objective inspection)

จ ำ
คําตอบ 1 : การฟงเสียงของเครื่องจักรขณะทํางาน


คําตอบ 2 : การวัดและวิเคราะหการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร

า้
คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ 1 และ 2

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 321


ขอใดเปนงานที่ชวยใหระบบซอมบํารุงปองกันมีประสิทธิผล

ว น
คําตอบ 1 : การตรวจสอบสภาพเครื่องจักร


คําตอบ 2 : การเปลี่ยนชิ้นสวนตามระยะเวลาที่กําหนดไว


คําตอบ 3 : การยกเครื่องหรือทําการซอมใหญทุกป


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

กร ข

ขอที่ : 322



ขอใดเปนเวลาที่เปนโอกาสในการตรวจสอบสภาพเครื่องจักร

าว
คําตอบ 1 : ขณะเดินเครื่อง


คําตอบ 2 : ขณะหยุดเครื่อง / ปดซอม


คําตอบ 3 : ขณะทําการซอมใหญ
คําตอบ 4 : ทั้งสามขอประกอบกัน

ขอที่ : 323
ขอใดเปนบุคลากรที่ควรไดรับมอบหมายใหตรวจสอบสภาพเครื่องจักร
คําตอบ 1 : พนักงาน หรือ หัวหนางานในผายผลิต
76 of 118
คําตอบ 2 : ชางซอมบํารุง
คําตอบ 3 : พนักงานตรวจสภาพเครื่องจักร
คําตอบ 4 : จัดตามความเหมาะสมจากสามขอขางตน

ขอที่ : 324
ขอใดเปนขอดีของการตรวจวัดสภาพแบบใชประสาทสัมผัสและความชํานาญ (Subjective Condition Monitoring)
คําตอบ 1 : ไดผลแนนอนกวา
คําตอบ 2 : เก็บประวัติไดงายกวา

่ า ย

คําตอบ 3 : ใชเงินลงทุนนอย


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

จ ำ

ขอที่ :

า้
325
ขอใดเปนเงื่อนไขที่ทําใหตองติดเครื่องมือตรวจสอบสภาพเครื่องไวประจําเครื่องจักรที่มีความสําคัญ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เครื่องจักรมีราคาแพง
คําตอบ 2 : ชวงเวลาบอกเตือนเหตุขัดของลวงหนาสั้น

ิท
คําตอบ 3 : ไมมีพนักงานอยูประจําเครื่องจักรนั้น


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

ง ว น

326


ขอใดเปนเอกสารในระบบซอมบํารุงปองกันที่อาจจัดทําในรูปของรายการตรวจสอบได


คําตอบ 1 : มาตรฐานซอมบํารุงปองกัน

กร
คําตอบ 2 : กําหนดการซอมบํารุงปองกัน


คําตอบ 3 : ใบสั่งงานซอมบํารุงปองกัน



คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 327

ภ าว

ขอใดเปนเอกสารอางอิงรายการแรกที่ควรใชในการจัดทํามาตรฐานซอมบํารุงปองกัน
คําตอบ 1 : คูมือบํารุงรักษาเครื่องจักร
คําตอบ 2 : ประวัติ / บันทึกการซอมบํารุงเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ตําราทางเทคนิค
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

77 of 118
ขอที่ : 328
ขอใดเปนชวงเวลาที่กําหนดการซอมบํารุงปองกัน (PM schedule) มักจะครอบคลุม
คําตอบ 1 : 1 สัปดาห
คําตอบ 2 : 1 เดือน
คําตอบ 3 : 1 ป
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย
ขอที่ : 329


ขอใดเปนความถี่ในการทํางานซอมบํารุงปองกันที่ไมเปนที่นิยมใชกัน


คําตอบ 1 : ทุก 1 สัปดาห

จ ำ
คําตอบ 2 : ทุก 2 สัปดาห


คําตอบ 3 : ทุก 3 สัปดาห

า้
คําตอบ 4 : ทุก 4 สัปดาห

ขอที่ : 330
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนสัปดาหที่จะตองตรวจสภาพเครื่องจักรที่ตองทําเปนประจําทุก 4 สัปดาห หากกําหนดใหเริ่มทํางานนี้ครั้งแรกของปในสัปดาหที่ 3


คําตอบ 1 : สัปดาหที่ 31

ว น
คําตอบ 2 : สัปดาหที่ 32


คําตอบ 3 : สัปดาหที่ 33


คําตอบ 4 : สัปดาหที่ 34

ขอ
กร
ขอที่ : 331


ขอใดเปนสัปดาหที่จะตองตรวจสภาพเครื่องจักรที่ตองทําเปนประจําทุกไตรมาส หากกําหนดใหเริ่มทํางานนี้ครั้งแรกในสัปดาหที่ 3



คําตอบ 1 : สัปดาหที่ 27

าว
คําตอบ 2 : สัปดาหที่ 29


คําตอบ 3 : สัปดาหที่ 31


คําตอบ 4 : สัปดาหที่ 33

ขอที่ : 332
ขอใดเปนสัปดาหที่จะตองตรวจสภาพเครื่องจักรที่ตองทําเปนประจําทุก 4 สัปดาห เปนครั้งแรกของป หากมีกําหนดใหมีการทํางานนี้ในสัปดาหที่ 34 รวมอยูดวย
คําตอบ 1 : สัปดาหที่ 1
คําตอบ 2 : สัปดาหที่ 2
78 of 118
คําตอบ 3 : สัปดาหที่ 3
คําตอบ 4 : สัปดาหที่ 4

ขอที่ : 333
ขอใดเปนสัปดาหที่จะตองตรวจสภาพเครื่องจักรที่ตองทําเปนประจําทุกไตรมาสเปนครั้งแรกของป หากกําหนดใหทํางานนี้สัปดาหที่ 37 รวมอยูดวย
คําตอบ 1 : สัปดาหที่ 5
คําตอบ 2 : สัปดาหที่ 7
คําตอบ 3 : สัปดาหที่ 9

่ า ย

คําตอบ 4 : สัปดาหที่ 11

ขอที่ : 334

จ ำ ห

ขอใดเปนตนทุนรวมที่ตองนํามาคํานวณเพื่อกําหนดชวงเวลาที่ประหยัดที่สุดในการทํางานซอมบํารุงปองกัน (Optimum PM interval)

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ตนทุนในงานซอมบํารุงปองกัน กับ ตนทุนอะไหลและอุปกรณ
คําตอบ 2 : ตนทุนในงานซอมบํารุงปองกัน กับ ตนทุนคาเสื่อมราคาของเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ตนทุนในงานซอมบํารุงปองกัน กับ ตนทุนในการเกิดเหตุชํารุดขัดของ

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

นส

ขอที่ : 335


ขอใดเปนภาระงานตลอดทั้งปของงานซอมบํารุงปองกันที่ตองทําทุกสัปดาห และแตละครั้งจะตองใชเวลา 10 นาที
คําตอบ 1 : 8 ชั่วโมง 20 นาที

อ ส

คําตอบ 2 : 8 ชั่วโมง 30 นาที

กร
คําตอบ 3 : 8 ชั่วโมง 40 นาที


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 336

าว ศ


ขอใดเปนภาระงานตลอดทั้งปของงานซอมบํารุงปองกันที่ตองทําทุก 4 สัปดาห และแตละครั้งจะตองใชเวลา 15 นาที


คําตอบ 1 : 3 ชั่วโมง 15 นาที
คําตอบ 2 : 3 ชั่วโมง 30 นาที
คําตอบ 3 : 3 ชั่วโมง 45 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 337 79 of 118


ขอใดเปนภาระงานตลอดทั้งปของงานซอมบํารุงปองกันที่ตองทําทุกไตรมาส และแตละครั้งจะตองใชเวลา 25 นาที 15 วินาที
คําตอบ 1 : 1 ชั่วโมง 11 นาที
คําตอบ 2 : 1 ชั่วโมง 21 นาที
คําตอบ 3 : 1 ชั่วโมง 31 นาที
คําตอบ 4 : 1 ชั่วโมง 41 นาที

ขอที่ : 338

่ า ย
ขอใดเปนลักษณะของการจัดฝายซอมบํารุงแบบรวมศูนย (Centralization)


คําตอบ 1 : จัดใหมีชางซอมบํารุงประจําเครื่อง


คําตอบ 2 : จัดใหมีชางซอมประจําพื้นที่

จ ำ
คําตอบ 3 : จัดใหชางซอมทํางานทดแทนกันได


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 339
ขอใดเปนการจัดฝายซอมบํารุงแบบกระจายศูนย (Decentralization)

ิท
คําตอบ 1 : จัดใหชางไฟฟาทั้งหมดสังกัดอยูในแผนกเดียวกัน


คําตอบ 2 : จัดใหมีชางซอมประจําพื้นที่

ว น
คําตอบ 3 : จัดใหชางซอมทํางานทดแทนกันได


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

อ ส

ขอที่ : 340

กร
ขอใดที่ไมใชขอดีของการจัดฝายซอมบํารุงแบบรวมศูนย (Centralization)


คําตอบ 1 : ชางซอมบํารุงสามารถทํางานทดแทนกันได



คําตอบ 2 : การควบคุมงานทางดานเทคนิคทําไดดีขึ้น

าว
คําตอบ 3 : ความชํานาญในงานซอมบํารุงเฉพาะเครื่อง ของชาง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 341

ขอใดที่ไมใชขอดีของการจัดฝายซอมบํารุงแบบกระจายศูนย (Decentralization)
คําตอบ 1 : ชางซอมบํารุงสามารถทํางานทดแทนกันได
คําตอบ 2 : ชางซอมมีความสัมพันธใกลชิดกับผูใชเครื่อง
คําตอบ 3 : ความชํานาญ ในงานซอมบํารุงเฉพาะเครื่องของชาง
80 of 118
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
ขอที่ : 342
ขอใดเปนขอดีของการใหชางซอมเครื่องกลอยูในสังกัดหนวยเดียวกัน
คําตอบ 1 : การประสานงานระหวางชางซอมเครื่องกลกับชางอื่นๆ ทําไดดีขึ้น
คําตอบ 2 : การควบคุมดูแลทางดานเทคนิคทําไดดีขึ้น
คําตอบ 3 : การเขาพื้นที่เพื่อทํางานซอมทําไดอยางรวดเร็ว


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

น่ า

ขอที่ : 343


ขอใดเปนขอดีของการใหชางซอมบํารุงไฟฟาอยูในสังกัดรวมกับชางอื่นๆในพื้นที่เดียวกัน
คําตอบ 1 : การประสานงานซอมในพื้นที่ทําไดดีขึ้น

มจ
า้
คําตอบ 2 : การควบคุมดูแลทางดานเทคนิคทําไดดีขึ้น

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การพัฒนาทักษะในงานซอมไฟฟาทําไดดีขึ้น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 344

ส ิท
ว น
ขอใดเปนงานซอมบํารุงที่สามารถมอบหมายใหเปนความรับผิดชอบของฝายผลิตได


คําตอบ 1 : งานฟนฟูสภาพเครื่องจักรหรือยกเครื่อง


คําตอบ 2 : งานซอมแซมเครื่องจักรที่ชํารุดขัดของ


คําตอบ 3 : งานตรวจสอบสภาพเครื่องจักรประจําวัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

กร ข
ขอที่ : 345


ิ ว
าว
ขอใดเปนประเภทของงานงานซอมบํารุงที่ควรเปนภารกิจหลักของโรงงาน


คําตอบ 1 : งานฟนฟูสภาพเครื่องจักรหรือยกเครื่อง


คําตอบ 2 : งานซอมแซมเครื่องจักรที่ชํารุดขัดของ
คําตอบ 3 : งานเปลี่ยนทดแทนเครื่องจักรที่ชํารุดขัดของบอยๆ
คําตอบ 4 : งานซอมบํารุงปองกัน

ขอที่ : 346
ขอใดเปนเครื่องมือที่ใชชี้บง โครงสราง สายการบังคับบัญชา และความสัมพันธในการทํางานระหวางหนวยงาน
81 of 118
คําตอบ 1 : พรรณาลักษณะงาน
คําตอบ 2 : คุณลักษณะเฉพาะของงาน
คําตอบ 3 : แผนภูมิองคกร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 347
ขอใดเปนเครื่องมือที่ใชชี้บงหนาที่และความรับผิดชอบในการทํางาน
คําตอบ 1 : พรรณาลักษณะงาน

่ า ย

คําตอบ 2 : คุณลักษณะเฉพาะของงาน


คําตอบ 3 : แผนภูมิองคกร

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
348
หลักการจายคาตอบแทนชางซอมบํารุงที่ดี คืออะไร
คําตอบ 1 : เพียงพอสําหรับการครองชีพ

ิท
คําตอบ 2 : แขงขันไดในตลาด


คําตอบ 3 : เปนธรรมกับคาของงาน

ว น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ส ง

ขอที่ : 349


ขอใดเปนวิธีการที่จะชวยใหกําหนดคาตอบแทนชางซอมบํารุงไดอยางเปนธรรม

กร
คําตอบ 1 : การคัดเลือกชางซอมบํารุง


คําตอบ 2 : การประเมินคาของงาน



คําตอบ 3 : การประเมินผลปฏิบัติงาน

าว
คําตอบ 4 : การใหคําปรึกษาแนะนํา

ขอที่ : 350

ส ภ
ขอใดที่ไมใชเงื่อนไขของงานซอมบํารุงที่สมควรจะดําเนินการโดยใชการจางเหมา
คําตอบ 1 : งานที่ไมปลอดภัยหรือเสี่ยงตอการเกิดอุบัติภัย
คําตอบ 2 : งานที่ขาดชางที่มีความชํานาญ
คําตอบ 3 : งานที่ขาดเครื่องมือหรืออุปกรณที่จําเปนในการดําเนินงาน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
82 of 118
ขอที่ : 351
ขอใดที่เปนประโยชนของงานซอมบํารุงที่ใชการจางเหมา
คําตอบ 1 : ทําใหควบคุมคุณภาพงานซอมไดดีขึ้น
คําตอบ 2 : ทําใหงานซอมบํารุงมีความปลอดภัยขึ้น
คําตอบ 3 : ทําใหภาระงานซอมลดนอยลง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

่ า ย

ขอที่ : 352


ขอใดเปนประโยชนที่สําคัญของสนับสนุนงานซอมบํารุง เชน งานวางแผนงานซอมบํารุง งานระบบสารสนเทศงานซอมบํารุง งานตนทุนและงบประมาณซอมบํารุง ฯลฯ

จ ำ
คําตอบ 1 : ทําใหงานซอมมีประสิทธิภาพ


คําตอบ 2 : ทําใหมีขอมูล สารสนเทศ ที่ทําใหตัดสินใจไดดีขึ้น

า้
คําตอบ 3 : ทําใหควบคุมงานซอมบํารุงไดดี

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ิท
ขอที่ : 353


ขอใดเปนสายงานหลักงานซอมบํารุงที่มีความสําคัญ ที่มีสวนชวยงานซอมบํารุงดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิผล

ว น
คําตอบ 1 : งานวางแผนการซอมบํารุง


คําตอบ 2 : งานซอมบํารุงปองกัน


คําตอบ 3 : งานสารสนเทศระบบซอมบํารุง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

กร ข

ขอที่ : 354



ขอใดเปนงานสนับสนุนงานซอมบํารุงที่มีความสําคัญ ที่มีสวนชวยงานซอมบํารุงดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิผล

าว
คําตอบ 1 : งานวางแผนการซอมบํารุง


คําตอบ 2 : งานซอมบํารุงไฟฟา


คําตอบ 3 : งานซอมบํารุงเครื่องกล
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 355
เครื่องจักรมีงานซอมบํารุงปองกันประจําวันๆละ 15 นาที จะมีภาระงานนี้ตลอดทั้งปเทาไร หากโรงงานที่เปดทํางาน ปละ 365 วัน
คําตอบ 1 : 54.75 ชั่วโมง-คน
83 of 118
คําตอบ 2 : 91.25 ชั่วโมง-คน
คําตอบ 3 : 5,475 ชั่วโมง-คน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 356
เครื่องจักรกลุมหนึ่งจํานวนสิบเครื่องของโรงงานมีงานซอมบํารุงปองกันประจําวันๆ ละ 12 นาที จะมีภาระงานนี้ตลอดทั้งปเทาไร หากโรงงานที่เปดทํางาน ปละ 340 วัน
คําตอบ 1 : 408 ชั่วโมง-คน
คําตอบ 2 : 680 ชั่วโมง-คน

่ า ย

คําตอบ 3 : 782 ชั่วโมง-คน


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

จ ำ

ขอที่ :

า้
357
เครื่องจักรกลุมหนึ่งจํานวนสิบเครื่องของโรงงานมีงานซอมบํารุงปองกันประจําสัปดาหๆ ละ 60 นาที จะมีภาระงานนี้ตลอดทั้งปเทาใด หากโรงงานเปดทํางานปละ 50 สัปดาห

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 500 ชั่วโมง-คน
คําตอบ 2 : 520 ชั่วโมง-คน

ิท
คําตอบ 3 : 730 ชั่วโมง-คน


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

ง ว น

358


งานหลอลื่นเครื่องจักรควรเปนภาระงานของหนวยงานใด


คําตอบ 1 : แผนกผลิต

กร
คําตอบ 2 : แผนกบํารุงรักษาเครื่องกล


คําตอบ 3 : แผนกบํารุงรักษาปองกัน (P.M.)



คําตอบ 4 : อาจเปนไดทุกขอ

ขอที่ : 359

ภ าว

แผนกงานใดในฝายบํารุงรักษาที่มีลักษณะการวางแผนเชนเดียวกับลักษณะการจัดการงานผลิต
คําตอบ 1 : แผนกเครื่องกําเนิดไอน้ํา(Boiler)
คําตอบ 2 : แผนกบํารุงรักษาปองกัน (P.M.)
คําตอบ 3 : แผนกบํารุงรักษาเครื่องกล
คําตอบ 4 : แผนกเครื่องมือวัดและควบคุม

84 of 118
ขอที่ : 360
แผนกงานใดในฝายบํารุงรักษาที่มีลักษณะการวางแผนเชนเดียวกับลักษณะการจัดการงานผลิต
คําตอบ 1 : แผนกบํารุงรักษาปองกัน (P.M.)
คําตอบ 2 : แผนกบํารุงรักษาเครื่องกล
คําตอบ 3 : โรงซอม (Workshop)
คําตอบ 4 : แผนกเครื่องมือวัดและควบคุม

่ า ย
ขอที่ : 361


แผนกงานใดในฝายบํารุงรักษาที่มีลักษณะการวางแผนเชนเดียวกับลักษณะการจัดการงานผลิต


คําตอบ 1 : แผนกบํารุงรักษาปองกัน (P.M.)

จ ำ
คําตอบ 2 : แผนกบํารุงรักษาเครื่องกล


คําตอบ 3 : โรงไฟฟา (Power plant)

า้
คําตอบ 4 : แผนกเครื่องมือวัดและควบคุม

ขอที่ : 362
ิธ์ ห
ิท
หนวยงานบํารุงรักษาใดที่จัดวาเปนหนวยงานซึ่งจัดองคการตามลักษณะหนาที่งาน (function)


คําตอบ 1 : หนวยซอมประจํากะ

ว น
คําตอบ 2 : หนวยชางบํารุงรักษาเครื่องกล


คําตอบ 3 : แผนกซอมบํารุงโรงงานที่ 1


คําตอบ 4 : หนวยบํารุงรักษาสํานักงาน

ขอ
กร
ขอที่ : 363


หนวยงานบํารุงรักษาใดที่จัดวาเปนหนวยงานซึ่งจัดองคการตามลักษณะหนาที่งาน (function)



คําตอบ 1 : แผนกซอมบํารุงโรงงานที่1

าว
คําตอบ 2 : หนวยซอมประจํากะ


คําตอบ 3 : แผนกบํารุงรักษาไฟฟา


คําตอบ 4 : หนวยบํารุงรักษาสํานักงาน

ขอที่ : 364
หนวยงานบํารุงรักษาใดที่จัดวาเปนหนวยงานซึ่งจัดองคการตามลักษณะหนาที่งาน (function)
คําตอบ 1 : หนวยบํารุงรักษาสํานักงาน
คําตอบ 2 : หนวยซอมประจํากะ
85 of 118
คําตอบ 3 : แผนกบํารุงรักษาเครื่องมือวัด
คําตอบ 4 : แผนกซอมบํารุงโรงงานที่ 1

ขอที่ : 365
การจัดองคการบํารุงรักษาแบบกระจายศูนย (Decentralized organization) เหมาะกับหนวยงานที่มีลักษณะสําคัญในขอใด
คําตอบ 1 : รับผิดชอบพื้นที่กวาง
คําตอบ 2 : ตองใชความเชี่ยวชาญของชางแตละดานมาก
คําตอบ 3 : มีชางจํานวนไมมาก

่ า ย

คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 366

จ ำ ห

การจัดองคการบํารุงรักษาแบบกระจายศูนย (Decentralized organization) เหมาะกับหนวยงานที่มีลักษณะสําคัญในขอใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : รับผิดชอบพื้นที่ที่ไมกวางมาก
คําตอบ 2 : ตองใชความเชี่ยวชาญของชางแตละดานมาก
คําตอบ 3 : มีชางจํานวนมาก

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

นส

ขอที่ : 367


การจัดองคการบํารุงรักษาแบบรวมศูนย (centralized organization) เหมาะกับหนวยงานที่มีลักษณะสําคัญในขอใด
คําตอบ 1 : รับผิดชอบพื้นที่ที่ไมกวางมาก

อ ส

คําตอบ 2 : ตองใชความเชี่ยวชาญของชางแตละดานมาก

กร
คําตอบ 3 : มีชางจํานวนไมมาก


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 368

าว ศ


สายพาน v-belt จะจัดไวในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด


คําตอบ 1 : อะไหลเครื่องกล
คําตอบ 2 : อะไหลอุปกรณไฟฟา
คําตอบ 3 : เครื่องมือ
คําตอบ 4 : วัสดุสิ้นเปลือง

ขอที่ : 369 86 of 118


Relay จะจัดไวในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด
คําตอบ 1 : อะไหลเครื่องกล
คําตอบ 2 : อะไหลอุปกรณไฟฟา
คําตอบ 3 : เครื่องมือ
คําตอบ 4 : วัสดุสิ้นเปลือง

ขอที่ : 370

่ า ย
น้ํามันเครื่องจะจัดไวในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด


คําตอบ 1 : อะไหลเครื่องกล


คําตอบ 2 : อะไหลอุปกรณไฟฟา

จ ำ
คําตอบ 3 : เครื่องมือ


คําตอบ 4 : วัสดุสิ้นเปลือง

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 371
จาระบีจะจัดไวในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

ิท
คําตอบ 1 : อะไหลเครื่องกล


คําตอบ 2 : อะไหลอุปกรณไฟฟา

ว น
คําตอบ 3 : เครื่องมือ


คําตอบ 4 : วัสดุสิ้นเปลือง

อ ส

ขอที่ : 372

กร
กระดาษทรายจะจัดไวในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด


คําตอบ 1 : อะไหลเครื่องกล



คําตอบ 2 : อะไหลอุปกรณไฟฟา

าว
คําตอบ 3 : เครื่องมือ


คําตอบ 4 : วัสดุสิ้นเปลือง

ขอที่ : 373

ดอกสวาน จะจัดไวในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด
คําตอบ 1 : อะไหลเครื่องกล
คําตอบ 2 : อะไหลอุปกรณไฟฟา
คําตอบ 3 : เครื่องมือ
87 of 118
คําตอบ 4 : วัสดุสิ้นเปลือง
ขอที่ : 374
valve จะจัดไวในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด
คําตอบ 1 : อะไหลเครื่องกล
คําตอบ 2 : อะไหลอุปกรณไฟฟา
คําตอบ 3 : เครื่องมือ


คําตอบ 4 : วัสดุสิ้นเปลือง

น่ า

ขอที่ : 375


ในการพิจารณาวาจัดเก็บ stock ของวัสดุไว ถาเปนวัสดุประเภท c ตองนําคาใชจายใดมาพิจารณา
คําตอบ 1 : คาใชจายในการเก็บรักษา

มจ
า้
คําตอบ 2 : คาใชจายในการสั่งซื้อ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : คาใชจายเมื่อเครื่องจักรเสียและตองใชชิ้นสวนนั้น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 376

ส ิท
ว น
ในการพิจารณาวาจัดเก็บ stock ของชิ้นสวนอะไหลไว ถาเปนวัสดุประเภท A ตองนําคาใชจายใดมาพิจารณา


คําตอบ 1 : คาใชจายในการเก็บรักษา


คําตอบ 2 : คาใชจายในการสั่งซื้อ


คําตอบ 3 : คาใชจายเมื่อเครื่องจักรเสียและตองใชชิ้นสวนนั้น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

กร ข
ขอที่ : 377


ิ ว
าว
วัสดุที่จัดวาเปนวัสดุประเภท C นั้น มีลักษณะตรงกับขอใด


คําตอบ 1 : อยูในกลุมที่มีมูลคาในสต็อก 80% ของมูลคาสต็อกทั้งหมดและมีจํานวนรายการเพียง 20 %ของจํานวนวัสดุทั้งหมด


คําตอบ 2 : อยูในกลุมที่มีมูลคาในสต็อก 60% และมีจํานวนรายการเพียง 40 %ของมูลคาสต็อกทั้งหมด
คําตอบ 3 : อยูในกลุมที่มีมูลคาในสต็อก 40% และมีจํานวนรายการ 60 %ของมูลคาสต็อกทั้งหมด
คําตอบ 4 : อยูในกลุมที่มีมูลคาในสต็อก 20% และมีจํานวนรายการ 80 %ของมูลคาสต็อกทั้งหมด

ขอที่ : 378
วัสดุที่จัดวาเปนวัสดุประเภท A นั้น มีลักษณะตรงกับขอใด
88 of 118
คําตอบ 1 : อยูในกลุมที่มีมูลคาในสต็อก 80% ของมูลคาสต็อกทั้งหมดและมีจํานวนรายการเพียง 20 %ของจํานวนวัสดุทั้งหมด
คําตอบ 2 : อยูในกลุมที่มีมูลคาในสต็อก 60% และมีจํานวนรายการเพียง 40 %ของมูลคาสต็อกทั้งหมด
คําตอบ 3 : อยูในกลุมที่มีมูลคาในสต็อก 40% และมีจํานวนรายการ 60 %ของมูลคาสต็อกทั้งหมด
คําตอบ 4 : อยูในกลุมที่มีมูลคาในสต็อก 20% และมีจํานวนรายการ 80 %ของมูลคาสต็อกทั้งหมด

ขอที่ : 379
วัสดุประเภทใดที่ควรจัดเก็บในคลังที่แยกตางหากจากวัสดุประเภทอื่น
คําตอบ 1 : ชิ้นสวนอะไหลไฟฟา

่ า ย

คําตอบ 2 : ชิ้นสวนอะไหลเครื่องกล


คําตอบ 3 : น้ํามันหลอลื่น

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
380
วัสดุประเภทใดที่ควรจัดเก็บในคลังที่แยกตางหากจากวัสดุประเภทอื่น
คําตอบ 1 : ชิ้นสวนอะไหลไฟฟา

ิท
คําตอบ 2 : ชิ้นสวนอะไหลเครื่องกล


คําตอบ 3 : วัสดุกอสราง

ว น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ส ง

ขอที่ : 381


วัสดุสิ้นเปลือง ควรกําหนดรหัสจําแนกตามขอใด

กร
คําตอบ 1 : รหัสของผูผลิต


คําตอบ 2 : ประเภทเครื่องจักรที่ใชวัสดุนั้น



คําตอบ 3 : แผนกผลิต

าว
คําตอบ 4 : เนื้อวัสดุ

ขอที่ : 382

ส ภ
วัสดุใดที่เหมาะที่จะควบคุมดวยวิธี 2-bin method
คําตอบ 1 : เฟองเกียร
คําตอบ 2 : น้ํามันเกียร
คําตอบ 3 : สายพาน
คําตอบ 4 : นอตสกรู
89 of 118
ขอที่ : 383
ในการควบคุมวัสดุโดยใชระบบ 2-bin นั้น จะมีการสั่งวัสดุเมื่อระดับวัสดุคงคลังมีคาเทากับขอใด
คําตอบ 1 : ปริมาณที่สั่งในแตละครั้ง
คําตอบ 2 : ครึ่งหนึ่งของระดับสินคาคงคลังเฉลี่ย
คําตอบ 3 : สองเทาของระดับสินคาคงคลังเฉลี่ย
คําตอบ 4 : ศูนย

่ า ย

ขอที่ : 384


ในการควบคุมวัสดุโดยใชระบบ 2-bin นั้น จะมีระดับจุดสั่งซื้อ เทากับเทาใด

จ ำ
คําตอบ 1 : ปริมาณที่สั่งในแตละครั้ง


คําตอบ 2 : ครึ่งหนึ่งของระดับสินคาคงคลังเฉลี่ย

า้
คําตอบ 3 : สองเทาของระดับสินคาคงคลังเฉลี่ย

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ศูนย

ิท
ขอที่ : 385


ความแตกตางที่สําคัญประการหนึ่ง ระหวางการตัดสินใจในการควบคุมวัสดุในการผลิตกับการควบคุมวัสดุอะไหลประเภท A และ B คือขอใด

ว น
คําตอบ 1 : วัสดุอะไหลสามารถเก็บไดนานกวา


คําตอบ 2 : วัสดุอะไหลมีราคาสูงกวาวัสดุในการผลิตมาก


คําตอบ 3 : การควบคุมวัสดุอะไหลตองพิจารณาถึงความสูญเสียเมื่อขาดชิ้นสวนนั้นเวลาที่เครื่องเสีย


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

กร ข

ขอที่ : 386



ความแตกตางที่สําคัญประการหนึ่ง ระหวางการตัดสินใจในการควบคุมวัสดุในการผลิตกับการควบคุมวัสดุอะไหลประเภท A และ B คือขอใด

าว
คําตอบ 1 : วัสดุอะไหลสามารถเก็บไดนานกวา


คําตอบ 2 : วัสดุอะไหลมีราคาสูงกวาวัสดุในการผลิตมาก


คําตอบ 3 : อัตราการใชวัสดุอะไหลไมแนนอน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 387
ในการเบิกอะไหลไปใชงานนั้น คลังอะไหลจะจายอะไหลใหได ตองมีขอมูลสําคัญอะไรบาง
คําตอบ 1 : แผนกที่เบิก
90 of 118
คําตอบ 2 : แผนกผลิตที่นําอะไหลไปใช
คําตอบ 3 : ตําแหนงที่ตั้งของเครื่องจักร
คําตอบ 4 : หมายเลขที่งานบํารุงรักษา

ขอที่ : 388
วัสดุมีอัตราการใชเฉลี่ย ชิ้นละ 12 วัน และมีระยะเวลาในการสั่ง 30 วัน ควรสั่งวัสดุนี้เมื่อระดับวัสดุคงคลังลดลงเหลือเทาใด
คําตอบ 1 : 30 หนวย
คําตอบ 2 : 12 หนวย

่ า ย

คําตอบ 3 : 3 หนวย


คําตอบ 4 : 2 หนวย

จ ำ

ขอที่ :

า้
389
วัสดุใดที่เหมาะที่จะควบคุมดวยวิธี 2-bin method

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เฟองเกียร
คําตอบ 2 : น้ํามันเกียร

ิท
คําตอบ 3 : สายพาน


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

ง ว น

390


วัสดุที่ชางอาจเบิกมาเก็บไวใชไดมากกวาจํานวนที่ตองใชในแตละงานควรเปนวัสดุประเภทใด


คําตอบ 1 : วัสดุประเภท A

กร
คําตอบ 2 : วัสดุประเภท B


คําตอบ 3 : วัสดุประเภท C



คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 391

ภ าว

วัสดุใดที่ไมเหมาะที่จะควบคุมดวยวิธี 2-bin method
คําตอบ 1 : นอต
คําตอบ 2 : กระดาษทราย
คําตอบ 3 : ประแจขันนอต
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

91 of 118
ขอที่ : 392
องคประกอบในการพิจารณาสั่งเครื่องมือชาง ไดแกขอใด
คําตอบ 1 : คาใชจายในการบํารุงรักษา
คําตอบ 2 : คาใชจายในการเก็บรักษา
คําตอบ 3 : ความจําเปนในการใชงาน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

่ า ย
ขอที่ : 393


ตัวแบบ Economic order quantity (EOQ) เหมาะที่จะใชในการตัดสินใจกับวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด


คําตอบ 1 : น้ํามันหลอลื่น

จ ำ
คําตอบ 2 : ชิ้นสวนอะไหลที่มีความสําคัญ


คําตอบ 3 : ชิ้นสวนอะไหลประเภท A

า้
คําตอบ 4 : ชิ้นสวนอะไหลที่ผลิตใชเอง

ขอที่ : 394
ิธ์ ห
ิท
ตัวแบบ Economic order quantity (EOQ) เหมาะที่จะใชในการตัดสินใจกับวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด


คําตอบ 1 : ชิ้นสวนอะไหลประเภท A

ว น
คําตอบ 2 : ชิ้นสวนอะไหลที่มีความสําคัญ


คําตอบ 3 : ชิ้นสวนอะไหลที่ผลิตใชเอง


คําตอบ 4 : วัสดุสิ้นเปลือง

ขอ
กร
ขอที่ : 395


ตัวแบบ Economic order quantity (EOQ) เหมาะที่จะใชในการตัดสินใจกับวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด



คําตอบ 1 : ชิ้นสวนอะไหลที่ผลิตใชเอง

าว
คําตอบ 2 : ชิ้นสวนอะไหลที่มีอัตราการใชนอย


คําตอบ 3 : ชิ้นสวนอะไหลประเภท A


คําตอบ 4 : ชิ้นสวนอะไหลที่มีอัตราการใชมาก

ขอที่ : 396
ตัวแบบ Economic order quantity (EOQ) เหมาะที่จะใชในการตัดสินใจกับวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด
คําตอบ 1 : ชิ้นสวนอะไหลที่ผลิตใชเอง
คําตอบ 2 : เครื่องมือชาง
92 of 118
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนอะไหลประเภท A
คําตอบ 4 : ชิ้นสวนอะไหลที่มีอัตราการใชคอนขางคงที่

ขอที่ : 397
ตัวแบบ Economic order quantity (EOQ) เหมาะที่จะใชในการตัดสินใจกับวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด
คําตอบ 1 : ชิ้นสวนอะไหลที่ผลิตใชเอง
คําตอบ 2 : เครื่องมือชาง
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนอะไหลประเภท C

่ า ย

คําตอบ 4 : ชิ้นสวนอะไหลที่มีอัตราการใชไมแนนอน

ขอที่ : 398

จ ำ ห

ตัวแบบ Economic order quantity (EOQ) เหมาะที่จะใชในการตัดสินใจกับวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ชิ้นสวนอะไหลที่ผลิตใชเอง
คําตอบ 2 : เครื่องมือชาง
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนอะไหลในงาน P.M.

ิท
คําตอบ 4 : ชิ้นสวนอะไหลที่มีอัตราการใชไมแนนอน

นส

ขอที่ : 399


องคประกอบที่ไมตองนํามาพิจารณาในการตัดสินใจเกี่ยวกับชิ้นสวนอะไหลประเภท A และ B คือขอใด
คําตอบ 1 : คาใชจายในการเก็บรักษา

อ ส

คําตอบ 2 : อัตราการหมุนเวียน

กร
คําตอบ 3 : คาใชจายในการสั่งซื้อ


คําตอบ 4 : ความสูญเสียเมื่อขาดอะไหลตอนที่เครื่องเสีย

ขอที่ : 400

าว ศ


องคประกอบที่ไมตองนํามาพิจารณาในการตัดสินใจเกี่ยวกับชิ้นสวนอะไหลประเภท A และ B คือขอใด


คําตอบ 1 : คาใชจายในการเก็บรักษา
คําตอบ 2 : ความสูญเสียเมื่อขาดอะไหลตอนที่เครื่องเสีย
คําตอบ 3 : คาใชจายในการสั่งซื้อ
คําตอบ 4 : ความสูญเสียเมื่ออะไหลลาสมัยหรือหมดอายุใชไมได

ขอที่ : 401 93 of 118

วัสดุมีอัตราการใชเฉลี่ย หนวยละ 12 วัน และมีระยะเวลาในการสั่ง 30 วัน ถาตองการใหระดับวัสดุคงคลังต่ําสุด (safety stock) = 10 หนวย ควรสั่งวัสดุนี้เมื่อระดับวัสดุคงคลังลดลง
เหลือเทาใด
คําตอบ 1 : 30 หนวย
คําตอบ 2 : 13 หนวย
คําตอบ 3 : 10 หนวย
คําตอบ 4 : 3 หนวย

่ า ย
ขอที่ : 402


ขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดเวลารอคอยในงานซอมบํารุง


คําตอบ 1 : อะไหลขาดมือ

จ ำ
คําตอบ 2 : มีชางนอยกวาภาระงานซอมบํารุง


คําตอบ 3 : ขาดการวางแผนงานซอมที่มีประสิทธิผล

า้
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 403
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนขอที่มีความสําคัญสูงสุดในการวางแผนและจัดงานซอมบํารุง


คําตอบ 1 : ผลผลิตที่สูญเสียระหวางเครื่องหยุดทํางาน

ว น
คําตอบ 2 : เวลาที่เครื่องหยุดทํางาน


คําตอบ 3 : เวลารอคอยระหวางงานซอมบํารุง


คําตอบ 4 : เวลาที่ใชในงานซอมบํารุง

ขอ
กร
ขอที่ : 404


เครื่องจักรที่หยุดการเดินเครื่องเพราะเหตุชํารุดขัดของเวลา 09.00 น. เริ่มทําการซอมเวลา 13.00 น. ใชเวลาในการซอม 3 ชั่วโมง จะเสียเวลาที่เครื่องหยุดเทาไหร



คําตอบ 1 : 4 ชั่วโมง

าว
คําตอบ 2 : 5 ชั่วโมง


คําตอบ 3 : 7 ชั่วโมง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 405
เครื่องจักรที่หยุดการเดินเครื่องเพราะเหตุชํารุดขัดของเวลา 08.00 น. ไดรับการซอมและเดินเครื่องไดอีกครั้งหนึ่งเวลา 13.00 น. หากการซอมใชเวลา 3 ชั่วโมง เวลารอคอยเปน
เทาไร
คําตอบ 1 : 2 ชั่วโมง
94 of 118
คําตอบ 2 : 3 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 5 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 406
ขอใดคือปริมาณผลผลิตที่สูญเสียของเครื่องจักรที่มีกําลังการผลิต2 ตัน/ชั่วโมง ที่ตองหยุดการเดินเครื่องเพราะเหตุชํารุดขัดของเวลา 08.00 น. เริ่มตนทําการซอมเมื่อเวลา 13.00 น.
และใชเวลาในงานซอม 3 ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 6 ตัน

่ า ย
คําตอบ 2 : 10 ตัน


คําตอบ 3 : 16 ตัน


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

จ ำ

ขอที่ : 407

า้
ควรทําการซอมเครื่องจักรใดกอนในเครื่องจักรเหมือนกันสามเครื่อง (A, B, C) หากเวลาที่เกิดการชํารุด เวลาซอมที่ตองใชเปนตามขอมูลขางลาง เมื่อสามารถทําการซอมไดครั้งละ

ิธ์ ห
หนึ่งเครื่อง
เครื่องจักร เวลาที่เครื่องเสีย (น.) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)
A 04.00 5

ิท
B 05.00 3


C 06.00 4
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
A
B

ง ว น

คําตอบ 3 :


C


คําตอบ 4 : เครื่องใดก็ได

ขอที่ : 408

ว กร


ควรจัดลําดับงานซอมเครื่องจักรอยางไรสําหรับเครื่องจักรเหมือนกันสามเครื่อง (A, B, C) หากเวลาที่เกิดการชํารุด เวลาซอมที่ตองใชเปนตามขอมูลขางลาง เมื่อสามารถทําการซอม

าว
ไดครั้งละหนึ่งเครื่อง
เครื่องจักร เวลาที่เครื่องเสีย (น.) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)

ส ภ
A 04.00 5
B 05.00 3
C 06.00 4
คําตอบ 1 : A-B-C
คําตอบ 2 : B-C-A
คําตอบ 3 : C-A-B
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
95 of 118
ขอที่ : 409
จะเสียเวลาในการเดินเครื่องโดยรวมเทาไร หากจัดลําดับงานซอมเครื่องจักรอยางไรสําหรับเครื่องจักรเหมือนกันสามเครื่องตามลําดับ A-B-C หากเวลาที่เกิดการชํารุด เวลาซอมที่
ตองใชเปนตามขอมูลขางลาง และสามารถทําการซอมไดครั้งละหนึ่งเครื่องโดยเริ่มงานซอมเวลา 08.00 น.
เครื่องจักร เวลาที่เครื่องเสีย (น.) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)
A 04.00 3
B 05.00 1
C 06.00 2

่ า ย
คําตอบ 1 : 6 ชั่วโมง


คําตอบ 2 : 13 ชั่วโมง


คําตอบ 3 : 22 ชั่วโมง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

มจ
า้
ขอที่ : 410

ิธ์ ห
จะเสียผลผลิตโดยรวมเทาไร หากจัดลําดับงานซอมเครื่องจักรอยางถูกตอง สําหรับเครื่องจักรเหมือนกันสามเครื่องทีมีกําลังการผลิตเครื่องละ 2 ตัน/ชั่วโมง หากเวลาที่เกิดการชํารุด
เวลาซอมที่ตองใชเปนตามขอมูลขางลาง และสามารถทําการซอมไดครั้งละหนึ่งเครื่อง
เครื่องจักร เวลาที่เครื่องเสีย (น.) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)

ส ิท
A 04.00 3


B 05.00 1


C 06.00 2


คําตอบ 1 : 32 ตัน


คําตอบ 2 : 38 ตัน
คําตอบ 3 : 44 ตัน

ขอ
กร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 411


ิ ว
าว
ควรทําการซอมเครื่องจักรใดกอนในเครื่องจักรอิสระที่ทํางานแบบเดียวกันสามเครื่อง (A, B, C) หากกําลังการผลิตและเวลาซอมที่ตองใช เปนตามขอมูลขางลาง เมื่อสามารถทําการ


ซอมไดครั้งละหนึ่งเครื่อง


เครื่องจักร กําลังการผลิต (หนวย/ชั่วโมง) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)
A 1 3
B 2 3
C 4 3
คําตอบ 1 : A
คําตอบ 2 : B
คําตอบ 3 : C
96 of 118
คําตอบ 4 : เครื่องใดก็ได
ขอที่ : 412
ควรจัดลําดับงานซอมเครื่องจักรอิสสระที่ทํางานแบบเดียวกันสามเครื่อง (A, B, C) อยางไร หากกําลังการผลิตและเวลาซอมที่ตองใช เปนตามขอมูลขางลาง เมื่อสามารถทําการซอม
ไดครั้งละหนึ่งเครื่อง
เครื่องจักร กําลังการผลิต (หนวย/ชั่วโมง) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)
A 1 3
B 2 3

่ า ย
C 4 3


คําตอบ 1 : A-B-C


คําตอบ 2 : B-C-A


คําตอบ 3 :


C-A-B


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 413
จะเสียผลผลิตโดยรวมเทาไรนับจากเริ่มทํางานซอม หากจัดลําดับงานซอมเครื่องจักรอิสระที่ทํางานแบบเดียวกันสามเครื่องตามลําดับ A-B-C ตามขอมูลกําลังการผลิตและเวลาซอม

ิท
ที่ตองใชขางลาง เมื่อสามารถทําการซอมไดครั้งละหนึ่งเครื่อง


เครื่องจักร กําลังการผลิต (หนวย/ชั่วโมง) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)


A 1 3


B 2 3


C 4 3


คําตอบ 1 : 21 หนวย
คําตอบ 2 : 51 หนวย

ขอ
กร
คําตอบ 3 : 63 หนวย
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด


ิ ว
าว
ขอที่ : 414


จะเสียผลผลิตโดยรวมเทาไรนับจากเริ่มทํางานซอม หากจัดลําดับงานซอมเครื่องจักรอิสระที่ทํางานแบบเดียวกันสามเครื่องตามลําดับที่ถูกตอง ตามขอมูลกําลังการผลิตและเวลาซอม


ที่ตองใชขางลาง เมื่อสามารถทําการซอมไดครั้งละหนึ่งเครื่อง
เครื่องจักร กําลังการผลิต (หนวย/ชั่วโมง) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)
A 1 3
B 2 3
C 4 3
คําตอบ 1 : 16 หนวย
คําตอบ 2 : 21 หนวย
97 of 118
คําตอบ 3 : 33 หนวย
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 415
จะเสียผลผลิตโดยรวมเพิ่มขึ้นเทาไรนับจากเริ่มทํางานซอม หากจัดลําดับงานซอมเครื่องจักรอิสระที่ทํางานแบบเดียวกันสามเครื่อง ตามลําดับ A-B-C แทนการจัดงานซอมตามลําดับ
ที่ถูกตอง ตามขอมูลกําลังการผลิตและเวลาซอมที่ตองใชขางลาง เมื่อสามารถทําการซอมไดครั้งละหนึ่งเครื่อง
เครื่องจักร กําลังการผลิต (หนวย/ชั่วโมง) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)


A 1 3

่ า
B 2 3


C 4 3

คําตอบ 1 : 36.36 %

จ ำ ห

คําตอบ 2 : 48.48 %

า้
คําตอบ 3 : 54.55 %

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 416


ควรทําการซอมเครื่องจักรใดกอนในเครื่องจักรอิสระที่ทํางานแบบเดียวกันสามเครื่อง (A, B, C) หากกําลังการผลิตและเวลาซอมที่ตองใช เปนตามขอมูลขางลาง เมื่อสามารถทําการ


ซอมไดครั้งละหนึ่งเครื่อง

ง ว
เครื่องจักร กําลังการผลิต (หนวย/ชั่วโมง) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)


A 1 1.5


B 2 2


C 3 6

กร
คําตอบ 1 : A


คําตอบ 2 : B



คําตอบ 3 : C

าว
คําตอบ 4 : เครื่องใดก็ได

ขอที่ : 417

ส ภ
ควรจัดลําดับงานซอมเครื่องจักรอิสระที่ทํางานแบบเดียวกันสามเครื่อง (A, B, C) อยางไร หากกําลังการผลิตและเวลาซอมที่ตองใชเปนตามขอมูลขางลาง เมื่อสามารถทําการซอมได
ครั้งละหนึ่งเครื่อง
เครื่องจักร กําลังการผลิต (หนวย/ชั่วโมง) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)
A 1 1.5
B 2 2
C 3 6
98 of 118
คําตอบ 1 : A-B-C
คําตอบ 2 : B-A-C
คําตอบ 3 : C-A-C
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 418
จะเสียผลผลิตโดยรวมเทาไรนับจากเริ่มทํางานซอม หากจัดลําดับงานซอมเครื่องจักรอิสระที่ทํางานแบบเดียวกันสามเครื่องตามลําดับ A-B-C ตามขอมูลกําลังการผลิตและเวลาซอม


ที่ตองใชขางลาง เมื่อสามารถทําการซอมไดครั้งละหนึ่งเครื่อง

่ า
เครื่องจักร กําลังการผลิต (หนวย/ชั่วโมง) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)

หน
A 1 1.5


B 2 2


C 3 6


คําตอบ 1 : 14.5 หนวย

า้
คําตอบ 2 : 36 หนวย

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 37 หนวย
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ :

ส ิท

419


จะเสียผลผลิตโดยรวมเทาไรนับจากเริ่มทํางานซอม หากจัดลําดับงานซอมเครื่องจักรอิสระที่ทํางานแบบเดียวกันสามเครื่องตามลําดับที่ถูกตอง ตามขอมูลกําลังการผลิตและเวลาซอม


ที่ตองใชขางลาง เมื่อสามารถทําการซอมไดครั้งละหนึ่งเครื่อง


เครื่องจักร กําลังการผลิต (หนวย/ชั่วโมง) เวลาซอมที่ตองใช(ชั่วโมง)


A 1 1.5

กร ข
B 2 2
C 3 6


คําตอบ 1 : 14.5 หนวย



คําตอบ 2 : 36 หนวย

าว
คําตอบ 3 : 37 หนวย


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 420

ชิ้นสวนที่มีการชํารุดแบบ random failure ควรที่จะวางแผนการบํารุงรักษาแบบใด
คําตอบ 1 : เปลี่ยนตามอายุการใชงาน
คําตอบ 2 : ใชงานจนชํารุดแลวจึงซอม
คําตอบ 3 : ทํา preventive maintenance
99 of 118
คําตอบ 4 : เปลี่ยนเมื่อมีการ shut down
ขอที่ : 421
ชิ้นสวนที่มีการชํารุดแบบ Wearout failure ควรที่จะวางแผนการบํารุงรักษาแบบใด
คําตอบ 1 : เปลี่ยนตามอายุการใชงาน
คําตอบ 2 : ตรวจสอบและเปลี่ยนเมื่อใกลเสื่อมสภาพ
คําตอบ 3 : ทํา preventive maintenance


คําตอบ 4 : ใชไดทุกวิธี

น่ า

ขอที่ : 422


ชิ้นสวนมีอายุใชงานเฉลี่ย 100 วัน และมี standard deviation ของอายุใชงาน 10 วันโดยมีลักษณะการชํารุดเปนแบบ random failure ควรวางแผนเปลี่ยนชิ้นสวนนี้ทุกๆ กี่วันจึงจะ


เหมาะสม
คําตอบ 1 : 80 วัน

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 100 วัน
คําตอบ 3 : 120 วัน
คําตอบ 4 : ควรรอใหชํารุดแลวจึงเปลี่ยน

ส ิท

ขอที่ : 423

ง ว
ชิ้นสวนมีอายุใชงานเฉลี่ย 100 วัน และมี standard deviation ของอายุใชงาน 10 วันโดยมีลักษณะการชํารุดเปนแบบ wearout failure จากขอมูลที่มีอยูนี้ ควรวางแผนเปลี่ยนชิ้น


สวนนี้ทุกๆ กี่วันจึงจะเหมาะสม


คําตอบ 1 : 80 วัน


คําตอบ 2 : 100 วัน

กร
คําตอบ 3 : 110 วัน


คําตอบ 4 : 120 วัน

ขอที่ : 424

าว ศ


ชิ้นสวนที่มีราคาถูก และ การชํารุดไมมีผลกระทบตอการผลิตสวนอื่นๆ ควรวางแผนการบํารุงรักษาแบบใด


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
เปลี่ยนตามอายุการใชงาน
ใชงานจนชํารุดแลวจึงซอม
ทํา preventive maintenance
คําตอบ 4 : ตรวจสอบและเปลี่ยนเมื่อใกลเสื่อมสภาพ

ขอที่ : 425 100 of 118


ชิ้นสวนที่มีอายุใชงานสั้น ควรวางแผนการบํารุงรักษาอยางไร
คําตอบ 1 : ออกแบบใหมใหอายุใชงานอยูในชวงที่ยอมรับได
คําตอบ 2 : เปลี่ยนตามอายุการใชงาน
คําตอบ 3 : ตรวจสอบและเปลี่ยนเมื่อใกลเสื่อมสภาพ
คําตอบ 4 : ใชงานจนชํารุดแลวจึงซอม

ขอที่ : 426

่ า ย
งาน corrective maintenance ควรกําหนดไวชวงเวลาใด


คําตอบ 1 : ชวงเวลา shut down


คําตอบ 2 : ชวงเวลาที่เปลี่ยน batch การผลิต

จ ำ
คําตอบ 3 : ชวงเวลาที่แผนกบํารุงรักษามีภาระงานต่ํา


คําตอบ 4 : ไมสามารถวางแผนกําหนดเวลาไดลวงหนา

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 427
การวางแผนงาน corrective maintenance สามารถวางแผนลวงหนาในระยะยาวเชนแผนงานประจําปไดหลายดาน เรื่องใดที่ไมสามารถวางแผนกําหนดได

ิท
คําตอบ 1 : กําหนดเวลา


คําตอบ 2 : วิธีการทํางาน

ว น
คําตอบ 3 : อะไหลที่ตองใช


คําตอบ 4 : เครื่องมือที่ตองใช

อ ส

ขอที่ : 428

กร
การวางแผนงานประจําป ควรเริ่มกําหนดเวลาการทํางานบํารุงรักษาไวในชวงเวลาใดกอนชวงเวลาอื่นๆ


คําตอบ 1 : ชวงเวลาเปลี่ยนกะการผลิต



คําตอบ 2 : ชวงเวลาเปลี่ยน batch การผลิต

าว
คําตอบ 3 : ชวงเวลา shutdown


คําตอบ 4 : ขอใดก็ไดไมแตกตางกัน

ขอที่ : 429

ชิ้นสวนที่มีการชํารุดแบบ wearout failure ซึ่งมีคา standard deviation ของอายุใชงานนอยควรใชการวางแผนบํารุงรักษาแบบใดจึงจะเหมาะสม
คําตอบ 1 : ตรวจสอบสภาพ
คําตอบ 2 : ใชงานจนเสียแลวจึงเปลี่ยน
คําตอบ 3 : เปลี่ยนตามอายุใชงาน
101 of 118
คําตอบ 4 : ขอใดก็ไดไมแตกตางกัน
ขอที่ : 430
ชิ้นสวนที่มีการชํารุดแบบ wearout failure ซึ่งมีคา standard deviation ของอายุใชงานมากกวา 30 %ของอายุใชงาน และมีวิธีการในการตรวจสอบซึ่งไมเสียคาใชจายมาก ควรใช
การวางแผนบํารุงรักษาแบบใดจึงจะเหมาะสม
คําตอบ 1 : ตรวจสอบสภาพ
คําตอบ 2 : ใชงานจนเสียแลวจึงเปลี่ยน


คําตอบ 3 : เปลี่ยนตามอายุใชงาน

่ า
คําตอบ 4 : ขอใดก็ไดไมแตกตางกัน

หน

ขอที่ : 431


ชิ้นสวนที่มีการชํารุดแบบ random failure ซึ่งมีคา standard deviation ของอายุใชงานมากกวา 30% ของอายุใชงาน และไมมีวิธีการในการตรวจสอบ ควรใชการวางแผนบํารุงรักษา

า้ ม
แบบใดจึงจะเหมาะสม

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ตรวจสอบสภาพ
คําตอบ 2 : ใชงานจนเสียแลวจึงเปลี่ยน
คําตอบ 3 : เปลี่ยนตามอายุใชงาน

ิท
คําตอบ 4 : ขอใดก็ไดไมแตกตางกัน

นส

ขอที่ :


432


ชิ้นสวนที่มีการชํารุดแบบ wearout failure ซึ่งมีคา standard deviation ของอายุใชงานมากกวา30 %ของอายุใชงาน เฉลี่ยและไมมีวิธีการในการตรวจสอบ ควรใชการวางแผนบํารุง


รักษาแบบใดจึงจะเหมาะสม


คําตอบ 1 : เปลี่ยนกอนที่จะเสีย

กร
คําตอบ 2 : ใชงานจนเสียแลวจึงเปลี่ยน


คําตอบ 3 : เปลี่ยนตามอายุใชงาน



คําตอบ 4 : ตองพิจารณาจาก cost model วาวิธีใดดีที่สุด

ขอที่ : 433

ภ าว

เวลาที่ใชในการทํางาน shutdown ทั้งหมดมีคาเทากับเทาใด
คําตอบ 1 : ผลรวมของเวลาที่ใชของกิจกรรมยอยทั้งหมดรวมกัน
คําตอบ 2 : ผลรวมของเวลาที่ใชใน critical path สายทางใดสายทางหนึ่ง
คําตอบ 3 : คาเฉลี่ยของเวลาที่ใชของกิจกรรมยอย + 3 เทาของ standard deviation
คําตอบ 4 : เวลาที่ใชของกิจกรรมยอยที่มากที่สุด x จํานวนกิจกรรมยอยทั้งหมด

102 of 118
ขอที่ : 434
ถางาน shut down ที่วางแผนไวใชเวลานานกวาเวลาที่มีอยู จะตองทํางานใดใหเสร็จเร็วขึ้น
คําตอบ 1 : งานที่เปน critical path
คําตอบ 2 : งานที่ทําในวันแรกของการ shut down
คําตอบ 3 : งานที่ทําในวันสุดทายของการ shut down
คําตอบ 4 : งานที่ใชเวลาทํานานที่สุด

่ า ย
ขอที่ : 435


ในการเรง critical path ใหสั้นลง ควรเริ่มจากการเรงงานแบบใดใหสั้นลง


คําตอบ 1 : งานที่ใชเวลานอย

จ ำ
คําตอบ 2 : งานที่ทําในชวงกลางๆ ของการ shut down


คําตอบ 3 : งานที่ทําในวันสุดทายของการ shut down

า้
คําตอบ 4 : งานที่เสียคาใชจายในการเรงต่ํา

ขอที่ : 436
ิธ์ ห
ิท
ในการเรง critical path ใหสั้นลง ควรเริ่มจากการเรงงานแบบใดใหสั้นลง


คําตอบ 1 : งานที่ทํางาย

ว น
คําตอบ 2 : งานที่ทําในชวงกลางๆของการ shut down


คําตอบ 3 : งานที่ทําในวันสุดทายของการ shut down


คําตอบ 4 : งานที่เสียคาใชจายในการทํางานสูง

ขอ
กร
ขอที่ : 437


งานที่สามารถขยายเวลาการทํางานออกไปไดโดยไมมีผลกระทบในทันที ไดแกงานใด



คําตอบ 1 : งานที่ทํางาย

าว
คําตอบ 2 : งานที่ทําในวันแรกของการ shut down


คําตอบ 3 : งานที่ทําในวันสุดทายของการ shut down


คําตอบ 4 : งานที่ไมอยูใน critical path

ขอที่ : 438
งานที่สามารถขยายเวลาการทํางานออกไปไดโดยไมมีผลกระทบในทันที ไดแกขอใด
คําตอบ 1 : งานที่ทํางาย
คําตอบ 2 : งานที่ทําในวันแรกของการ shut down
103 of 118
คําตอบ 3 : งานที่ทําในวันสุดทายของการ shut down
คําตอบ 4 : งานที่มี float

ขอที่ : 439
เทคนิคที่ใชในการกําหนดเวลาที่ใชในการทํางานแตละงานซึ่งเปนเทคนิคที่ใชกับการวางแผน shut down คือขอใด
คําตอบ 1 : Time study
คําตอบ 2 :


Work sampling

่ า
คําตอบ 3 : Time estimation


คําตอบ 4 : ใชไดทุกวิธี

ขอที่ : 440

จ ำ ห

งานที่สามารถโยกยายชางไปทํางานอื่นไดโดยไมมีผลกระทบในทันที คืองานใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : งานที่ทํางาย
คําตอบ 2 : งานที่ทําในวันแรกของการ shut down
คําตอบ 3 : งานที่ทําในวันสุดทายของการ shut down

ิท
คําตอบ 4 : งานที่ไมเปน critical path

นส

ขอที่ : 441


งานที่เปน critical path คืองานที่มีลักษณะใด
คําตอบ 1 : งานที่ไมมี float

อ ส

คําตอบ 2 : งานที่ถาเสร็จชาจะทําใหการ shut down ลาชาไปดวย

กร
คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ 1 และ 2


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 442

าว ศ


งานที่เปน critical path คืองานที่มีลักษณะใด


คําตอบ 1 : งานที่ไมมี float
คําตอบ 2 : งานที่มี ES=LS, EF=LF
คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ 1 และ 2
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 443 104 of 118


งานที่เปน critical path คืองานที่มีลักษณะใด
คําตอบ 1 : งานที่ถาเสร็จชาจะทําใหการ shut down ลาชาไปดวย
คําตอบ 2 : งานที่มี ES=LS, EF=LF
คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ 1 และ 2
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 444

่ า ย
กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D=เวลาที่ใชในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่มงานเร็วที่สุด, LS = Latest start = เวลาที่จะเริ่มงานชา


ที่สุด, EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด, LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด, EF จะมีคาเทากับขอใด


คําตอบ 1 : ES - D


คําตอบ 2 :


ES + D


คําตอบ 3 : LS - D

า้
คําตอบ 4 : LS + D

ขอที่ : 445
ิธ์ ห
ิท
กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D=เวลาที่ใชในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่มงานเร็วที่สุด, LS = Latest start = เวลาที่จะเริ่มงานชา


ที่สุด, EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด, LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด

ในการคํานวณ forward calculation ของ network จะสามารถหาคาใดได


คําตอบ 1 :

ง ว น

EF


คําตอบ 2 : ES


คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก

กร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด


ิ ว
าว
ขอที่ : 446
กําหนดให งาน A มีคาเวลาตางๆ ดังนี้

ส ภ
D = เวลาที่ใชในการทํางาน = 12 ชั่วโมง

ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่มงานเร็วที่สุด = 5

LS = Latest start = เวลาที่จะเริ่มงานชาที่สุด = 7

งาน A จะมีคา EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด เทากับเทาใด


คําตอบ 1 : 12 105 of 118

คําตอบ 2 : 17
คําตอบ 3 : 19
คําตอบ 4 : 24

ขอที่ : 447
กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่มงานเร็วที่สุด, LS= Latest start = เวลาที่จะเริ่มงานชา
ที่สุด, EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด, LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด

ในการคํานวณ backward calculation ของ network จะสามารถหาคาใดได

่ า ย
คําตอบ 1 : LS

หน

คําตอบ 2 : LF


คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก

า้ ม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิธ์ ห
ขอที่ : 448
เทคนิคที่ไมเหมาะสมที่จะใชในการวางแผน shut down คือขอใด
คําตอบ 1 : PERT

ส ิท

คําตอบ 2 : BAR CHART


คําตอบ 3 :


GANTT CHART


คําตอบ 4 : CPM

ขอ
กร
ขอที่ : 449
กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่มงานเร็วที่สุด LS = Latest start = เวลาที่จะเริ่มงานชา


ที่สุด EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด ในการคํานวณ จะหาคา LS ไดจาก

าว ศ

คําตอบ 1 : LS = EF + D
คําตอบ 2 : LS = EF - D


คําตอบ 3 : LS = LF + D


คําตอบ 4 : LS = LF - D

ขอที่ : 450
ถามีงาน 2 งาน A และ B ซึ่งจะตองทําตามลําดับโดย B จะเริ่มได A จะตองเสร็จแลวเทานั้น เวลาของ A มีคา D = 10, ES = 2 คาเวลา B มีคา D = 5 ดังนั้น ES ของ B เปนเทาใด
กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่มงานเร็วที่สุด LS = Latest start = เวลาที่จะเริ่มงานชา
ที่สุด EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด
106 of 118
คําตอบ 1 : 2
คําตอบ 2 : 5
คําตอบ 3 : 12
คําตอบ 4 : 17

ขอที่ : 451
ถามีงาน 2 งาน A และ B ซึ่งจะตองทําตามลําดับโดย B จะเริ่มได A จะตองเสร็จแลวเทานั้น เวลาของ A มีคา D = 10, ES = 22 เวลาของ B มีคา D = 5 ดังนั้น EF ของ B เปน


เทาใด กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่มงานเร็วที่สุด, LS = Latest start = เวลาที่จะ

่ า
เริ่มงานชาที่สุด, EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด, LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด
คําตอบ 1 : 2

หน

คําตอบ 2 : 5


คําตอบ 3 :


12

า้
คําตอบ 4 : 17

ิธ์ ห
ขอที่ : 452

ิท
ถามีงาน 2 งาน A และ B ซึ่งจะตองทําตามลําดับโดย B จะเริ่มได A จะตองเสร็จแลวเทานั้น เวลาของ A มีคา D = 10, ES = 22 เวลาของ B มีคา D = 5, LF = 40 ดังนั้น LS
ของ B เปนเทาใด กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่มงานเร็วที่สุด, LS = Latest start =


เวลาที่จะเริ่มงานชาที่สุด, EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด, LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
10

ง ว น

22


คําตอบ 3 : 35


คําตอบ 4 : 45

ขอที่ : 453

ว กร


ถามีงาน 2 งาน A และ B ซึ่งจะตองทําตามลําดับโดย B จะเริ่มได A จะตองเสร็จแลวเทานั้น เวลาของ A มีคา D = 10, ES = 22 เวลาของ B มีคา D = 5, LF = 40 ดังนั้น LF

าว
ของ A เปนเทาใด กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่มงานเร็วที่สุด, LS = Latest start =


เวลาที่จะเริ่มงานชาที่สุด, EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด, LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด


คําตอบ 1 : 10
คําตอบ 2 : 22
คําตอบ 3 : 35
คําตอบ 4 : 45

ขอที่ : 454
107 of 118
ถามีงาน 2 งาน A และ B ซึ่งจะตองทําตามลําดับโดย B จะเริ่มได A จะตองเสร็จแลวเทานั้น เวลาของ A มีคา D = 10, ES = 22 เวลา ของ B มีคา D = 5, LF = 40 ดังนั้น LS
ของ A เปนเทาใด กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่มงานเร็วที่สุด, LS = Latest start =
เวลาที่จะเริ่มงานชาที่สุด, EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด, LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด
คําตอบ 1 : 35
คําตอบ 2 : 32
คําตอบ 3 : 25
คําตอบ 4 : 22

่ า ย
ขอที่ : 455


ถามีงาน 3 งาน A B และ C ซึ่งจะตองทําตามลําดับโดย C จะเริ่มได A และ B จะตองเสร็จแลวเทานั้น เวลาของ A มีคา D = 10, ES = 22 เวลา ของ B มีคา D = 5, ES = 15


เวลาของ C มีคา D = 6 ดังนั้น ES ของ C จะมีคาเทาใด กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาที่


จะเริ่มงานเร็วที่สุด, LS = Latest start = เวลาที่จะเริ่มงานชาที่สุด, EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด, LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด


คําตอบ 1 :


15

า้
คําตอบ 2 : 20

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 32
คําตอบ 4 : 38

ขอที่ : 456

ส ิท

ถามีงาน 3 งาน A B และ C ซึ่งจะตองทําตามลําดับโดย C จะเริ่มได A และ B จะตองเสร็จแลวเทานั้น เวลาของ A มีคา D = 10, ES = 22 เวลาของ B มีคา D = 5, ES = 15 เวลา


ของ C มีคา D = 6 ดังนั้น EF ของ C จะมีคาเทาใด กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่ม


งานเร็วที่สุด, LS = Latest start = เวลาที่จะเริ่มงานชาที่สุด, EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด, LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด

อ ส
คําตอบ 1 : 15


คําตอบ 2 : 20

กร
คําตอบ 3 : 32


คําตอบ 4 : 38

ขอที่ : 457

าว ศ


ถามีงาน 3 งาน A B และ C ซึ่งจะตองทําตามลําดับโดย B และ C จะเริ่มได A จะตองเสร็จแลวเทานั้น เวลาของ A มีคา D = 10 เวลาของ B มีคา D = 5, LF = 32 เวลาของ C มี


คา D = 6, LF = 35 ดังนั้น LF ของ A จะมีคาเทาใด กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่ม
งานเร็วที่สุด, LS = Latest start = เวลาที่จะเริ่มงานชาที่สุด, EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด, LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด
คําตอบ 1 : 17
คําตอบ 2 : 19
คําตอบ 3 : 27
คําตอบ 4 : 29
108 of 118

ขอที่ : 458
ถามีงาน 3 งาน A B และ C ซึ่งจะตองทําตามลําดับโดย B และ C จะเริ่มได A จะตองเสร็จแลวเทานั้น เวลาของ A มีคา D = 10 เวลาของ B มีคา D = 5, LF = 32 เวลาของ C มี
คา D = 6, LF = 35 ดังนั้น LS ของ A จะมีคาเทาใด กําหนดให งานที่จะตองทํามีคาเวลาตางๆ ใชสัญลักษณดังนี้ D = เวลาที่ใชในการทํางาน ES = Earliest start = เวลาที่จะเริ่ม
งานเร็วที่สุด LS = Latest start = เวลาที่จะเริ่มงานชาที่สุด EF = Earliest finish = เวลาที่จะเสร็จงานเร็วที่สุด LF = Latest finish = เวลาที่จะเสร็จงานชาที่สุด
คําตอบ 1 : 17
คําตอบ 2 : 19
คําตอบ 3 : 27


คําตอบ 4 : 29

น่ า

ขอที่ : 459


งานที่จะตองทําในการ Shut down จํานวน 4 งานคือ งาน A B C D มีคาเวลาหลังจากทําการวิเคราะห network แลว ดังนี้

งาน A D=2 ES=2 EF=4 LS=3 LF=7

มจ
า้
ิธ์ ห
งาน B D=8 ES=7 EF=15 LS=7 LF=15

งาน C D=2 ES=6 EF=8 LS=6 LF=10

งาน D D=10 ES=6 EF=16 LS=9 LF=19

ส ิท
งานที่เปนงานใน critical path คืองานใด

ง ว น

คําตอบ 1 : A


คําตอบ 2 : B


คําตอบ 3 :

กร
C
คําตอบ 4 : D


ิ ว
าว
ขอที่ : 460
งานที่จะตองทําในการ Shut down จํานวน 4 งานคือ งาน A B C D มีคาเวลาหลังจากทําการวิเคราะห network แลว ดังนี้

งาน A

งาน B ส ภ
D=2

D=8
ES=2

ES=7
EF=4 LS=3

EF=15 LS=7
LF=7

LF=15

งาน C D=2 ES=6 EF=8 LS=6 LF=10

งาน D D=10 ES=6 EF=16 LS=9 LF=19


109 of 118
Float (หรือ slack) ของงาน A มีคาเทาใด
คําตอบ 1 : 2
คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 4
คําตอบ 4 : 7

ขอที่ : 461

่ า ย
ในการเรง critical path ใหสั้นลง ควรเริ่มจากการเรงงานแบบใดใหสั้นลง


คําตอบ 1 : งานที่ไมไดจางผูรับเหมาชวง


คําตอบ 2 : งานที่ทําในชวงกลางๆ ของการ shut down

จ ำ
คําตอบ 3 : งานที่ทําในวันสุดทายของการ shut down


คําตอบ 4 : งานที่เสียคาใชจายในการทํางานสูง

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 462
ในการเรง critical path ใหสั้นลง ควรเริ่มจากการเรงงานแบบใดใหสั้นลง

ิท
คําตอบ 1 : งานที่ทําในชวงเริ่มตนของการ shut down


คําตอบ 2 : งานที่ทําในชวงกลางๆ ของการ shut down

ว น
คําตอบ 3 : งานที่ทําในวันสุดทายของการ shut down


คําตอบ 4 : งานที่เสียคาใชจายในการทํางานสูง

อ ส

ขอที่ : 463

กร
อัตราสวนความถี่การชํารุดฉุกเฉิน หาไดจากขอใด


คําตอบ 1 : จํานวนครั้งของการชํารุดฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครื่อง



คําตอบ 2 : เวลาที่เครื่องเสียจากการชํารุดทุกประเภท / ระยะเวลาเดินเครื่อง

าว
คําตอบ 3 : เวลาที่เครื่องเสียจากการชํารุดฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครื่อง


คําตอบ 4 : จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในการซอมฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครื่อง

ขอที่ : 464

อัตราสวนเวลาการชํารุดฉุกเฉิน หาไดจากขอใด
คําตอบ 1 : จํานวนครั้งของการชํารุดฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครื่อง
คําตอบ 2 : เวลาที่เครื่องเสียจากการชํารุดทุกประเภท / ระยะเวลาเดินเครื่อง
คําตอบ 3 : เวลาที่เครื่องเสียจากการชํารุดฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครื่อง
110 of 118
คําตอบ 4 : จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในการซอมฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครื่อง
ขอที่ : 465
อัตราสวนงานบํารุงรักษาที่วางแผนไว หาไดจากขอใด
คําตอบ 1 : จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในการซอมฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครื่อง
คําตอบ 2 : จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในงานที่วางแผนไว / ระยะเวลาเดินเครื่อง
คําตอบ 3 : จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในงานที่วางแผนไว / จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในงานบํารุงรักษาทั้งหมด


คําตอบ 4 : จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในงานที่วางแผนซึ่งปฏิบัติไดจริง / จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในงานบํารุงรักษาทั้งหมด

น่ า

ขอที่ : 466


อัตราสวนงานบํารุงรักษาที่วางแผนที่ปฏิบัติจริง หาไดจาก
คําตอบ 1 : จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในการซอมฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครื่อง

มจ
า้
คําตอบ 2 : จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในงานที่วางแผนไว / ระยะเวลาเดินเครื่อง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในงานที่วางแผนไว / จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในงานบํารุงรักษาทั้งหมด
คําตอบ 4 : จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในงานที่วางแผนซึ่งปฏิบัติไดจริง / จํานวนชั่วโมงคนที่ใชในงานบํารุงรักษาที่วางแผนทั้งหมด

ขอที่ : 467

ส ิท
ว น
เมื่อผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานมีแนวโนมที่ดีขึ้น อัตราสวนความถี่การชํารุดฉุกเฉิน ควรที่จะมีแนวโนมแบบใด


คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น


คําตอบ 2 : คงที่


คําตอบ 3 : ลดลง
คําตอบ 4 : ไมแนนอน

กร ข
ขอที่ : 468


ิ ว
าว
เมื่อผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานมีแนวโนมที่ดีขึ้น อัตราสวนเวลาการชํารุดฉุกเฉิน ควรที่จะมีแนวโนมแบบใด


คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น


คําตอบ 2 : คงที่
คําตอบ 3 : ลดลง
คําตอบ 4 : ไมแนนอน

ขอที่ : 469
เมื่อผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานมีแนวโนมที่ดีขึ้น อัตราสวนงานบํารุงรักษาที่วางแผนไว ควรที่จะมีแนวโนมแบบใด
111 of 118
คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : คงที่
คําตอบ 3 : ลดลง
คําตอบ 4 : ไมแนนอน

ขอที่ : 470
เมื่อผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานมีแนวโนมที่ดีขึ้น อัตราสวนงานบํารุงรักษาวางแผนที่ปฏิบัติจริง ควรที่จะมีแนวโนมแบบใด
คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น

่ า ย

คําตอบ 2 : คงที่


คําตอบ 3 : ลดลง

จ ำ
คําตอบ 4 : ไมแนนอน

ขอที่ :

า้ ม
ิธ์ ห
471
เมื่อผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานมีแนวโนมที่ดีขึ้น เวลาที่เครื่องจักรเสีย ควรที่จะมีแนวโนมแบบใด
คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น

ิท
คําตอบ 2 : คงที่


คําตอบ 3 : ลดลง

ว น
คําตอบ 4 : ไมแนนอน

ส ง

ขอที่ : 472


เมื่อจํานวนชางซอมบํารุง มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงาน ควรที่จะมีแนวโนมแบบใด

กร
คําตอบ 1 : ดีขึ้น


คําตอบ 2 : คงที่



คําตอบ 3 : ลดลง

าว
คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกไดจากองคประกอบเพียงอยางเดียว

ขอที่ : 473

ส ภ
เมื่ออัตราการใชน้ํามันหลอลื่น มีแนวโนมที่มากขึ้น ผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานควรที่จะมีแนวโนมแบบใด
คําตอบ 1 : ดีขึ้น
คําตอบ 2 : คงที่
คําตอบ 3 : ลดลง
คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกไดจากองคประกอบเพียงอยางเดียว
112 of 118
ขอที่ : 474
เมื่ออัตราคาวัสดุซอมบํารุงตอชางซอม มีแนวโนมที่มากขึ้น ผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานควรที่จะมีแนวโนมแบบใด
คําตอบ 1 : ดีขึ้น
คําตอบ 2 : คงที่
คําตอบ 3 : ลดลง
คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกไดจากองคประกอบเพียงอยางเดียว

่ า ย

ขอที่ : 475


เมื่ออัตราคาบํารุงรักษาตอหนวยผลิตภัณฑ มีแนวโนมที่มากขึ้น ผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานควรที่จะมีแนวโนมแบบใด

จ ำ
คําตอบ 1 : ดีขึ้น


คําตอบ 2 : คงที่

า้
คําตอบ 3 : ลดลง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกไดจากองคประกอบเพียงอยางเดียว

ิท
ขอที่ : 476


เมื่ออัตราคาบํารุงรักษาตอหนวยของเวลาเดินเครื่อง มีแนวโนมที่มากขึ้น ผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานควรที่จะมีแนวโนมแบบใด

ว น
คําตอบ 1 : ดีขึ้น


คําตอบ 2 : คงที่


คําตอบ 3 : ลดลง


คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกไดจากองคประกอบเพียงอยางเดียว

กร ข

ขอที่ : 477



เมื่ออัตราคาบํารุงรักษาตอหนวยพลังงานไฟฟาที่ใช (kWh) มีแนวโนมที่มากขึ้น ผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานควรที่จะมีแนวโนมแบบใด

าว
คําตอบ 1 : ดีขึ้น


คําตอบ 2 : คงที่


คําตอบ 3 : ลดลง
คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกไดจากองคประกอบเพียงอยางเดียว

ขอที่ : 478
เมื่ออัตราคาบํารุงรักษาตอตนทุนผลิตภัณฑ มีแนวโนมที่มากขึ้น ผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานควรที่จะมีแนวโนมแบบใด
คําตอบ 1 : ดีขึ้น
113 of 118
คําตอบ 2 : คงที่
คําตอบ 3 : ลดลง
คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกไดจากองคประกอบเพียงอยางเดียว

ขอที่ : 479
เมื่ออัตราคาบํารุงรักษาตอมูลคาเครื่องจักร มีแนวโนมที่มากขึ้น ผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานควรที่จะมีแนวโนมแบบใด
คําตอบ 1 : ดีขึ้น
คําตอบ 2 : คงที่

่ า ย

คําตอบ 3 : ลดลง


คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกไดจากองคประกอบเพียงอยางเดียว

จ ำ

ขอที่ :

า้
480
เครื่องจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครื่อง มีชางดูแลบํารุงรักษาประจําเครื่องแตละเครื่อง สถิติการเสียของเครื่องจักรในรอบ 3 เดือนเปนดังนี้

ิธ์ ห
เครื่องจักร 1 เสีย 5 ครั้ง รวมเวลา 16.5 ชั่วโมง

ิท
เครื่องจักร 2 เสีย 8 ครั้ง รวมเวลา 22.1 ชั่วโมง

นส

เครื่องจักร 3 เสีย 4 ครั้ง รวมเวลา 10.3 ชั่วโมง

เครื่องจักร 4 เสีย 9 ครั้ง รวมเวลา 23 ชั่วโมง

ส ง
ขอ
ชางซอมชุดใดมีผลการปฏิบัติงานในรอบ 3 เดือนนี้ดีที่สุด

กร
คําตอบ 1 : ชางซอมของเครื่องที่ 1


คําตอบ 2 : ชางซอมของเครื่องที่ 2



คําตอบ 3 : ชางซอมของเครื่องที่ 3

าว
คําตอบ 4 : ชางซอมของเครื่องที่ 4

ขอที่ : 481

ส ภ
เครื่องจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครื่อง มีชางดูแลบํารุงรักษาประจําเครื่องแตละเครื่อง สถิติการเสียของเครื่องจักรในรอบ 3 เดือนเปนดังนี้

เครื่องจักร 1 เสีย 5 ครั้ง รวมเวลา 16.5 ชั่วโมง

เครื่องจักร 2 เสีย 8 ครั้ง รวมเวลา 22.1 ชั่วโมง 114 of 118

เครื่องจักร 3 เสีย 4 ครั้ง รวมเวลา 10.3 ชั่วโมง


เครื่องจักร 4 เสีย 9 ครั้ง รวมเวลา 23 ชั่วโมง

ชางซอมชุดใดมีผลการปฏิบัติงานในรอบ 3 เดือนนี้ต่ําที่สุด
คําตอบ 1 : ชางซอมของเครื่องที่ 1
คําตอบ 2 : ชางซอมของเครื่องที่ 2
คําตอบ 3 : ชางซอมของเครื่องที่ 3


คําตอบ 4 : ชางซอมของเครื่องที่ 4

น่ า

ขอที่ : 482


เครื่องจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครื่อง มีชางดูแลบํารุงรักษาประจําเครื่องแตละเครื่อง สถิติการเสียของเครื่องจักรในรอบ 3 เดือน ซึ่งมีชั่วโมงทํางานของโรงงานรวม 600 ชั่วโมงเปน


ดังนี้ จงหาอัตราความถี่การชํารุดตอ 100 ชั่วโมงของเครื่องจักร 1 มีคาเทากับเทาไร

เครื่องจักร 1 เสีย 35 ครั้ง รวมเวลา 16.5 ชั่วโมง

า้ ม
ิธ์ ห
เครื่องจักร 2 เสีย 12 ครั้ง รวมเวลา 22.1 ชั่วโมง

ิท
เครื่องจักร 3 เสีย 24 ครั้ง รวมเวลา 10.3 ชั่วโมง

เครื่องจักร 4 เสีย 19 ครั้ง รวมเวลา 23 ชั่วโมง

นส
คําตอบ 1 : 2 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง

ง ว

คําตอบ 2 : 3.17 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง


คําตอบ 3 : 4 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง

กร ข
คําตอบ 4 : 5.83 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง

ขอที่ : 483


ิ ว
าว
เครื่องจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครื่อง มีชางดูแลบํารุงรักษาประจําเครื่องแตละเครื่อง สถิติการเสียของเครื่องจักรในรอบ 3 เดือน ซึ่งมีชั่วโมงทํางานของโรงงานรวม 600 ชั่วโมงเปน
ดังนี้ จงหาอัตราเวลาการชํารุดตอ 100 ชั่วโมงของเครื่องจักร 1 มีคาเทากับเทาไร

ส ภ
เครื่องจักร 1 เสีย 35 ครั้ง รวมเวลา 16.5 ชั่วโมง

เครื่องจักร 2 เสีย 12 ครั้ง รวมเวลา 22.1 ชั่วโมง

เครื่องจักร 3 เสีย 24 ครั้ง รวมเวลา 10.3 ชั่วโมง

เครื่องจักร 4 เสีย 19 ครั้ง รวมเวลา 23 ชั่วโมง


115 of 118
คําตอบ 1 : 1.72 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 2.75 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 3.68 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 3.83 ชั่วโมง

ขอที่ : 484
เครื่องจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครื่อง มีชางดูแลบํารุงรักษาประจําเครื่องแตละเครื่อง สถิติการเสียของเครื่องจักรในรอบ 3 เดือน ซึ่งมีชั่วโมงทํางานของโรงงานรวม 600 ชั่วโมงเปน


ดังนี้ จงหาอัตราความถี่การชํารุดตอ 100 ชั่วโมงของเครื่องจักร 2 มีคาเทากับเทาไร

เครื่องจักร 1 เสีย 35 ครั้ง รวมเวลา 16.5 ชั่วโมง

น่ า
เครื่องจักร 2 เสีย 12 ครั้ง รวมเวลา 22.1 ชั่วโมง

จ ำ ห
เครื่องจักร 3 เสีย 24 ครั้ง รวมเวลา 10.3 ชั่วโมง

า้ ม
ิธ์ ห
เครื่องจักร 4 เสีย 19 ครั้ง รวมเวลา 23 ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 2 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง

ิท
คําตอบ 2 : 3.17 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง


คําตอบ 3 : 4 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 5.83 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง

ง ว น
ขอที่ : 485

อ ส

เครื่องจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครื่อง มีชางดูแลบํารุงรักษาประจําเครื่องแตละเครื่อง สถิติการเสียของเครื่องจักรในรอบ 3 เดือน ซึ่งมีชั่วโมงทํางานของโรงงานรวม 600 ชั่วโมงเปน

กร
ดังนี้ จงหาอัตราเวลาการชํารุดตอ 100 ชั่วโมงของเครื่องจักร 2 มีคาเทากับเทาไร เครื่องจักร 1 เสีย 35 ครั้ง รวมเวลา 16.5 ชั่วโมง เครื่องจักร 2 เสีย 12 ครั้ง รวมเวลา 22.1 ชั่วโมง
เครื่องจักร 3 เสีย 24 ครั้ง รวมเวลา 10.3 ชั่วโมง เครื่องจักร 4 เสีย 19 ครั้ง รวมเวลา 23 ชั่วโมง
คําตอบ 1 :



1.72 ชั่วโมง

าว
คําตอบ 2 : 2.75 ชั่วโมง


คําตอบ 3 : 3.68 ชั่วโมง


คําตอบ 4 : 3.83 ชั่วโมง

ขอที่ : 486
เครื่องจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครื่อง มีชางดูแลบํารุงรักษาประจําเครื่องแตละเครื่อง สถิติการเสียของเครื่องจักรในรอบ 3 เดือน ซึ่งมีชั่วโมงทํางานของโรงงานรวม 600 ชั่วโมงเปน
ดังนี้ จงหาอัตราความถี่การชํารุดตอ 100 ชั่วโมงของเครื่องจักร 3 มีคาเทากับเทาไร

เครื่องจักร 1 เสีย 35 ครั้ง รวมเวลา 16.5 ชั่วโมง 116 of 118

เครื่องจักร 2 เสีย 12 ครั้ง รวมเวลา 22.1 ชั่วโมง


เครื่องจักร 3 เสีย 24 ครั้ง รวมเวลา 10.3 ชั่วโมง

เครื่องจักร 4 เสีย 19 ครั้ง รวมเวลา 23 ชั่วโมง


คําตอบ 1 : 2 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 3.17 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 4 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง

่ า ย
คําตอบ 4 : 5.83 ครั้งตอ 100 ชั่วโมง

ขอที่ :

หน

487


สถิติอัตราการหยุดโรงงาน (downtime) เฉลี่ย คิดเปนเปอรเซ็นต ของโรงงาน 4 แหงเปนเวลา 5 ป ตามลําดับจากปแรกจนถึงปที่ 5 เปนดังนี้ จงหาวาโรงงานใดที่มีผลการปฏิบัติงาน


บํารุงรักษาที่ดีที่สุด

า้
ิธ์ ห
โรงงานที่ 1 12.5 13.4 12.4 13.9 13.1

โรงงานที่ 2 11.5 10.2 9.4 8.6 6.2

โรงงานที่ 3 13.2 12.8 12.4 12.7 12.6

ส ิท
โรงงานที่ 4 12.2 13.6 15.8 15.6 17.9

ง ว น

คําตอบ 1 : โรงงานที่ 1


คําตอบ 2 : โรงงานที่ 2


คําตอบ 3 : โรงงานที่ 3

กร
คําตอบ 4 : โรงงานที่ 4


ิ ว
าว
ขอที่ : 488
สถิติอัตราการหยุดโรงงาน (downtime) เฉลี่ย คิดเปนเปอรเซ็นต ของโรงงาน 4 แหงเปนเวลา 5 ปตามลําดับจากปแรกจนถึงปที่ 5 เปนดังนี้ จงหาวาโรงงานใดที่มีผลการปฏิบัติงาน


บํารุงรักษาที่ต่ําที่สุด โรงงานที่ 1 12.5 13.4 12.4 13.9 13.1 โรงงานที่ 2 11.5 10.2 9.4 8.6 6.2 โรงงานที่ 3 13.2 12.8 12.4


12.7 12.6 โรงงานที่ 4 12.2 13.6 15.8 15.6 17.9
คําตอบ 1 : โรงงานที่ 1
คําตอบ 2 : โรงงานที่ 2
คําตอบ 3 : โรงงานที่ 3
คําตอบ 4 : โรงงานที่ 4

117 of 118
ขอที่ : 489
เมื่อผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานมีแนวโนมที่ดีขึ้น อัตราการชํารุดจากการขาดน้ํามันหลอลื่นควรที่จะมีแนวโนมแบบใด
คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : คงที่
คําตอบ 3 : ลดลง
คําตอบ 4 : ไมแนนอน

ขอที่ : 490

่ า ย
เมื่อมีการจัดทํามาตรฐานการตรวจสอบเครื่องจักรเปนจํานวนที่มากขึ้น ผลการปฏิบัติงานบํารุงรักษาของหนวยงานควรที่จะมีแนวโนมแบบใด


คําตอบ 1 : ดีขึ้น


คําตอบ 2 : คงที่

จ ำ
คําตอบ 3 : ลดลง


คําตอบ 4 : ไมสามารถบอกไดจากองคประกอบเพียงอยางเดียว

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

118 of 118

You might also like