You are on page 1of 262

สาขา อุตสาหการ วิชา: IE02 Operations Research

ขอที่ : 1
ในการสรางรูปแบบปญหาทางคณิตศาสตร สิ่งใดตอไปนี้ควรทําเปนลําดับแรก
คําตอบ 1 : สรางสมการแสดงเงื่อนไขขอบขาย
คําตอบ 2 : สรางอสมการแสดงเงื่อนไขขอบขาย
คําตอบ 3 : กําหนดตัวแปร
คําตอบ 4 : สรางสมการเปาหมาย

ขอที่ : 2
ขอใดมีคาของ Objective Function ตางไปจากปญหา Linear Programming ขางลางนี้

Maximize X1 + 2X2

Subject to

X1 + X2 ≤ 48

3X1 + 4X2 ≤ 122

X1, X2 ≥ 0
Maximize X1 + 2X2
คําตอบ 1 :
Subject to

Page 1 of 262
X1 + X2 + X3 = 48

3X1 + 4X2 ≤ 122

X1, X2, X3 ≥ 0
Maximize X3 - 48

Subject to

คําตอบ 2 : X1 + X2 ≤ 48

3X1 + 4X2 ≤ 122

X1, X2, X3 ≥ 0
Maximize X3

Subject to

X3 - X1 – X2 ≤ 48

คําตอบ 3 : X3 - X1 – X2 ≥ 48

X1 + X2 ≤ 48

3X1 + 4X2 ≤ 122

X1, X2, X3 ≥ 0
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

Page 2 of 262
ขอที่ : 3
กําหนด

Maximize Z = 40A+30B

Subject to

A + 2B <= 40

4A + 3B <= 120

A , B >=0

ลักษณะของปญหาขอนี้คือ
คําตอบ 1 : คําตอบที่เหมาะสมที่สุดหาคาไดและมีคําตอบเดียว
คําตอบ 2 : คําตอบที่เหมาะสมที่สุดมีหลายคําตอบ
คําตอบ 3 : คําตอบที่ไดไมมีขอบเขต
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบที่เปนไปได

ขอที่ : 4
ถากําหนดให

Z = 4x+5y

โดยมีขอจํากัด

x+2y <= 10

Page 3 of 262
6x+6y <= 36

x <= 4

x, y >= 0

ในกรณีปญหาการหาคาที่สูงสุด เมื่อวาดกราฟแลวจะมีจุดมุมที่เกิดทั้งหมดกี่จุด
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
คําตอบ 4 : 4

ขอที่ : 5
โรงงานแหงหนึ่งผลิตสินคา 3 ประเภท ตองผานกรรมวิธีขั้นตอน และเวลาผลิตสินคา ดังแสดงใน
ตารางดังตอไปนี้
ขั้นตอนการผลิต เวลาตอหนวยที่ใชในการผลิตสินคาแตละชนิด (นาที) เวลากําหนดแตละ
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ขั้นตอนการผลิต
(นาทีตอวัน)
1 1 2 1 430
2 3 - 2 460
3 1 4 - 420
ในการผลิตแตละวัน ควรจะผลิตสินคาแตละชนิดอยางไร จึงจะใหผลกําไรสูงสุด ถาผลกําไรของสินคา
ประเภทที่ 1, 2, และ 3 เทากับ 2, 3, และ 4 บาท ตามลําดับ ใหตั้งรูปแบบแทนปญหาสําหรับสมการ
เปาหมาย (Objective Function) ทั้งนี้กําหนดให Z = จํานวนเงินกําไร และ A, B, C = จํานวนผลิต

คําตอบ 1 : Max Z = 2A+3B+4C


คําตอบ 2 : Max Z = 3B+4C

Page 4 of 262
คําตอบ 3 : Max Z = 2A+2B+4C
คําตอบ 4 : Max Z = 2A+B+4C

ขอที่ : 6
โรงงานแหงหนึ่งผลิตสินคา 3 ประเภท ตองผานกรรมวิธีขั้นตอน และเวลาผลิตสินคา ดังแสดงใน
ตารางดังตอไปนี้
ขั้นตอนการผลิต เวลาตอหนวยที่ใชในการผลิตสินคาแตละชนิด (นาที) เวลากําหนดแตละ
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ขั้นตอนการผลิต
(นาทีตอวัน)
1 1 2 1 430
2 3 - 2 460
3 1 4 - 420
ในการผลิตแตละวัน ควรจะผลิตสินคาแตละชนิดอยางไร จึงจะใหผลกําไรสูงสุด ถาผลกําไรของสินคา
ประเภทที่ 1, 2, และ 3 เทากับ 2, 3, และ 4 บาท ตามลําดับ ใหตั้งรูปแบบแทนปญหาสําหรับสมการ
หรืออสมการขีดจํากัดทรัพยากร (Constraints) ทั้งนี้กําหนดให Z = จํานวนเงินกําไร และ A, B, C =

ขั้นตอนที่ 1 A+B+C <= 430

คําตอบ 1 : ขั้นตอนที่ 2 3A+C <= 420

ขั้นตอนที่ 3 A+4B <= 420


ขั้นตอนที่ 1 A+2B+C <= 430

คําตอบ 2 : ขั้นตอนที่ 2 3A+2C <= 460

ขั้นตอนที่ 3 A+4B <= 420


ขั้นตอนที่ 1 A+2B+C <= 460
คําตอบ 3 :

Page 5 of 262
ขั้นตอนที่ 2 3A+2C <= 430

ขั้นตอนที่ 3 A+4B <= 400


คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 7
โรงงานแหงหนึ่งผลิตสินคา 3 ประเภท ตองผานกรรมวิธีขั้นตอน และเวลาผลิตสินคา ดังแสดงใน
ตารางดังตอไปนี้
ขั้นตอนการผลิต เวลาตอหนวยที่ใชในการผลิตสินคาแตละชนิด (นาที) เวลากําหนดแตละ
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ขั้นตอนการผลิต
(นาทีตอวัน)
1 1 2 1 430
2 3 - 2 460
3 1 4 - 420
ในการผลิตแตละวัน ควรจะผลิตสินคาแตละชนิดอยางไร จึงจะใหผลกําไรสูงสุด ถาผลกําไรของสินคา
ประเภทที่ 1, 2, และ 3 เทากับ 2, 3, และ 4 บาท ตามลําดับ ใหตั้งรูปแบบขยายดวยการใช Slack or
Surplus Variable สําหรับ สมการหรืออสมการขีดจํากัดทรัพยากร (Constraints) ของขั้นตอนที่ 1
ทั้งนี้กําหนดให Z = จํานวนเงินกําไร และ A, B, C = จํานวนผลิตของสินคาประเภทที่ i โดย i = 1, 2,

คําตอบ 1 : ขั้นตอนที่1 A+2B+C+D = 430


คําตอบ 2 : ขั้นตอนที่1 A+2B+C-D = 430
คําตอบ 3 : ขั้นตอนที่1 A+2B+C = 430 + D
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 8
โรงงานแหงหนึ่งผลิตสินคา 3 ประเภท ตองผานกรรมวิธีขั้นตอน และเวลาผลิตสินคา ดังแสดงในตาราง
ดังตอไปนี้

Page 6 of 262
ขั้นตอนการผลิต เวลาตอหนวยที่ใชในการผลิตสินคาแตละชนิด (นาที) เวลากําหนดแตละ
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ขั้นตอนการผลิต
(นาทีตอวัน)
1 1 2 1 430
2 3 - 2 460
3 1 4 - 420
ในการผลิตแตละวัน ควรจะผลิตสินคาแตละชนิดอยางไร จึงจะใหผลกําไรสูงสุด ถาผลกําไรของสินคา
ประเภทที่ 1, 2, และ 3 เทากับ 2, 3, และ 4 บาท ตามลําดับ ใหตั้งรูปแบบขยายดวยการใช Slack or
Surplus Variable สําหรับ สมการหรืออสมการขีดจํากัดทรัพยากร (Constraints) ของขั้นตอนที่ 2 ทั้งนี้
กําหนดให Z = จํานวนเงินกําไร และ A, B, C = จํานวนผลิตของสินคาประเภทที่ i โดย i = 1, 2, 3
คําตอบ 1 : ขั้นตอนที่2 3A+2C = 460
คําตอบ 2 : ขั้นตอนที่2 3A+2C+E = 460
คําตอบ 3 : ขั้นตอนที่2 3A+2C- E = 460
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 9
โรงงานแหงหนึ่งผลิตสินคา 3 ประเภท ตองผานกรรมวิธีขั้นตอน และเวลาผลิตสินคา ดังแสดงในตาราง
ดังตอไปนี้
ขั้นตอนการผลิต เวลาตอหนวยที่ใชในการผลิตสินคาแตละชนิด (นาที) เวลากําหนดแตละ
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ขั้นตอนการผลิต
(นาทีตอวัน)
1 1 2 1 430
2 3 - 2 460
3 1 4 - 420
ในการผลิตแตละวัน ควรจะผลิตสินคาแตละชนิดอยางไร จึงจะใหผลกําไรสูงสุด ถาผลกําไรของสินคา
ประเภทที่ 1, 2, และ 3 เทากับ 2, 3, และ 4 บาท ตามลําดับ ใหตั้งรูปแบบขยายดวยการใช Slack or
Surplus Variable สําหรับ สมการหรืออสมการขีดจํากัดทรัพยากร (Constraints) ของขั้นตอนที่ 3

Page 7 of 262
3
คําตอบ 1 : ขั้นตอนที่ 3 A+4B-F = 420
คําตอบ 2 : ขั้นตอนที่ 3 A+4B = 420
คําตอบ 3 : ขั้นตอนที่ 3 A+4B+F = 420
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 10
บริษัทผลิตโทรทัศนแหงหนึ่ง มี 3 โรงงาน คือ A, B และ C สงใหตัวแทน 4
แหง คือ 1, 2, 3 และ 4 โดยโรงงาน A มีกําลังการผลิต 500 เครื่อง, โรงงาน
B มีกําลังการผลิต 700 เครื่อง, และ โรงงาน C มีกําลังการผลิต 800 เครื่อง
และตัวแทน 1 มีความตองการโทรทัศนจํานวน 400 เครื่อง, ตัวแทน 2 มี
ความตองการโทรทัศนจํานวน 900 เครื่อง, ตัวแทน 3 มีความตองการ
โทรทัศนจํานวน 200 เครื่อง และ ตัวแทน 4 มีความตองการโทรทัศนจํานวน
500 เครื่อง คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการขนสง จากโรงงานไปยังตัวแทนแสดง
ดังตารางตอไปนี้
ตัวแทน 1 ตัวแทน 2 ตัวแทน 3 ตัวแทน 4
โรงงาน A 12 13 4 6
โรงงาน B 6 4 10 11
โรงงาน C 10 9 12 4
จงจําลองสมการเปาหมาย ของปญหาการขนสงขางตน เพื่อแสดงคาใชจาย
ในการขนสง [Z(X)] ที่ต่ําที่สุด ถากําหนดให Xij คือ ปริมาณโทรทัศน ที่มี
การขนสงจากโรงงาน i (A, B, C) ไปยังตัวแทนจําหนาย j (1, 2, 3, 4)
Min Z(X) = 12XA1 + 13XA2 + 4XA3 + 6XA4 + 6XB1 + 4XB2
คําตอบ 1 :
+ 10XB3 + 11XB4 + 10XC1 + 9XC2 + 12XC3 + 4XC4
คําตอบ 2 : Min Z(X) = 12XA1 + 13XA2 + 4XA3 + 6XA4
Min Z(X) = 6XB1 + 4XB2 + 10XB3 + 11XB4 + 10XC1 +
คําตอบ 3 :
9XC2 + 12XC3 + 4XC4

Page 8 of 262
Min Z(X) = 10XA1 + 9XA2 + 12XA3 + 4XA4 + 6XB1 + 4XB2
คําตอบ 4 :
+ 10XB3 + 11XB4 + 12XC1 + 13XC2 + 4XC3 + 6XC4

ขอที่ : 11
บริษัทผลิตโทรทัศนแหงหนึ่ง มี 3 โรงงาน คือ A, B และ C สงใหตัวแทน 4 แหง คือ 1, 2, 3 และ 4
โดยโรงงาน A มีกําลังการผลิต 500 เครื่อง, โรงงาน B มีกําลังการผลิต 700 เครื่อง, และ โรงงาน C มี
กําลังการผลิต 800 เครื่อง และตัวแทน 1 มีความตองการโทรทัศนจํานวน 400 เครื่อง, ตัวแทน 2 มี
ความตองการโทรทัศนจํานวน 900 เครื่อง, ตัวแทน 3 มีความตองการโทรทัศนจํานวน 200 เครื่อง และ
ตัวแทน 4 มีความตองการโทรทัศนจํานวน 500 เครื่อง คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการขนสง จากโรงงาน
ไปยังตัวแทนแสดงดังตารางตอไปนี้
ตัวแทน 1 ตัวแทน 2 ตัวแทน 3 ตัวแทน 4
โรงงาน A 12 13 4 6
โรงงาน B 6 4 10 11
โรงงาน C 10 9 12 4
จงจําลองสมการขอจํากัดทรัพยากร ของโรงงาน A ถากําหนดให Xij คือ ปริมาณโทรทัศน ที่มีการ
ขนสงจากโรงงาน i (A, B, C) ไปยัง ตัวแทนจําหนาย j (1, 2, 3, 4)
คําตอบ 1 : XA1 + XA2 + XA3 + XA4 ≤ 500
คําตอบ 2 : XA1 + XA2 + XA3 + XA4 ≤ 400
คําตอบ 3 : 2XA1 + XA2 + XA3 + XA4 ≤ 500
คําตอบ 4 : XA1 + XA2 + XA3 ≤ 800

ขอที่ : 12
ขอใดคือ โครงสรางหลักของปญหาการกําหนดการเชิงเสนตรง
คําตอบ 1 : สมการจุดมุงหมาย
คําตอบ 2 : อสมการ และ/หรือ สมการขีดจํากัดของทรัพยากร
คําตอบ 3 : ความสัมพันธของตัวแปรใน (อ)สมการของตัวแบบ จะตองเปนเชิงเสนตรง

Page 9 of 262
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 13
ขอใดเปนขอสมมติในการสรางตัวแบบกําหนดการเชิงเสนตรง
คําตอบ 1 : อัตราสวนที่ใชของทรัพยากรไมคงที่เสมอ และไมคํานึงถึงปริมาณที่ใชในการผลิต
คําตอบ 2 : ความเปนอิสระตอกันของทรัพยากรตางๆ
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ตัวแปรตัดสินใจมีไดไมเกิน 20 ตัวแปร

ขอที่ : 14
บริษัททําการผลิตสีทาบาน 2 ชนิด คือ สีทาภายใน XI และ สีทาภายนอก XE วัตถุดิบสองชนิดคือ X
และ Y ไดถูกนํามาใชในการผลิต โดยปริมาณวัตถุดิบ X หาไดมากที่สุด 6 ตันตอวัน และ Y จํานวน 8
ตันตอวัน ความตองการตอวันของวัตถุดิบ ในการผลิตสีทั้งสองแบบ สามารถแสดงไดดังตาราง
ทรัพยากร ปริมาณความตองการตอตันของสี ปริมาณวัตถุดิบมาก
ทาภายนอก ทาภายใน ที่สุดที่หาได
วัตถุดิบ X 1 2 6
วัตถุดิบ Y 2 1 8
และจากการสํารวจ พบวา กําไร (ตอตัน) ของสีทาภายนอก และ ทาภายใน คือ 300 และ 200
ตามลําดับ จงสรางสมการเปาหมาย (Objective Function) เพื่อหากําไรที่เกิดขึ้นจากการขายสีทั้งสอง
ชนิด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 300XE + 300XI
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 200XE + 300XI
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 300XE + 200XI
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 300XE + 200XI

Page 10 of 262
ขอที่ : 15
บริษัททําการผลิตสีทาบาน 2 ชนิด คือ สีทาภายใน XI และ สีทาภายนอก XE วัตถุดิบสองชนิดคือ X
และ Y ไดถูกนํามาใชในการผลิต โดยปริมาณวัตถุดิบ X หาไดมากที่สุด 6 ตันตอวัน และ Y จํานวน 8
ตันตอวัน ความตองการตอวันของวัตถุดิบ ในการผลิตสีทั้งสองแบบ สามารถแสดงไดดังตาราง
ทรัพยากร ปริมาณความตองการตอตันของสี ปริมาณวัตถุดิบมาก
ทาภายนอก ทาภายใน ที่สุดที่หาได
วัตถุดิบ X 1 2 6
วัตถุดิบ Y 2 1 8
และจากการสํารวจ พบวา กําไร (ตอตัน) ของสีทาภายนอก และ ทาภายใน คือ 300 และ 200
ตามลําดับ จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิตสีทั้งสองชนิดสําหรับวัตถุดิบชนิด X
คําตอบ 1 : 2XE + XI ≤ 6
คําตอบ 2 : XE + 2XI ≤ 8
คําตอบ 3 : XE + 2XI ≤ 6
คําตอบ 4 : 2XE + XI ≤ 6

ขอที่ : 16
โรงงานประกอบวิทยุ ประกอบวิทยุ 2 รุน คือ H1 และ H2 ในสายการผลิตเดียวกัน ซึ่งสายการผลิตนี้
ประกอบดวย 3 สถานียอย โดยมีเวลาในการประกอบในแตละสถานีดังนี้ คือ
สถานียอย จํานวนนาทีตอหนวยผลิต
H1 H2
1 6 4
2 5 5
3 4 6
แตละสถานียอย มีเวลาทํางานมากที่สุด 480 นาทีตอวัน และตองมีการหยุดซอมบํารุงเครื่องจักร
ประจําวัน อีกอยางนอยที่สุด คิดเปน 10%, 14% และ 12% ของเวลาการทํางานทั้งหมด (ตามลําดับ
สถานียอย) จงสรางอสมการขอจํากัดของเวลา ที่สามาถใชในการประกอบวิทยุ ณ สถานียอยที่ 1
คําตอบ 1 : 6X1 + 4X2 ≤ 0.90(480)

Page 11 of 262
คําตอบ 2 : 6X1 + 4X2 ≤ 0.86(480)
คําตอบ 3 : 6X1 + 4X2 ≤ 0.14(480)
คําตอบ 4 : 6X1 + 4X2 ≤ 0.10(480)

ขอที่ : 17
โรงงานประกอบวิทยุ ประกอบวิทยุ 2 รุน คือ H1 และ H2 ในสายการผลิตเดียวกัน ซึ่งสายการผลิตนี้
ประกอบดวย 3 สถานียอย โดยมีเวลาในการประกอบในแตละสถานีดังนี้ คือ
สถานียอย จํานวนนาทีตอหนวยผลิต
H1 H2
1 6 4
2 5 5
3 4 6
แตละสถานียอย มีเวลาทํางานมากที่สุด 480 นาทีตอวัน และตองมีการหยุดซอมบํารุงเครื่องจักร
ประจําวัน อีกอยางนอยที่สุด คิดเปน 10%, 14% และ 12% ของเวลาการทํางานทั้งหมด (ตามลําดับ
สถานียอย) จงสรางอสมการขอจํากัดของเวลา ที่สามาถใชในการประกอบวิทยุ ณ สถานียอยที่ 2
คําตอบ 1 : 5X1 + 5X2 ≤ 0.14(480)
คําตอบ 2 : 6X1 + 4X2 ≤ 0.86(480)
คําตอบ 3 : 5X1 + 5X2 ≤ 0.86(480)
คําตอบ 4 : 6X1 + 4X2 ≤ 0.10(480)

ขอที่ : 18
โรงงานประกอบวิทยุ ประกอบวิทยุ 2 รุน คือ H1 และ H2 ในสายการผลิตเดียวกัน ซึ่งสายการผลิตนี้
ประกอบดวย 3 สถานียอย โดยมีเวลาในการประกอบในแตละสถานีดังนี้ คือ
สถานียอย จํานวนนาทีตอหนวยผลิต
H1 H2
1 6 4

Page 12 of 262
2 5 5
3 4 6
แตละสถานียอย มีเวลาทํางานมากที่สุด 480 นาทีตอวัน และตองมีการหยุดซอมบํารุงเครื่องจักร
ประจําวัน อีกอยางนอยที่สุด คิดเปน 10%, 14% และ 12% ของเวลาการทํางานทั้งหมด (ตามลําดับ
สถานียอย) จงสรางอสมการขอจํากัดของเวลา ที่สามาถใชในการประกอบวิทยุ ณ สถานียอยที่ 3
คําตอบ 1 : 6X1 + 4X2 ≤ 0.90(480)
คําตอบ 2 : 4X1 + 6X2 ≤ 0.12(480)
คําตอบ 3 : 6X1 + 4X2 ≤ 0.12(480)
คําตอบ 4 : 4X1 + 6X2 ≤ 0.88(480)

ขอที่ : 19
ผูจัดการโรงกลั่นน้ํามันแหงหนึ่ง ตองการตัดสินใจเกี่ยวกับกระบวนการ ที่เปนไปได 2 ชนิด ซึ่งแตละ
ชนิดใชสวนผสมนําเขา และผลลัพธ แตละครั้งที่เดินเครื่อง เปนดังนี้
กระบวนการที่ นําเขาน้ํามันดิบ ผลลัพธ
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 น้ํามัน ก. น้ํามัน ข.
1 5 3 5 8
2 4 5 4 4
จํานวนน้ํามันดิบที่นําเขาสําหรับชนิดที่ 1 มี 100 หนวย ชนิดที่ 2 มี 150 หนวย ตัวเลขที่ตลาดตองการ
สําหรับน้ํามัน ก อยางนอย 200 หนวย และ น้ํามัน ข อยางนอย 180 หนวย กําไรที่ไดแตละครั้งจาก
การเดินเครื่อง จากกระบวนการที่ 1 และ 2 เปน 30 และ 40 ตามลําดับ และกําหนดให X1 และ X2 เปน
จํานวนครั้งที่เดินเครื่องของกระบวนการที่ 1 และ 2 ตามลําดับ จงเขียนสมการเปาหมายของปญหา
ขางตน ทางดานผลกําไรที่โรงกลั่นน้ํามัน แหงนี้จะไดรับ
คําตอบ 1 : Maximize Z = 30X1 + 40X2
คําตอบ 2 : Minimize Z = 30X1 + 40X2
คําตอบ 3 : Minimize Z = 100X1 + 150X2
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

Page 13 of 262
ขอที่ : 20
ผูจัดการโรงกลั่นน้ํามันแหงหนึ่ง ตองการตัดสินใจเกี่ยวกับกระบวนการ ที่เปนไปได 2 ชนิด ซึ่งแตละ
ชนิดใชสวนผสมนําเขา และผลลัพธ แตละครั้งที่เดินเครื่อง เปนดังนี้
กระบวนการที่ นําเขาน้ํามันดิบ ผลลัพธ
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 น้ํามัน ก. น้ํามัน ข.
1 5 3 5 8
2 4 5 4 4
จํานวนน้ํามันดิบที่นําเขาสําหรับชนิดที่ 1 มี 100 หนวย ชนิดที่ 2 มี 150 หนวย ตัวเลขที่ตลาดตองการ
สําหรับน้ํามัน ก อยางนอย 200 หนวย และ น้ํามัน ข อยางนอย 180 หนวย กําไรที่ไดแตละครั้งจาก
การเดินเครื่อง จากกระบวนการที่ 1 และ 2 เปน 30 และ 40 ตามลําดับ และกําหนดให X1 และ X2 เปน
จํานวนครั้งที่เดินเครื่องของกระบวนการที่ 1 และ 2 ตามลําดับ จงเขียนขอจํากัดของทรัพยากร
ทางดานน้ํามันดิบของปญหาขางตน
5X1 + 4X2 ≥ 200
คําตอบ 1 :
8X1 + 4X2 ≥ 180
3X1 + 5X2 ≤ 150
คําตอบ 2 :
5X1 + 4X2 ≥ 200
5X1 + 4X2 ≤ 100
คําตอบ 3 :
3X1 + 5X2 ≤ 150
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 21
ผูจัดการโรงกลั่นน้ํามันแหงหนึ่ง ตองการตัดสินใจเกี่ยวกับกระบวนการ ที่เปนไปได 2 ชนิด ซึ่งแตละ
ชนิดใชสวนผสมนําเขา และผลลัพธ แตละครั้งที่เดินเครื่อง เปนดังนี้

Page 14 of 262
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 น้ํามัน ก. น้ํามัน ข.
1 5 3 5 8
2 4 5 4 4
จํานวนน้ํามันดิบที่นําเขาสําหรับชนิดที่ 1 มี 100 หนวย ชนิดที่ 2 มี 150 หนวย ตัวเลขที่ตลาดตองการ
สําหรับน้ํามัน ก อยางนอย 200 หนวย และ น้ํามัน ข อยางนอย 180 หนวย กําไรที่ไดแตละครั้งจาก
การเดินเครื่อง จากกระบวนการที่ 1 และ 2 เปน 30 และ 40 ตามลําดับ และกําหนดให X1 และ X2 เปน
จํานวนครั้งที่เดินเครื่องของกระบวนการที่ 1 และ 2 ตามลําดับ จงเขียนขอจํากัดของทรัพยากร
ทางดานตัวเลขที่ตลาดตองการของปญหาขางตน
5X1 + 4X2 ≥ 200
คําตอบ 1 :
8X1 + 4X2 ≥ 180
3X1 + 5X2 ≤ 150
คําตอบ 2 :
5X1 + 4X2 ≥ 200
5X1 + 4X2 ≤ 100
คําตอบ 3 :
3X1 + 5X2 ≤ 150
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 22
ผูจัดการโรงกลั่นน้ํามันแหงหนึ่ง ตองการตัดสินใจเกี่ยวกับกระบวนการ ที่เปนไปได 2 ชนิด ซึ่งแตละ
ชนิดใชสวนผสมนําเขา และผลลัพธ แตละครั้งที่เดินเครื่อง เปนดังนี้
กระบวนการที่ นําเขาน้ํามันดิบ ผลลัพธ
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 น้ํามัน ก. น้ํามัน ข.
1 5 3 5 8
2 4 5 4 4
จํานวนน้ํามันดิบที่นําเขาสําหรับชนิดที่ 1 มี 100 หนวย ชนิดที่ 2 มี 150 หนวย ตัวเลขที่ตลาดตองการ
สําหรับน้ํามัน ก อยางนอย 200 หนวย และ น้ํามัน ข อยางนอย 180 หนวย กําไรที่ไดแตละครั้งจาก

Page 15 of 262
การเดินเครื่อง จากกระบวนการที่ 1 และ 2 เปน 30 และ 40 ตามลําดับ และกําหนดให X1 และ X2 เปน
จํานวนครั้งที่เดินเครื่องของกระบวนการที่ 1 และ 2 ตามลําดับ จงเขียนตัวแบบทางคณิตศาสตรสําหรับ
ปญหาขางตน
Maximize Z = 30X1 + 40X2

Subject to

คําตอบ 1 : 5X1 + 4X2 ≥ 200

8X1 + 4X2 ≥ 180

X1 ≥ 0, X2 ≥ 0,
Minimize Z = 30X1 + 40X2

Subject to

คําตอบ 2 : 3X1 + 5X2 ≤ 150

5X1 + 4X2 ≥ 200

X1 ≥ 0, X2 ≥ 0,
Maximize Z = 30X1 + 40X2

Subject to
คําตอบ 3 :
5X1 + 4X2 ≤ 100

3X1 + 5X2 ≤ 150

Page 16 of 262
5X1 + 4X2 ≥ 200

8X1 + 4X2 ≥ 180

X1 ≥ 0, X2 ≥ 0,
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 23
ขอใดแสดง รูปแบบมาตรฐานของตัวแบบทางคณิตศาสตรสําหรับปญหากําหนดการเชิงเสนตรง ได
อยางถูกตอง
สมการเปาหมายจะอยูในรูปทําใหคาสูงสุด (Maximization) หรือทําใหคาต่ําสุด
คําตอบ 1 :
(Minimization)
คําตอบ 2 : ขอจํากัดจะอยูในรูปที่แปลงจากอสมการใหเปนสมการ (ใชเครื่องหมายเทากับ)
ตัวแปรทุกตัวจะมีคาเปนลบไมได และตัวคงที่ขวามือของเครื่องหมายเทากับตองเปน
คําตอบ 3 :
บวก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 24
ขอใดแสดง รูปแบบมาตรฐานของตัวแบบทางคณิตศาสตรสําหรับปญหากําหนดการเชิงเสนตรง ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : สมการเปาหมายจะอยูในรูปทําใหคาสูงสุด (Maximization)
คําตอบ 2 : ขอจํากัดจะอยูในรูปที่แปลงจากอสมการใหเปนสมการ (ใชเครื่องหมายเทากับ)
คําตอบ 3 : ตัวแปรทุกตัวสามารถจะมีคาเปนลบได
คําตอบ 4 : ตัวคงที่ขวามือของเครื่องหมายเทากับตองเปนลบ

Page 17 of 262
ขอที่ : 25
ขอใดแสดง รูปแบบมาตรฐานของตัวแบบทางคณิตศาสตรสําหรับปญหากําหนดการเชิงเสนตรง ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : สมการเปาหมายจะอยูในรูปทําใหคาสูงสุด (Maximization)
คําตอบ 2 : สมการเปาหมายจะอยูในรูปทําใหคาต่ําสุด (Minimization)
คําตอบ 3 : ตัวแปรทุกตัวจะมีคาเปนลบไมได
คําตอบ 4 : ตัวคงที่ขวามือของเครื่องหมายเทากับตองเปนลบ

ขอที่ : 26
ขอใดแสดง รูปแบบมาตรฐานของตัวแบบทางคณิตศาสตรสําหรับปญหากําหนดการเชิงเสนตรง ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : สมการเปาหมายจะอยูในรูปทําใหคาสูงสุด (Maximization)
คําตอบ 2 : สมการเปาหมายจะอยูในรูปทําใหคาต่ําสุด (Minimization)
คําตอบ 3 : ตัวแปรทุกตัวจะมีคาเปนลบได
คําตอบ 4 : ตัวคงที่ขวามือของเครื่องหมายเทากับตองเปนบวก

ขอที่ : 27
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 2 5 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย

Page 18 of 262
จากการสํารวจพบวา

1.เวลาในการทํางานสูงสุด 200 ชั่วโมง

2.ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 300 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)


ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด จากการขายสินคาทัง้ สองชนิด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 3XA + 4XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 9XA + 7XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 2XA + 4XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 2XA + 5XB

ขอที่ : 28
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 2 5 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 200 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 300 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดเวลาในการทํางาน

Page 19 of 262
คําตอบ 1 : 9XA + 7XB ≤ 300
คําตอบ 2 : 2XA + 4XB ≤ 300
คําตอบ 3 : 3XA + 4XB ≤ 200
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 29
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 2 5 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 200 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 300 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดวัตถุดิบชนิด X
คําตอบ 1 : 9XA + 7XB ≤ 300
คําตอบ 2 : 2XA + 4XB ≤ 300
คําตอบ 3 : 3XA + 4XB ≤ 200
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 30

Page 20 of 262
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 2 5 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 200 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 300 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดวัตถุดิบชนิด Y
คําตอบ 1 : 9XA + 7XB ≤ 300
คําตอบ 2 : 2XA + 4XB ≤ 300
คําตอบ 3 : 3XA + 4XB ≤ 200
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 31
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 2 5 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน

Page 21 of 262
หนวย

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 200 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 300 สวน จงสรางตัวแบบทางคณิตศาสตร สําหรับปญหา


ขางตน เพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด จากการขายสินคาทั้งสองชนิด
Max Z (Profit) = 2XA + 5XB

Subject to

9XA + 7XB ≤ 200


คําตอบ 1 :
3XA + 4XB ≤ 300

2XA + 4XB ≤ 300

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 2XA + 5XB

Subject to

3XA + 4XB ≤ 200


คําตอบ 2 :
9XA + 7XB ≤ 300

2XA + 5XB ≤ 300

XA, XB ≥ 0

Page 22 of 262
Max Z (Profit) = 2XA + 5XB

Subject to

3XA + 4XB ≤ 200


คําตอบ 3 :
9XA + 7XB ≤ 300

2XA + 4XB ≤ 300

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 2XA + 5XB

Subject to

3XA + 4XB ≤ 200


คําตอบ 4 :
9XA + 5XB ≤ 300

2XA + 4XB ≤ 300

XA, XB ≥ 0

ขอที่ : 32
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 5 2 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน

Page 23 of 262
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 300 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 400 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)


ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด จากการขายสินคาทัง้ สองชนิด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 3XA + 4XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 9XA + 7XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 2XA + 4XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 5XA + 2XB

ขอที่ : 33
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 5 2 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย

จากการสํารวจพบวา

Page 24 of 262
1. เวลาในการทํางานสูงสุด 300 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 400 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดเวลาในการทํางาน
คําตอบ 1 : 9XA + 7XB ≤ 400
คําตอบ 2 : 2XA + 4XB ≤ 400
คําตอบ 3 : 4XA + 3XB ≤ 300
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 34
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 5 2 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 300 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 400 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดวัตถุดิบชนิด X
คําตอบ 1 : 7XA + 9XB ≤ 400
คําตอบ 2 : 2XA + 4XB ≤ 300

Page 25 of 262
คําตอบ 3 : 3XA + 4XB ≤ 300
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 35
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 5 2 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 300 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 400 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดวัตถุดิบชนิด Y
คําตอบ 1 : 9XA + 7XB ≤ 400
คําตอบ 2 : 4XA + 2XB ≤ 400
คําตอบ 3 : 3XA + 4XB ≤ 300
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 36
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย

Page 26 of 262
กําไรตอหนวย 5 2 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 300 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 400 สวน จงสรางตัวแบบทางคณิตศาสตร สําหรับปญหา


ขางตน เพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด จากการขายสินคาทั้งสองชนิด
Max Z (Profit) = 2XA + 5XB

Subject to

9XA + 7XB ≤ 300


คําตอบ 1 :
3XA + 4XB ≤ 400

2XA + 4XB ≤ 400

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 2XA + 5XB

Subject to
คําตอบ 2 :
3XA + 4XB ≤ 300

Page 27 of 262
9XA + 7XB ≤ 400

2XA + 5XB ≤ 400

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 5XA + 2XB

Subject to

4XA + 3XB ≤ 300


คําตอบ 3 :
7XA + 9XB ≤ 400

4XA + 2XB ≤ 400

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 2XA + 5XB

Subject to

3XA + 4XB ≤ 300


คําตอบ 4 :
9XA + 5XB ≤ 400

2XA + 4XB ≤ 400

XA, XB ≥ 0

ขอที่ : 37

Page 28 of 262
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 5 2 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 250 300 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1.เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงสรางตัวแบบทางคณิตศาสตร สําหรับปญหา


ขางตน เพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด จากการขายสินคาทั้งสองชนิด
Max Z (Profit) = 2XA + 5XB

Subject to

9XA + 7XB ≤ 300


คําตอบ 1 :
3XA + 4XB ≤ 400

2XA + 4XB ≤ 400

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 2XA + 5XB
คําตอบ 2 :

Page 29 of 262
Subject to

3XA + 4XB ≤ 300

9XA + 7XB ≤ 400

2XA + 5XB ≤ 400

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 5XA + 2XB

Subject to

4XA + 3XB ≤ 300

7XA + 9XB ≤ 200


คําตอบ 3 :
4XA + 2XB ≤ 200

XA ≤ 250

XB ≤ 300

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 2XA + 5XB

Subject to
คําตอบ 4 :
3XA + 4XB ≤ 300

Page 30 of 262
9XA + 5XB ≤ 400

2XA + 4XB ≤ 400

XA, XB ≥ 0

ขอที่ : 38
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 5 2 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 250 300 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1.เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2.ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดวัตถุดิบชนิด X
คําตอบ 1 : 3XA + 4XB ≤ 400
คําตอบ 2 : 9XA + 7XB ≤ 400
คําตอบ 3 : 7XA + 9XB ≤ 200
คําตอบ 4 : 2XA + 4XB ≤ 400

Page 31 of 262
ขอที่ : 39
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 5 2 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 250 300 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดวัตถุดิบชนิด Y
คําตอบ 1 : 3XA + 4XB ≤ 400
คําตอบ 2 : 9XA + 7XB ≤ 400
คําตอบ 3 : 7XA + 9XB ≤ 200
คําตอบ 4 : 4XA + 2XB ≤ 200

ขอที่ : 40
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 5 2 บาท

Page 32 of 262
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 250 300 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1.เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2.ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดเวลาในการทํางาน
คําตอบ 1 : 4XA + 3XB ≤ 400
คําตอบ 2 : 9XA + 7XB ≤ 400
คําตอบ 3 : 7XA + 9XB ≤ 200
คําตอบ 4 : 4XA + 2XB ≤ 200

ขอที่ : 41
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 5 3 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 250 300 ชิ้น

Page 33 of 262
จากการสํารวจพบวา

1.เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2.ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)


ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 2XA + 5XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 5XA + 2XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 5XA + 3XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = XA + 5XB

ขอที่ : 42
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 50 30 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 250 300 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)

Page 34 of 262
ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 20XA + 50XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 50XA + 20XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 50XA + 30XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 50XA + 50XB

ขอที่ : 43
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
กําไรตอหนวย 150 300 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 250 300 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)


ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 200XA + 500XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 500XA + 200XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 500XA + 500XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 150XA + 300XB

Page 35 of 262
ขอที่ : 44
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 150 300 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 100 200 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 250 300 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)


ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 200XA + 500XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 500XA + 20XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 50XA + 100XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 150XA + 300XB

ขอที่ : 45
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย

Page 36 of 262
ราคาขายตอหนวย 150 300 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 120 200 บาท
เวลาตอหนวย 4 3 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 7 9 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 4 2 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 250 300 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)


ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 30XA + 100XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 500XA + 20XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 50XA + 100XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 150XA + 300XB

ขอที่ : 46
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 300 150 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 150 120 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย

Page 37 of 262
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 300 250 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)


ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 30XA + 100XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 500XA + 20XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 150XA + 30XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 30XA + 150XB

ขอที่ : 47
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 300 150 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 150 100 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 300 250 ชิ้น

Page 38 of 262
จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)


ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 30XA + 100XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 500XA + 20XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 150XA + 30XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 150XA + 50XB

ขอที่ : 48
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 300 150 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 200 100 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 300 250 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

Page 39 of 262
2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)
ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 30XA + 100XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 500XA + 20XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 100XA + 50XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 150XA + 50XB

ขอที่ : 49
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 3500 1500 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 2000 1000 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 300 250 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดเวลาในการทํางาน
คําตอบ 1 : 3XA + 4XB ≤ 200
คําตอบ 2 : 3XA + 4XB ≤ 400

Page 40 of 262
คําตอบ 3 : 9XA + 7XB ≤ 200
คําตอบ 4 : 4XA + 3XB ≤ 400

ขอที่ : 50
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 3500 1500 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 2000 1000 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 300 250 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงสรางตัวแบบกําหนดการเชิงเสนตรง (Linear


Programming) ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด
Max Z (Profit) = 500XA + 1500XB

Subject to
คําตอบ 1 :
3XA + 4XB ≤ 400

Page 41 of 262
9XA + 7XB ≤ 200

2XA + 4XB ≤ 200

XA ≤ 300

XB ≤ 250

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 1500XA + 500XB

Subject to

4XA + 3XB ≤ 400

9XA + 7XB ≤ 200


คําตอบ 2 :
2XA + 4XB ≤ 200

XA ≤ 300

XB ≤ 250

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 1500XA + 500XB

Subject to
คําตอบ 3 :
3XA + 4XB ≤ 400

Page 42 of 262
9XA + 7XB ≤ 200

2XA + 4XB ≤ 200

XA ≤ 300

XB ≤ 250

XA, XB ≥ 0
Max Z (Profit) = 1500XA + 500XB

Subject to

3XA + 4XB ≤ 200

9XA + 7XB ≤ 400


คําตอบ 4 :
2XA + 4XB ≤ 200

XA ≤ 300

XB ≤ 250

XA, XB ≥ 0

ขอที่ : 51
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 3500 1500 บาท

Page 43 of 262
ตนทุนรวมตอหนวย 2000 1000 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 300 250 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงหาสมการเปาหมาย (Objective Function)


ของปญหาขางตนเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด
คําตอบ 1 : Max Z (Profit) = 3000XA + 1000XB
คําตอบ 2 : Max Z (Profit) = 5000XA + 2000XB
คําตอบ 3 : Max Z (Profit) = 1000XA + 5000XB
คําตอบ 4 : Max Z (Profit) = 1500XA + 500XB

ขอที่ : 52
บริษัททําการผลิตสีทาบาน 2 ชนิด คือ สีทาภายใน XI และ สีทาภายนอก XE วัตถุดิบสองชนิดคือ X
และ Y ไดถูกนํามาใชในการผลิต โดยปริมาณวัตถุดิบ X หาไดมากที่สุด 6 ตันตอวัน และ Y จํานวน 8
ตันตอวัน ความตองการตอวันของวัตถุดิบ ในการผลิตสีทั้งสองแบบ สามารถแสดงไดดังตาราง
ทรัพยากร ปริมาณความตองการตอตันของสี ปริมาณวัตถุดิบมาก
ทาภายนอก ทาภายใน ที่สุดที่หาได
วัตถุดิบ X 1 2 6
วัตถุดิบ Y 2 1 8
และจากการสํารวจ พบวา กําไร (ตอตัน) ของสีทาภายนอก และ ทาภายใน คือ 300 และ 200

Page 44 of 262
ตามลําดับ จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิตสีทั้งสองชนิดสําหรับวัตถุดิบชนิด X
คําตอบ 1 : 2XE + XI ≤ 6
คําตอบ 2 : XE + 2XI ≤ 8
คําตอบ 3 : 2XE + XI ≤ 8
คําตอบ 4 : XE + 2XI ≤ 6

ขอที่ : 53
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 3,500 1,500 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 2,000 1,000 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 300 250 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดวัตถุดิบชนิด X
คําตอบ 1 : 9XA + 4XB ≤ 200
คําตอบ 2 : 9XA + 7XB ≤ 400
คําตอบ 3 : 9XA + 7XB ≤ 200

Page 45 of 262
คําตอบ 4 : 4XA + 3XB ≤ 400

ขอที่ : 54
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 3500 1500 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 2000 1000 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 300 250 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรที่ใชในการผลิต


ผลิตภัณฑทั้งสองชนิด สําหรับหมวดวัตถุดิบชนิด Y
คําตอบ 1 : 2XA + 4XB ≤ 400
คําตอบ 2 : 9XA + 7XB ≤ 250
คําตอบ 3 : 9XA + 7XB ≤ 200
คําตอบ 4 : 2XA + 4XB ≤ 200

ขอที่ : 55
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้

Page 46 of 262
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 3,500 1,500 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 2,000 1,000 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 300 250 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงสรางขอจํากัดของความตองการสูงสุด สําหรับ


ผลิตภัณฑชนิด A
คําตอบ 1 : XA ≤ 450
คําตอบ 2 : XA ≤ 300
คําตอบ 3 : 9XA ≤ 200
คําตอบ 4 : 2XA ≤ 200

ขอที่ : 56
บริษัทแหงหนึ่งมีขอมูลในอดีต ดังตารางตอไปนี้
ผลิตภัณฑ A ผลิตภัณฑ B หนวย
ราคาขายตอหนวย 3,500 1,500 บาท
ตนทุนรวมตอหนวย 2,000 1,000 บาท
เวลาตอหนวย 3 4 ชั่วโมง
วัตถุดิบชนิด X ตอ 9 7 สวน

Page 47 of 262
หนวย
วัตถุดิบชนิด Y ตอ 2 4 สวน
หนวย
ความตองการสูงสุด 300 250 ชิ้น

จากการสํารวจพบวา

1. เวลาในการทํางานสูงสุด 400 ชั่วโมง

2. ปริมาณการใชวัตถุดิบ แตละชนิดไมเกิน 200 สวน จงสรางขอจํากัดของความตองการสูงสุด สําหรับ


ผลิตภัณฑชนิด B
คําตอบ 1 : XB ≤ 450
คําตอบ 2 : XB ≤ 300
คําตอบ 3 : XB ≤ 250
คําตอบ 4 : XB ≤ 200

ขอที่ : 57
โรงงานประกอบวิทยุ ประกอบวิทยุ 2 รุน คือ T1 และ T2 ในสายการผลิตเดียวกัน ซึ่งสายการผลิตนี้
ประกอบดวย 3 สถานียอย โดยมีเวลาในการประกอบในแตละสถานีดังนี้ คือ
สถานียอย เวลาที่สามารถใช การหยุดซอม จํานวนนาทีตอหนวยผลิต
ในการทํางานได บํารุง T1 T2
(นาที)
A 500 10% 4 6
B 500 20% 5 5
C 500 30% 6 4
จงหาตัวแบบกําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) เพื่อกอใหเกิดเวลาวางงานที่ต่ําที่สุด

Page 48 of 262
Min Z (Idle Time) = (450 + 400 + 350) - 4T1 - 6T2 – 5T1 – 5T2 – 6T1 – 4T2

Subject to

5X1 + 5X2 ≤ (0.90)500


คําตอบ 1 :
4X1 + 6X2 ≤ (0.80)500

6X1 + 4X2 ≤ (0.70)500

X1, X2 ≥0
Min Z (Idle Time) = 4T1 + T2 + 5T1 + 5T2 + 6T1 + 4T2

Subject to

4X1 + 6X2 ≤ (0.90)500


คําตอบ 2 :
5X1 + 5X2 ≤ (0.80)500

6X1 + 4X2 ≤ (0.70)500

X1, X2 ≥0
Min Z (Idle Time) = (450 + 400 + 350) - 4T1 - 6T2 – 5T1 – 5T2 – 6T1 – 4T2

Subject to
คําตอบ 3 :
4X1 + 6X2 ≤ (0.90)500

5X1 + 5X2 ≤ (0.80)500

Page 49 of 262
6X1 + 4X2 ≤ (0.70)500

X1, X2 ≥0
Min Z (Idle Time) = (450 + 400 + 350) + 4T1 + 6T2 + 5T1 + 5T2 + 6T1 + 4T2

Subject to

5X1 + 5X2 ≤ (0.90)500


คําตอบ 4 :
4X1 + 6X2 ≤ (0.80)500

6X1 + 4X2 ≤ (0.70)500

X1, X2 ≥0

ขอที่ : 58
โรงงานประกอบวิทยุ ประกอบวิทยุ 2 รุน คือ T1 และ T2 ในสายการผลิตเดียวกัน ซึ่งสายการผลิตนี้
ประกอบดวย 3 สถานียอย โดยมีเวลาในการประกอบในแตละสถานีดังนี้ คือ
สถานียอย เวลาที่สามารถใช การหยุดซอม จํานวนนาทีตอหนวยผลิต
ในการทํางานได บํารุง T1 T2
(นาที)
A 500 10% 4 6
B 500 20% 5 5
C 500 10% 6 4
จงหาสมการเปาหมายสําหรับตัวแบบกําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) เพื่อกอใหเกิด

คําตอบ 1 : Min Z (Idle Time) = (450 + 400 + 350) - 4T1 - 6T2 – 5T1 – 5T2 – 6T1 – 4T2
คําตอบ 2 : Min Z (Idle Time) = 4T1 + T2 + 5T1 + 5T2 + 6T1 + 4T2

Page 50 of 262
คําตอบ 3 : Min Z (Idle Time) = (450 + 400 + 350) + 4T1 + 6T2 + 5T1 + 5T2 + 6T1 + 4T2
คําตอบ 4 : Min Z (Idle Time) = (450 + 400 + 450) - 4T1 - 6T2 – 5T1 – 5T2 – 6T1 – 4T2

ขอที่ : 59
โรงงานประกอบวิทยุ ประกอบวิทยุ 2 รุน คือ T1 และ T2 ในสายการผลิตเดียวกัน ซึ่งสายการผลิตนี้
ประกอบดวย 3 สถานียอย โดยมีเวลาในการประกอบในแตละสถานีดังนี้ คือ
สถานียอย เวลาที่สามารถใช การหยุดซอม จํานวนนาทีตอหนวยผลิต
ในการทํางานได บํารุง T1 T2
(นาที)
A 500 30% 4 6
B 500 20% 5 5
C 500 10% 6 4
จงหาสมการเปาหมายสําหรับตัวแบบกําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) เพื่อกอใหเกิด

คําตอบ 1 : Min Z (Idle Time) = (350 + 400 + 450) - 4T1 - 6T2 – 5T1 – 5T2 – 6T1 – 4T2
คําตอบ 2 : Min Z (Idle Time) = 4T1 + T2 + 5T1 + 5T2 + 6T1 + 4T2
คําตอบ 3 : Min Z (Idle Time) = (450 + 400 + 350) + 4T1 + 6T2 + 5T1 + 5T2 + 6T1 + 4T2
คําตอบ 4 : Min Z (Idle Time) = (450 + 400 + 450) - 4T1 - 6T2 – 5T1 – 5T2 – 6T1 – 4T2

ขอที่ : 60
ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตองเกี่ยวกับตัวแบบกําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming)

(i) ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) สวนใหญสามารถหาคําตอบไดดวยวิธีใช


กราฟ

(ii) ปญหาการจัดแบงงาน (Assignment Problem) สามารถหาคําตอบโดยวิธีกําหนดการเชิงเสนตรง

Page 51 of 262
(Linear Programming) เสมอ

(iii) ทั้งอสมการ (x1 + x2)/x3 ≤ c และ อสมการ (x1 + x2)/x3 ≤ cx3 มีคาเปนจํานวนจริงและคงที่
(Constant Real Number) และ x1, x2, x3 เปนตัวแปรที่มีคาเปนจํานวนจริง
คําตอบ 1 : ถูกเพียงหนึ่งขอในสามขอ
คําตอบ 2 : ถูกเพียงสองขอในสามขอ
คําตอบ 3 : ขอ (i), (ii) และ (iii) ถูก
คําตอบ 4 : ขอ (i), (ii) และ (iii) ผิด

ขอที่ : 61
ขอใดเปนรูปแบบที่ถูกตอง ของตัวแบบกําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming)
คําตอบ 1 : Minimize Z = 3x12 + 5x2
คําตอบ 2 : 2x1 + x22 + x3 = 10
คําตอบ 3 : 3x12 + 2x2 + x4 ≥ 20
คําตอบ 4 : x1 + 4x2 + x5 ≤ 16

ขอที่ : 62

Page 52 of 262
ในการผสมอาหารสัตว 2 แบบ คือ ชนิด และ ชนิด B โรงงานสามารถทํากําไรจากการขายอาหารสัตว
ชนิด A 1.5 บาทตอลิตร ในขณะที่ อาหารสัตวชนิด B กําไร 2 บาทตอลิตร วัตถุดิบที่ใชในการผสม
อาหารสัตวมสี องประเภท คือ รําขาวและขาวโพด ในการผสมอาหารสัตวชนิด A 1 ลิตร จะใชรําขาว 1
ลิตร และขาวโพด 0.5 ลิตร ในการผสมอาหารสัตวชนิด B 1 ลิตร จะใชรําขาว 1.6 ลิตร และขาวโพด
0.3 ลิตร โรงผสมมีพื้นที่ในการสํารองรําขาวและขาวโพดอยางจํากัด รําขาวสามารถเก็บได 20,000
ลิตรตอวัน ในขณะที่ขาวโพดสามารถเก็บได 5,000 ลิตรตอวัน อยางไรก็ตาม ปริมาณความตองการ
อาหารสัตวชนิด A มีไมเกินวันละ 12,000 ลิตร และปริมาณความตองการของอาหารสัตวชนิด B มีไม
เกินวันละ 10,000 ลิตร จงหาปริมาณการผลิตของอาหารสัตวชนิด A และ ชนิด B ในแตละวัน เพื่อให
โรงผสมมีกําไรสูงที่สุด ขอใดเปน Objective Function เมื่อ x1 คือ ปริมาณการผลิตของอาหารสัตว
ชนิด A และ x2 คือ ปริมาณการผลิตของอาหารสัตวชนิด B
คําตอบ 1 : Max Z = 1.5x1 + 2x2
คําตอบ 2 : Max Z = x1 + 1.6x2
คําตอบ 3 : Max Z = 0.5x1 + 0.3x2
คําตอบ 4 : Max Z = x1 + 0.5x2

ขอที่ : 63
ในการผสมอาหารสัตว 2 แบบ คือ ชนิด และ ชนิด B โรงงานสามารถทํากําไรจากการขายอาหารสัตว
ชนิด A 1.5 บาทตอลิตร ในขณะที่ อาหารสัตวชนิด B กําไร 2 บาทตอลิตร วัตถุดิบที่ใชในการผสม
อาหารสัตวมสี องประเภท คือ รําขาวและขาวโพด ในการผสมอาหารสัตวชนิด A 1 ลิตร จะใชรําขาว 1
ลิตร และขาวโพด 0.5 ลิตร ในการผสมอาหารสัตวชนิด B 1 ลิตร จะใชรําขาว 1.6 ลิตร และขาวโพด
0.3 ลิตร โรงผสมมีพื้นที่ในการสํารองรําขาวและขาวโพดอยางจํากัด รําขาวสามารถเก็บได 20,000
ลิตรตอวัน ในขณะที่ขาวโพดสามารถเก็บได 5,000 ลิตรตอวัน อยางไรก็ตาม ปริมาณความตองการ
อาหารสัตวชนิด A มีไมเกินวันละ 12,000 ลิตร และปริมาณความตองการของอาหารสัตวชนิด B มีไม
เกินวันละ 10,000 ลิตร จงหาปริมาณการผลิตของอาหารสัตวชนิด A และ ชนิด B ในแตละวัน เพื่อให
โรงผสมมีกําไรสูงที่สุด ขอใดเปน Constraint เมื่อ x1 คือ ปริมาณการผลิตของอาหารสัตวชนิด A และ
x2 คือ ปริมาณการผลิตของอาหารสัตวชนิด B
คําตอบ 1 : 1.5x1 + 2x2 ≤ 20,000
คําตอบ 2 : x1 + 1.6x2 ≤ 20,000

Page 53 of 262
คําตอบ 3 : 0.5x1 + 0.3x2 ≤ 5,000
คําตอบ 4 : x1 ≤ 12,000

ขอที่ : 64
คํากลาวตอไปนี้ที่เกี่ยวกับปญหาตัวแบบกําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ขอใดถูก

(i) หากปญหาเดิม (Primal Problem) มีคําตอบที่เปนไปได (Feasible Solutions) และมีฟงกชัน


เปาหมาย (Objective Function) ที่ไมมีขอบเขต (Unbounded Objective Function) แลว ปญหาคู
(Dual Problem) จะไมมีคําตอบที่เปนไปไดเลย (Has No Feasible Solution)

(ii) หากปญหาคู (Dual Problem) ไมมีคําตอบที่เปนไปไดเลย (Has No Feasible Solution) แลว


ฟงกชันเปาหมายของปญหาเดิม (Primal Problem) จะไมมีขอบเขต (Unbounded Objective
Function)
คําตอบ 1 : ขอ (i) เทานั้นที่ถูก
คําตอบ 2 : ขอ (ii) เทานั้นที่ถูก
คําตอบ 3 : ขอ (i) และ (ii) ถูก
คําตอบ 4 : ขอ (i) และ (ii) ผิด

ขอที่ : 65
ขอใดเปนขอสมมติเบื้องตนของการนําเสนอตัวแบบกําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming
Model)
คําตอบ 1 : อัตราสวนที่ใชของทรัพยากรคงที่เสมอ โดยไมคํานึงถึงปริมาณที่ใชในการผลิต
คําตอบ 2 : ความเปนอิสระตอกันของทรัพยากรตางๆ
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

Page 54 of 262
ขอที่ : 66
จากปญหาการโปรแกรมเชิงเสนตรงปญหาหนึ่ง Max Z = 2A + 4B + 3C - 9D ตัวแปรเขาคือ
คําตอบ 1 : A
คําตอบ 2 : B
คําตอบ 3 : C
คําตอบ 4 : ตัวใดก็ได

ขอที่ : 67
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
Artificial Variables คือ Variables ใดๆ ที่เติมเขาไปใน Constraints บางประเภท เพื่อ
คําตอบ 1 :
กอใหเกิด Feasible Solution
คําตอบ 2 : เราตองเติม Slack Variables ควบคูไป Artificial Variables เสมอ
วัตถุประสงคหลักอันหนึ่งของวิธี Two-Phase ก็คือทําให Artificial Variables ทุกตัว มี
คําตอบ 3 :
คาเปนศูนย
คําตอบ 4 : เราใชวิธี Big-M เพื่อหาคา Artificial Variables

ขอที่ : 68
โรงงานแหงหนึ่งผลิตสินคา 3 ประเภท สินคาแตละประเภทตองผานกรรมวิธี ขั้นตอน และเวลาผลิต
สินคา ดังแสดงในตารางดังตอไปนี้
ขั้นตอนการผลิต เวลาตอหนวยที่ใชในการผลิตสินคาแตละชนิด (นาที) เวลากําหนดแต
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ละขั้นตอนการ
ผลิต (นาที/วัน)
1 1 2 1 430
2 3 - 2 460
3 1 4 - 420

Page 55 of 262
ประเภทที่ 1, 2 และ 3 เทากับ 2, 3 และ 4 บาท ตามลําดับ ทั้งนี้ สมมติให Z เทากับ จํานวนเงินกําไร
และ A, B, C = จํานวนผลิตของสินคาประเภทที่ i โดย i = 1, 2, 3
คําตอบ 1 : ผลลัพธคือ A = 100, B = 220, C = 20, Z = 1,330
คําตอบ 2 : ผลลัพธคือ A = 120, B = 230, C = 20, Z = 1,350
คําตอบ 3 : ผลลัพธคือ A = 100, B = 230, C = 20, Z = 1,350
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 69
ถากําหนดใหตัวแบบทางคณิตศาสตรดังแสดงดานลาง จงหาคําตอบที่เหมาะสมที่สุดของปญหา
ดังกลาว

Maximize: 7x1 + 5x2

Subject to

2x1 + x2 ≤ 100 (Hours of Assembly Time)

4x1 + 3x2 ≤ 240 (Hours of Electronic Time)


คําตอบ 1 : x1 = 20 และ x2 = 40
คําตอบ 2 : x1 = 30 และ x2 = 30
คําตอบ 3 : x1 = 30 และ x2 = 40
คําตอบ 4 : x1 = 20 และ x2 = 30

ขอที่ : 70
หากตองการปรับปรุงคําตอบของปญหากําหนดการเชิงเสนตรง ดวยการกําหนดใหตัวแปร x2 เปนตัว
แปรเขา จงตรวจสอบวาตัวแปรใดควรเปนตัวแปรออก

Page 56 of 262
BV X1 X2 X3 X4 -Z b
X3 1 -1 1 0 0 10
X4 2 0 0 1 0 40
-Z 2 -1 0 0 1 0
คําตอบ 1 : ตัวแปร X3
คําตอบ 2 : ตัวแปร X4
คําตอบ 3 : ทั้งสองตัวแปร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 71
ขอใดแสดงขั้นตอนการหาคําตอบสําหรับปญหากําหนดการเชิงเสนตรงดวยวิธีกราฟไดอยางถูกตอง
วิธีกราฟเหมาะสําหรับการแกปญหาที่มีตัวแปรที่ตองการทราบมากกวา 2 ตัว เนื่องจาก
คําตอบ 1 :
งายและสะดวก
วิธีกราฟเหมาะสําหรับการแกปญหาที่มีตัวแปรที่ตองการทราบเพียง 2 ตัว เนื่องจาก งาย
คําตอบ 2 :
และสะดวก
วิธีกราฟสามารถหาคําตอบของปญหากําหนดการเชิงเสนตรงไดโดยไมตองทําการแปลง
คําตอบ 3 :
เปนตัวแบบทางคณิตศาสตร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 72
ขอใดแสดงขั้นตอนการหาคําตอบสําหรับปญหากําหนดการเชิงเสนตรงดวย
วิธีกราฟไดอยางถูกตอง
ขอจํากัดทางดานตัวแปรปญหา ที่ไมสามารถติดลบได เชน X1
คําตอบ 1 : ≥ 0 และ X2 ≥ 0 แสดงวาคา X1 และ X2 จะตองอยูในควอแด
รนทที่ 4

Page 57 of 262
ขอจํากัดทางดานตัวแปรปญหา ที่ไมสามารถติดลบได เชน X1
คําตอบ 2 : ≥ 0 และ X2 ≥ 0 แสดงวาคา X1 และ X2 จะตองอยูในควอแด
รนทที่ 3
ขอจํากัดทางดานตัวแปรปญหา ที่ไมสามารถติดลบได เชน X1
คําตอบ 3 : ≥ 0 และ X2 ≥ 0 แสดงวาคา X1 และ X2 จะตองอยูในควอแด
รนทที่ 2
ขอจํากัดทางดานตัวแปรปญหา ที่ไมสามารถติดลบได เชน X1
คําตอบ 4 : ≥ 0 และ X2 ≥ 0 แสดงวาคา X1 และ X2 จะตองอยูในควอแด
รนทที่ 1

ขอที่ : 73
การปรับโปรแกรมเสนตรงเพื่อใชซิมเพล็กซ สําหรับกรณีที่อสมการขอจํากัดทางดานทรัพยากรใช
เครื่องหมายนอยกวา (หมายความวาขางซายนอยกวาขางขวา) วิธีดําเนินการอยางไรตอไปนี้ ถูกตอง
ที่สุด
เพิ่มตัวแปร (ขางซาย) ขึ้นจํานวนหนึ่งเพื่อชวยสวนที่ขาดไปใหเทากับขางขวา ตัวแปรที่
คําตอบ 1 :
เพิ่มเขานี้ไปเรียกวา Slack Variables
เพิ่มตัวแปร (ขางซาย) ขึ้นจํานวนหนึ่งเพื่อชวยสวนที่ขาดไปใหเทากับขางขวา ตัวแปรที่
คําตอบ 2 :
เพิ่มเขานี้ไปเรียกวา Surplus Variables
เพิ่มตัวแปร (ขางขวา) ขึ้นจํานวนหนึ่งเพื่อชวยสวนที่ขาดไปใหเทากับขางซาย ตัวแปรที่
คําตอบ 3 :
เพิ่มเขานี้ไปเรียกวา Slack Variables
คําตอบ 4 : ขอมูลไมพอเพียง

ขอที่ : 74
การปรับโปรแกรมเสนตรงเพื่อใชซิมเพล็กซ สําหรับกรณีที่อสมการขอจํากัดทางดานทรัพยากรใช
เครื่องหมายมากกวา (หมายความวาขางซายมากกวาขางขวา) วิธีดําเนินการอยางไรตอไปนี้ ถูกตอง
ที่สุด

Page 58 of 262
เพิ่มตัวแปร (ขางซาย) ขึ้นจํานวนหนึ่งเพื่อชวยสวนที่ขาดไปใหเทากับขางขวา ตัวแปรที่
คําตอบ 1 :
เพิ่มเขานี้ไปเรียกวา Slack Variables
ลดตัวแปร (ขางซาย) ขึ้นจํานวนหนึ่งเพื่อชวยลดสวนที่เกินไปใหเทากับขางขวา ตัวแปร
คําตอบ 2 :
ที่ปรับออกนี้ไปเรียกวา Surplus Variables
ลดตัวแปร (ขางขวา) ขึ้นจํานวนหนึ่งเพื่อชวยสวนที่ขาดไปใหเทากับขางซาย ตัวแปรที่
คําตอบ 3 :
ปรับออกนี้ไปเรียกวา Slack Variables
คําตอบ 4 : ขอมูลไมพอเพียง

ขอที่ : 75
ถากําหนดใหรูปมาตรฐานของตัวแบบปญหากําหนดการเชิงเสนแบบเมทริกมีลักษณะดังนี้

Max Z = CX Min Z = CX

S.T. S.T.

AX =B AX = B

X≥0 X≥0

B≥0 B≥0

ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุด
A เปนเมทริกซขนาด n x n ซึ่งเปนเมทริกซขอจํากัดทรัพยากร X เปนเวคเตอร
คําตอบ 1 : แนวตั้ง 1 x n หรือที่เรียกวา Decision Vector B เปนเวคเตอรแนวตั้ง n x 1 หรือ
Requirement Vector C เปนเวคเตอรแนวนอน 1 x n หรือ Profit (Cost) Vector
A เปนเมทริกซขนาด n x n ซึ่งเปนเมทริกซขอจํากัดทรัพยากร X เปนเวคเตอร
คําตอบ 2 : แนวตั้ง n x 1 หรือที่เรียกวา Decision Vector B เปนเวคเตอรแนวตั้ง n x 1 หรือ
Requirement Vector C เปนเวคเตอรแนวนอน 1 x n หรือ Profit (Cost) Vector

Page 59 of 262
A เปนเมทริกซขนาด n x n ซึ่งเปนเมทริกซขอจํากัดทรัพยากร X เปนเวคเตอร
คําตอบ 3 : แนวตั้ง n x 1 หรือที่เรียกวา Decision Vector B เปนเวคเตอรแนวตั้ง 1 x n หรือ
Requirement Vector C เปนเวคเตอรแนวนอน 1 x n หรือ Profit (Cost) Vector
A เปนเมทริกซขนาด n x 1 ซึ่งเปนเมทริกซขอจํากัดทรัพยากร X เปนเวคเตอร
คําตอบ 4 : แนวตั้ง n x 1 หรือที่เรียกวา Decision Vector B เปนเวคเตอรแนวตั้ง n x 1 หรือ
Requirement Vector C เปนเวคเตอรแนวนอน 1 x n หรือ Profit (Cost) Vector

ขอที่ : 76
ถากําหนดใหรูปมาตรฐานของตัวแบบปญหากําหนดการเชิงเสนแบบเมทริกมีลักษณะดังนี้

Max Z = CX Min Z = CX

S.T. S.T.

AX =B AX = B

X≥0 X≥0

B≥0 B≥0

ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุด
A เปนเมทริกซขนาด n x n ซึ่งเปนเมทริกซขอจํากัดทรัพยากร X เปนเวคเตอร
คําตอบ 1 : แนวตั้ง 1 x n หรือที่เรียกวา Decision Vector B เปนเวคเตอรแนวตั้ง n x 1 หรือ
Requirement Vector
A เปนเมทริกซขนาด n x n ซึ่งเปนเมทริกซขอจํากัดทรัพยากร X เปนเวคเตอร
คําตอบ 2 : แนวตั้ง n x 1 หรือที่เรียกวา Decision Vector B เปนเวคเตอรแนวตั้ง n x 1 หรือ
Requirement Vector
คําตอบ 3 : A เปนเมทริกซขนาด n x n ซึ่งเปนเมทริกซขอจํากัดทรัพยากร X เปนเวคเตอร

Page 60 of 262
แนวตั้ง n x 1 หรือที่เรียกวา Decision Vector B เปนเวคเตอรแนวตั้ง 1 x n หรือ
Requirement Vector
A เปนเมทริกซขนาด n x 1 ซึ่งเปนเมทริกซขอจํากัดทรัพยากร X เปนเวคเตอร
คําตอบ 4 : แนวตั้ง n x 1 หรือที่เรียกวา Decision Vector B เปนเวคเตอรแนวตั้ง n x 1 หรือ
Requirement Vector

ขอที่ : 77
ถากําหนดใหรูปมาตรฐานของตัวแบบปญหากําหนดการเชิงเสนแบบเมทริกมีลักษณะดังนี้

Max Z = CX Min Z = CX

S.T. S.T.

AX =B AX = B

X≥0 X≥0

B≥0 B≥0

ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุด
X เปนเวคเตอรแนวตั้ง n x n หรือที่เรียกวา Decision Vector C เปนเวคเตอร
คําตอบ 1 :
แนวนอน n x n หรือ Profit (Cost) Vector
X เปนเวคเตอรแนวตั้ง 1 x n หรือที่เรียกวา Decision Vector C เปนเวคเตอร
คําตอบ 2 :
แนวนอน 1 x n หรือ Profit (Cost) Vector
X เปนเวคเตอรแนวตั้ง n x 1 หรือที่เรียกวา Decision Vector C เปนเวคเตอร
คําตอบ 3 :
แนวนอน n x n หรือ Profit (Cost) Vector
X เปนเวคเตอรแนวตั้ง n x 1 หรือที่เรียกวา Decision Vector C เปนเวคเตอร
คําตอบ 4 :
แนวนอน 1 x n หรือ Profit (Cost) Vector

Page 61 of 262
ขอที่ : 78
ขอใดแทนคุณสมบัติของเมตริกซเอกลักษณ
เปนเมทริกซจัตุรัสที่สมาชิกในตําแหนงแถวเทากับตําแหนงสดมภจะมีสมาชิกมีคาเปน 1
คําตอบ 1 : และในทางกลับกันสมาชิกในตําแหนงแถวไมเทากับตําแหนงสดมภ จะมีสมาชิกมีคาเปน
0
เปนเมทริกซจัตุรัสที่สมาชิกในตําแหนงแถวเทากับตําแหนงสดมภจะมีสมาชิกมีคาเปน 0
คําตอบ 2 : และในทางกลับกันสมาชิกในตําแหนงแถวไมเทากับตําแหนงสดมภ จะมีสมาชิกมีคาเปน
0
เปนเมทริกซจัตุรัสที่สมาชิกในตําแหนงแถวเทากับตําแหนงสดมภจะมีสมาชิกมีคาเปน 1
คําตอบ 3 : และในทางกลับกันสมาชิกในตําแหนงแถวไมเทากับตําแหนงสดมภ จะมีสมาชิกมีคาเปน
-1
คําตอบ 4 : ขอมูลไมพอเพียง

ขอที่ : 79
ขอใดแทนลักษณะของการคํานวนไดอยางถูกตองของ ตัวเลขคงที่ใดๆ หรือตัวอักษรที่เปนคาคงที่ คูณ
กับเมทริกซ
ใหนําคาคงที่นั้นหรือตัวอักษรนั้นคูณเขากับสมาชิกเฉพาะตัวที่มีคาไมเปนศูนยของเมท
คําตอบ 1 :
ริกซ
คําตอบ 2 : ใหนําคาคงที่นั้นหรือตัวอักษรนั้นคูณเขากับสมาชิกเฉพาะตัวที่มีคาเปนศูนยของเมทริกซ
คําตอบ 3 : ใหนําคาคงที่นั้นหรือตัวอักษรนั้นคูณเขากับสมาชิกทุกตัวของเมทริกซ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 80
ขอใดแทนลักษณะของการคํานวนไดอยางถูกตองของ เมทริกซคูณกับเมทริกซ

Page 62 of 262
คําตอบ 1 : เมทริกซที่หนึ่งตองมีมิติที่จํานวนสดมภเทากับ จํานวนแถวของเมทริกซที่สอง
เมทริกซที่เปนผลลัพธจะมีมิติเปนจํานวนแถว เทากับ จํานวนแถวของเมทริกซที่หนึ่ง
คําตอบ 2 :
และ จํานวนสดมภเทากับจํานวนสดมภของเมทริกซที่สอง
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 81
ขอใดแทนลักษณะของการคํานวณไดอยางถูกตองของ เมทริกซคูณกับเมทริกซ
คําตอบ 1 : เมทริกซที่หนึ่งตองมีมิติที่จํานวนสดมภเทากับ จํานวนแถวของเมทริกซที่สอง
เมทริกซที่เปนผลลัพธจะมีมิติเปนจํานวนแถว เทากับ จํานวนแถวของเมทริกซที่หนึ่ง
คําตอบ 2 :
และ จํานวนสดมภเทากับจํานวนสดมภของเมทริกซที่สอง
นําเมทริกซมาคูณกันไดโดยการนําสมาชิกแถวของเมทริกซที่หนึ่งคูณกับสมาชิกที่อยูใน
คําตอบ 3 :
สดมภของเมทริกซที่สองแลวนํามารวมกัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 82
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + X2

S.T.

X1 – X2 ≤ 10

2X1 ≤ 40

X1, X2 ≥ 0

Page 63 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 83
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = X1 + X2

S.T.

X1 – X2 ≤ 10

2X1 ≤ 40

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)

ขอที่ : 84
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + 2X2

Page 64 of 262
S.T.

X1 – X2 ≤ 10

2X1 ≤ 40

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 85
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + 2X2

S.T.

X1 – X2 ≤ 20

2X1 ≤ 40

X1, X2 ≥ 0

Page 65 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 86
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + 2X2

S.T.

X1 – X2 ≤ 20

2X1 ≤ 30

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 87
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + 2X2

Page 66 of 262
S.T.

X1 – X2 ≤ 20

2X1 ≤ 20

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)

ขอที่ : 88
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = X1 + X2

S.T.

X1 – X2 ≤ 20

2X1 ≤ 20

X1, X2 ≥ 0

Page 67 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 89
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = X1 + X2

S.T.

X1 – X2 ≤ 20

2X1 ≤ 30

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 90
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = X1 + X2

Page 68 of 262
S.T.

X1 – X2 ≤ 20

2X1 ≤ 40

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)

ขอที่ : 91
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + X2

S.T.

X1 – X2 ≤ 20

2X1 ≤ 40

X1, X2 ≥ 0

Page 69 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 92
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + X2

S.T.

X1 – X2 ≤ 20

2X1 ≤ 30

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 93
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + X2

Page 70 of 262
S.T.

X1 – X2 ≤ 20

2X1 ≤ 20

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 94
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 3X1 + 2X2

S.T.

2X1 + X2 ≤2

3X1 + 4X2 ≥ 12

X1, X2 ≥ 0

Page 71 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 95
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 3X1 + 2X2

S.T.

2X1 + X2 ≤4

3X1 + 4X2 ≥ 24

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)

ขอที่ : 96
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 3X1 + 2X2

Page 72 of 262
S.T.

2X1 + X2 ≤2

3X1 + 4X2 ≥ 10

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 97
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 3X1 + 2X2

S.T.

2X1 + X2 ≤2

3X1 + 4X2 ≥ 14

X1, X2 ≥ 0

Page 73 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)

ขอที่ : 98
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = X1 + 2X2

S.T.

2X1 + X2 ≤2

3X1 + 4X2 ≥ 12

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 99
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = X1 + 2X2

Page 74 of 262
S.T.

2X1 + X2 ≤2

3X1 + 4X2 ≥ 10

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 100
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = X1 + 2X2

S.T.

2X1 + X2 ≤4

3X1 + 4X2 ≥ 24

X1, X2 ≥ 0

Page 75 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)

ขอที่ : 101
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + 2X2

S.T.

2X1 + X2 ≤4

3X1 + 4X2 ≥ 24

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 102
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + 2X2

Page 76 of 262
S.T.

2X1 + X2 ≤2

3X1 + 4X2 ≥ 10

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 103
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + 2X2

S.T.

2X1 + X2 ≤2

3X1 + 4X2 ≥ 12

X1, X2 ≥ 0

Page 77 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 4 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)

ขอที่ : 104
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 + 2X2

S.T.

2X1 + X2 ≤2

3X1 + 4X2 ≥ 14

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบหลายผลลัพธ (Alternative Optima)
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)

ขอที่ : 105
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 - 4X2

Page 78 of 262
S.T.

X1 + 2X2 ≤5

X1 + X2 ≤4

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 106
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Min Z = 2X1 - 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤5

X1 + X2 ≤4

X1, X2 ≥ 0

Page 79 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 107
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = 2X1 - 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤4

X1 + X2 ≤5

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 108
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Min Z = 2X1 - 4X2

Page 80 of 262
S.T.

X1 + 2X2 ≤4

X1 + X2 ≤5

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 109
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = -2X1 + 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤5

X1 + X2 ≤4

X1, X2 ≥ 0

Page 81 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 110
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Min Z = -2X1 + 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤5

X1 + X2 ≤4

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 111
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = -2X1 + 4X2

Page 82 of 262
S.T.

X1 + 2X2 ≤4

X1 + X2 ≤5

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 112
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Min Z = -2X1 + 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤4

X1 + X2 ≤5

X1, X2 ≥ 0

Page 83 of 262
คําตอบ 1 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 113
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Min Z = -2X1 + 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≥4

X1 + X2 ≥5

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 2 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 114
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = -2X1 + 4X2

Page 84 of 262
S.T.

X1 + 2X2 ≥4

X1 + X2 ≥5

X1, X2 ≥ 0
คําตอบ 1 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 115
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้มีคําตอบที่ถูกตองที่สุดแบบใด

Max Z = -2X1 + 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≥5

X1 + X2 ≥4

X1, X2 ≥ 0

Page 85 of 262
คําตอบ 1 : ไมมีคําตอบ (Infeasible Solution)
คําตอบ 2 : คําตอบเดียว (Single Solution)
คําตอบ 3 : คําตอบแบบไรขอบเขต (Unbounded Solution)
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 116
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรงปญหาหนึ่ง มีฟงกชันวัตถุประสงคคือ Maximize Z = 10X1 +20X2 และ
มี Corner-Point Feasible Solutions ดังนี้ (0,0), (0,6.67), (5,5), (6,4) และ (8,0) จากขอมูล
ขางตน Optimal Solution คือขอใด
คําตอบ 1 : (8, 0)
คําตอบ 2 : (0, 6.67)
คําตอบ 3 : (5, 5)
คําตอบ 4 : (6, 4)

ขอที่ : 117
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรงปญหาหนึ่ง มีฟงกชันวัตถุประสงคคือ Maximize Z = 10X1 +20X2 และ
มี Corner-point Feasible Solutions ดังนี้ (0,0), (0,6.67), (5,5), (6,4) และ (8,0) คา Z ที่ดีที่สุด
สําหรับปญหานี้มีคาเทาใด
คําตอบ 1 : 80 บาท
คําตอบ 2 : 133.4 บาท
คําตอบ 3 : 150 บาท
คําตอบ 4 : 140 บาท

ขอที่ : 118

Page 86 of 262
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรงปญหาหนึ่ง มีรูปแบบดังนี้ Maximize Z = 3X1 + 5X2

S.T.

X1 ≤6

X1 + 2X2 ≤ 12

X1, X2 ≥0

ขอใดไมใช Corner-Point Feasible Solution


คําตอบ 1 : (12, 0)
คําตอบ 2 : (0, 6)
คําตอบ 3 : (6, 5)
คําตอบ 4 : (6, 0)

ขอที่ : 119
วิธีบิ๊กเอ็มหรือวิธีสองเฟสนั้นใชในการแกปญหาการกําหนดการเชิงเสนตรงที่มีลักษณะแบบใด
คําตอบ 1 : มีตัวแปรสแล็ค (Slack Variable)
คําตอบ 2 : มีตัวแปรเทียม (Artificial Variable)
คําตอบ 3 : มีเครื่องหมาย <= ใน Functional Constraint
คําตอบ 4 : ฟงคชั่นวัตถุประสงคมีรูปแบบเปน Minimize

ขอที่ : 120
จงแกปญหา LP ตอไปนี้

Page 87 of 262
Maximize Z = 3X1 + 4X2

S.T.

2X1 + X2 ≤ 6

2X1 + 3X2 ≤ 10

-X1 + X2 ≤1

X1, X2 ≥0

คําตอบ 1 : z = 14
คําตอบ 2 : z = 17
คําตอบ 3 : มีคําตอบมากกวา 1 คําตอบ
คําตอบ 4 : z = 13.5

ขอที่ : 121
ปญหากําหนดการเชิงเสนที่คา Z ไมมีขอบเขตจํากัด (Unbounded Z) นั้นจะมีลักษณะอยางไร
คําตอบ 1 : มี Entering Basic Variable มากกวา 1 ตัว
คําตอบ 2 : มี Leaving Basic Variable มากกวา 1 ตัว
คําตอบ 3 : ไมมี Leaving Basic Variable
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 122
ขอความใดที่เปนจริงสําหรับความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem) และปญหาควบคู

Page 88 of 262
(Dual Problem)
คําตอบ 1 : ถาปญหา Primal มี 3 ตัวแปรปญหาควบคูจะมี 4 ขอบขาย
คําตอบ 2 : จํานวนตัวแปรของปญหา Primal จะเทากับจํานวนตัวแปรของปญหาควบคู
คําตอบ 3 : จํานวนขอบขายของปญหาควบคูจะเทากับจํานวนขอบขายของปญหา Primal
คําตอบ 4 : จํานวนตัวแปรของปญหา Primal จะเทากับจํานวนขอบขายของปญหาควบคู

ขอที่ : 123
ตัวแบบหลักของปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Primal Problem) แสดงดานลาง จงสรางสมการ
จุดมุงหมาย (Objective Function) ของตัวแบบคูควบ (Dual Problem)

Max Z = 5X1 + 12X2 + 4X3

S.T.

X1 + 2X2 + X3 + X4 = 10

2X1 – X2 + 3X3 ≥2

2X2 – 2X3 + X4 ≤7

X1, X2, X3, X4 ≥0


คําตอบ 1 : Min V(¶) = 5¶1 + 12¶2 + 4¶3
คําตอบ 2 : Min V(¶) = 10¶1 + 2¶2 + 7¶3
คําตอบ 3 : Min V(¶) = 10¶1 + 2¶2
คําตอบ 4 : Min V(¶) = 10¶1 + 7¶3

ขอที่ : 124

Page 89 of 262
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของปญหาหลัก (Primal
Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem: D) ไดอยางถูกตอง
คําตอบ 1 : สมการจุดมุงหมายของ P คือ Max สมการจุดมุงหมายของ D คือ Max
คําตอบ 2 : สมการจุดมุงหมายของ P คือ Min สมการจุดมุงหมายของ D คือ Min
คําตอบ 3 : สมการจุดมุงหมายของ P คือ Max สมการจุดมุงหมายของ D คือ Min
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 125
เครื่องหมายของปจจัย (Factors) ของปญหาหลัก (Primal: P) จะกําหนดคุณสมบัติอะไรของปญหาคู
ควบ (Dual: D)
คําตอบ 1 : เครื่องหมายของสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints)
คําตอบ 2 : คาทางดานขวามือของสมการหรืออสมการขีดจํากัด
คําตอบ 3 : เครื่องหมายของปจจัย
คําตอบ 4 : เครื่องหมายของสมการวัตถุประสงค (Objective Function)

ขอที่ : 126
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง
จํานวนตัวแปรสําหรับ D นอยกวาจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints)
คําตอบ 1 :
ของ P
จํานวนตัวแปรสําหรับ D มากกวาจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints)
คําตอบ 2 :
ของ P
จํานวนตัวแปรสําหรับ D เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ
คําตอบ 3 :
P
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

Page 90 of 262
ขอที่ : 127
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง
คําตอบ 1 : จํานวนตัวแปรสําหรับ P มากกวาจํานวนตัวแปรของ D
จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ
คําตอบ 2 :
D
คําตอบ 3 : จํานวนตัวแปรสําหรับ P นอยกวาจํานวนตัวแปรของ D
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 128
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง
จํานวนตัวแปรสําหรับ P นอยกวาจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints)
คําตอบ 1 : ของ D และ จํานวนตัวแปรสําหรับ D เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด
(Constraints) ของ P
จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ
คําตอบ 2 : D และ จํานวนตัวแปรสําหรับ D นอยกวาจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด
(Constraints) ของ P
จํานวนตัวแปรสําหรับ P นอยกวาจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints)
คําตอบ 3 : ของ D และ จํานวนตัวแปรสําหรับ D มากกวาเทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด
(Constraints) ของ P
จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ
คําตอบ 4 : D และ จํานวนตัวแปรสําหรับ D เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด
(Constraints) ของ P

Page 91 of 262
ขอที่ : 129
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง
จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ
คําตอบ 1 :
D
จํานวนตัวแปรสําหรับ D เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ
คําตอบ 2 :
P
จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนตัวแปรสําหรับ D และจํานวนตัวแปรสําหรับ D
คําตอบ 3 :
เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ P
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 130
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมายสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D
คําตอบ 1 : ตองเหมือนกัน สวนคาของสัมประสิทธิข
์ องสมการวัตถุประสงค (Objective Function)
ของ P และ D ตองแตกตางกัน
เครื่องหมายของสัมประสิทธิ์และคาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective
คําตอบ 2 :
Function) ของ P และ D ตองเหมือนกัน
จํานวนตัวแปรสําหรับ D เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ
คําตอบ 3 :
P
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 131
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง

Page 92 of 262
คา RHS ของ(อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D เทากับสัมประสิทธิ์ของสมการ
คําตอบ 1 :
จุดมุงหมาย (Objective Function) ของ P
คําตอบ 2 : คา RHS ของ(อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D มีคาเทากันทุกๆ (อ)สมการ
คา RHS ของ(อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D หาไดจากสัมประสิทธิ์ของ
คําตอบ 3 :
สมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ P
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 132
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมายสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D
คําตอบ 1 :
ตองเหมือนกัน
คา RHS ของ(อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D หาไดจากสัมประสิทธิ์ของ
คําตอบ 2 :
สมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ P
คําตอบ 3 : คา RHS ของ(อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D มีคาเทากันทุกๆ (อ)สมการ
เครื่องหมายของสัมประสิทธิ์และคาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective
คําตอบ 4 :
Function) ของ P และ D ตองเหมือนกัน

ขอที่ : 133
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ P ใชในการกําหนดคา
คําตอบ 1 :
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมายของ D
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ P ใชในการกําหนดคา
คําตอบ 2 :
สัมประสิทธิ์ทางดาน LHS ของ(อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D
คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ 1 และ 2

Page 93 of 262
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ P ใชในการกําหนดคา
คําตอบ 4 :
RHS ของ(อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D

ขอที่ : 134
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง
คา RHS ของ(อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D หาไดจากสัมประสิทธิ์ของ
คําตอบ 1 :
สมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ P
จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ
คําตอบ 2 :
D
เครื่องหมายของสัมประสิทธิ์และคาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective
คําตอบ 3 :
Function) ของ P และ D ตองเหมือนกัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 135
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมายสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D
คําตอบ 1 : ตองเหมือนกัน สวนคาของสัมประสิทธิข
์ องสมการวัตถุประสงค (Objective Function)
ของ P และ D ตองแตกตางกัน
เครื่องหมายของสัมประสิทธิ์และคาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective
คําตอบ 2 :
Function) ของ P และ D ตองเหมือนกัน
คา RHS ของ(อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D หาไดจากสัมประสิทธิ์ของ
คําตอบ 3 :
สมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ P
จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ
คําตอบ 4 :
D และ จํานวนตัวแปรสําหรับ D เทากับจํานวนตัวแปรสําหรับ P

Page 94 of 262
ขอที่ : 136
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual Problem:
D) ไดอยางถูกตอง
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ D หาไดจาก ผลคูณ
คําตอบ 1 :
ของตัวแปรคูควบ (Dual Variables) และ คา RHS ของ D
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ D หาไดจากคา RHS
คําตอบ 2 :
ของ P
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ D หาไดจาก ผลคูณ
คําตอบ 3 :
ของตัวแปรคูควบ (Dual Variables) และ คา RHS ของ P
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 137
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมายสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D
คําตอบ 1 : ตองแตกตางกัน สวนคาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function)
ของ P และ D ตองเหมือนกัน
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ D หาไดจาก ผลคูณ
คําตอบ 2 :
ของตัวแปรคูควบ (Dual Variables) และ คา RHS ของ P
คําตอบ 3 : จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนตัวแปรของ D
เครื่องหมายของสัมประสิทธิ์และคาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective
คําตอบ 4 :
Function) ของ P และ D ตองเหมือนกัน

ขอที่ : 138
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual

Page 95 of 262
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ D หาไดจาก ผลคูณ
คําตอบ 1 :
ของตัวแปรคูควบ (Dual Variables) และ คา RHS ของ P
คา RHS ของ(อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D หาไดจากสัมประสิทธิ์ของ
คําตอบ 2 :
สมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ P
คําตอบ 3 : จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนตัวแปรของ D
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 139
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมายสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D
คําตอบ 1 :
ตองเหมือนกัน
เครื่องหมายของสัมประสิทธิ์และคาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective
คําตอบ 2 :
Function) ของ P และ D ตองเหมือนกัน
คําตอบ 3 : จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนตัวแปรสําหรับ D
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ D หาไดจาก ผลคูณ
คําตอบ 4 :
ของตัวแปรคูควบ (Dual Variables) และ คา RHS ของ P

ขอที่ : 140
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
คาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D ตอง
คําตอบ 1 :
แตกตางกัน
คําตอบ 2 : จํานวนตัวแปรสําหรับ D เทากับจํานวนตัวแปรสําหรับ P

Page 96 of 262
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ D หาไดจาก ผลคูณ
คําตอบ 3 :
ของตัวแปรคูควบ (Dual Variables) และ คา RHS ของ P
จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ
คําตอบ 4 :
D

ขอที่ : 141
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมาย (อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ P จะกําหนดเครื่องหมาย (อ)
คําตอบ 1 :
สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D
คําตอบ 2 : จํานวนตัวแปรสําหรับ P นอยกวาจํานวนตัวแปรของ D
เครื่องหมาย (อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ P จะกําหนดเครื่องหมาย ตัวแปร
คําตอบ 3 :
(Factors) ของ D
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 142
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมาย (อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ P เหมือนกับเครื่องหมาย (อ)
คําตอบ 1 :
สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ D
เครื่องหมาย (อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ P จะกําหนดเครื่องหมาย ตัวแปร
คําตอบ 2 :
(Factors) ของ D
เครื่องหมาย (อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ P จะกําหนดเครื่องหมาย ตัวแปร
คําตอบ 3 :
(Factors) ของ P
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

Page 97 of 262
ขอที่ : 143
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมาย (อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ P จะกําหนดเครื่องหมาย ตัวแปร
คําตอบ 1 :
(Factors) ของ D
สัมประสิทธิ์ของสมการจุดมุงหมาย (Objective Function) ของ D หาไดจาก ผลคูณ
คําตอบ 2 :
ของตัวแปรคูควบ (Dual Variables) และ คา RHS ของ P
คําตอบ 3 : จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนตัวแปรของ D
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 144
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมายสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D
คําตอบ 1 :
ตองแตกตางกัน
คาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D ตอง
คําตอบ 2 :
เหมือนกัน
คําตอบ 3 : จํานวนตัวแปรสําหรับ P นอยกวาจํานวนตัวแปรสําหรับ D
เครื่องหมาย (อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ P จะกําหนดเครื่องหมาย ตัวแปร
คําตอบ 4 :
(Factors) ของ D

ขอที่ : 145
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
คาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ D ไมสามารถ
คําตอบ 1 :
กําหนดได ถาสมการจุดมุง หมายของ P คือ Max

Page 98 of 262
คาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ D สามารถ
คําตอบ 2 :
กําหนดได ถาสมการจุดมุง หมายของ P คือ Min
เครื่องหมาย (อ)สมการขีดจํากัด (Constraints) ของ P จะกําหนดเครื่องหมาย ตัวแปร
คําตอบ 3 :
(Factors) ของ D
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 146
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมายสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D
คําตอบ 1 :
ตองเหมือนกัน ถาสมการจุดมุงหมายของ P คือ Max
คาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D ตอง
คําตอบ 2 :
แตกตางกัน ถาสมการจุดมุงหมายของ P คือ Max
เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ P จะกําหนด เครื่องหมายของ (อ)สมการ
คําตอบ 3 :
ขีดจํากัด (Constraints) ของ D
คาของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D ตอง
คําตอบ 4 :
แตกตางกัน ถาสมการจุดมุงหมายของ P คือ Max

ขอที่ : 147
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
สัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ D เทากัน หาก
คําตอบ 1 :
จํานวนตัวแปรของปญหา D นอยกวาจํานวนตัวแปรของปญหา P
เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ P จะกําหนด เครื่องหมายของ (อ)สมการ
คําตอบ 2 :
ขีดจํากัด (Constraints) ของ D
คําตอบ 3 : เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ P จะไมสามารถกําหนดได หากจํานวนตัวแปร

Page 99 of 262
ของปญหา D นอยกวาจํานวนตัวแปรของปญหา P
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 148
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ P จะกําหนด เครื่องหมายของ (อ)สมการ
คําตอบ 1 :
ขีดจํากัด (Constraints) ของ D ในกรณีที่สมการจุดมุงหมายของ P คือ Max
เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ P จะกําหนด เครื่องหมายของ (อ)สมการ
คําตอบ 2 :
ขีดจํากัด (Constraints) ของ D ในกรณีที่สมการจุดมุงหมายของ P คือ Min
เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ P จะกําหนด เครื่องหมายของ (อ)สมการ
คําตอบ 3 : ขีดจํากัด (Constraints) ของ D ถาพบวาจํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนตัวแปร
ของ D
เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ P จะกําหนด เครื่องหมายของ (อ)สมการ
คําตอบ 4 :
ขีดจํากัด (Constraints) ของ D ในทุกๆ กรณี

ขอที่ : 149
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
สมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ D ตองเหมือนกันกับสมการ
คําตอบ 1 :
วัตถุประสงค (Objective Function) ของ P
เครื่องหมายของสัมประสิทธิ์ของสมการวัตถุประสงค (Objective Function) ของ P และ
คําตอบ 2 :
D ตองเหมือนกัน
จํานวนตัวแปรสําหรับ P เทากับจํานวนตัวแปรสําหรับ D และ จํานวนตัวแปรสําหรับ D
คําตอบ 3 :
เทากับจํานวนสมการหรืออสมการขีดจํากัด (Constraints) ของ P
คําตอบ 4 : เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ P จะกําหนด เครื่องหมายของ (อ)สมการ

Page 100 of 262


ขีดจํากัด (Constraints) ของ D

ขอที่ : 150
ขอใดแสดงความสัมพันธระหวางปญหาหลัก (Primal Problem: P) และปญหาคูควบ (Dual
Problem: D) ไดอยางถูกตอง
เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ D จะกําหนด เครื่องหมายของสมการ
คําตอบ 1 :
วัตถุประสงคของ D
เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ D จะกําหนด เครื่องหมายของ (อ)สมการ
คําตอบ 2 :
ขีดจํากัด (Constraints) ของ D
เครื่องหมายของตัวแปร (Factors) ของ P จะกําหนด เครื่องหมายของ (อ)สมการ
คําตอบ 3 :
ขีดจํากัด (Constraints) ของ D
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 151

Page 101 of 262


ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้

Max Z = -2X1 + 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤ 4

X1 + X2 ≤ 5

X1, X2 ≥0

หากพบวาคําตอบที่ถูกตองที่สุดคือ X1 = 0, X2 = 2 และ Z = 8 จงตรวจสอบวาการเปลี่ยนแปลงของ


ขอใดตอไปนี้ ที่ยังคงสามารถใหคาของคําตอบที่ดีที่สุดเหมือนเดิม
คําตอบ 1 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 4 เปน 3
คําตอบ 2 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 5 เปน 1
คําตอบ 3 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 5 เปน 4
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 152
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้

Max Z = -2X1 + 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤ 4

Page 102 of 262


X1 + X2 ≤ 5

X1, X2 ≥0

หากพบวาคําตอบที่ถูกตองที่สุดคือ X1 = 0, X2 = 2 และ Z = 8 จงตรวจสอบวาการเปลี่ยนแปลงของ


ขอใดตอไปนี้ ที่ยังคงสามารถใหคาของคําตอบที่ดีที่สุดเหมือนเดิม
คําตอบ 1 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 5 เปน 4
คําตอบ 2 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 4 เปน 5
คําตอบ 3 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 4 เปน 3
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 153
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้

Max Z = -X1 + 2X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤ 2

X1 + X2 ≤ 3

X1, X2 ≥0

หากพบวาคําตอบที่ถูกตองที่สุดคือ X1 = 0, X2 = 1 และ Z = 2 จงตรวจสอบวาการเปลี่ยนแปลงของ


ขอใดตอไปนี้ ที่ยังคงสามารถใหคาของคําตอบที่ดีที่สุดเหมือนเดิม
คําตอบ 1 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 2 เปน 3
คําตอบ 2 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 3 เปน 1

Page 103 of 262


คําตอบ 3 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 3 เปน 4
คําตอบ 4 : ขอ 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 154
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้

Max Z = -X1 + 2X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤ 2

X1 + X2 ≤ 3

X1, X2 ≥0

หากพบวาคําตอบที่ถูกตองที่สุดคือ X1 = 0, X2 = 1 และ Z = 2 จงตรวจสอบวาการเปลี่ยนแปลงของ


ขอใดตอไปนี้ ที่ยังคงสามารถใหคาของคําตอบที่ดีที่สุดเหมือนเดิม
คําตอบ 1 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 2 เปน 3
คําตอบ 2 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 3 เปน 1
คําตอบ 3 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 2 เปน 4
คําตอบ 4 : ขอ 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 155
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้

Page 104 of 262


Max Z = 2X1 - 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤ 4

X1 + X2 ≤ 5

X1, X2 ≥ 0 หากพบวาคําตอบที่ถูกตองที่สุดคือ X1 = 4, X2 = 0 และ Z = 8 จงตรวจสอบวาการ


เปลี่ยนแปลงของขอใดตอไปนี้ ที่ยังคงสามารถใหคาของคําตอบที่ดีที่สุดเหมือนเดิม
คําตอบ 1 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 5 เปน 4
คําตอบ 2 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 4 เปน 5
คําตอบ 3 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 4 เปน 3
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 156
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้

Max Z = 2X1 - 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤ 4

X1 + X2 ≤ 5

X1, X2 ≥0

หากพบวาคําตอบที่ถูกตองที่สุดคือ X1 = 4, X2 = 0 และ Z = 8 จงตรวจสอบวาการเปลี่ยนแปลงของ

Page 105 of 262


ขอใดตอไปนี้ ที่ยังคงสามารถใหคาของคําตอบที่ดีที่สุดเหมือนเดิม
คําตอบ 1 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 5 เปน 4
คําตอบ 2 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 5 เปน 3
คําตอบ 3 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 5 เปน 6
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3 ถูก

ขอที่ : 157
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้

Max Z = 2X1 - 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤ 4

X1 + X2 ≤ 5

X1, X2 ≥0

หากพบวาคําตอบที่ถูกตองที่สุดคือ X1 = 4, X2 = 0 และ Z = 8 จงตรวจสอบวาการเปลี่ยนแปลงของ


ขอใดตอไปนี้ ที่ยังคงสามารถใหคาของคําตอบที่ดีที่สุดเหมือนเดิม
คําตอบ 1 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 4 เปน 2
คําตอบ 2 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 5 เปน 3
คําตอบ 3 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 4 เปน 6
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 158

Page 106 of 262


Max Z = 3X1 + 4X2 เทียบเทากับขอใด
คําตอบ 1 : Max Z = -3X1 - 4X2
คําตอบ 2 : Min Z = -3X1 - 4X2
คําตอบ 3 : Min Z = -3X1 + 4X2
คําตอบ 4 : Min Z = 3X1 + 4X2

ขอที่ : 159
ขอใดเปนปญหาคูควบ (Dual) ของปญหาการโปรแกรมเชิงเสน Max Z = 300X1 + 200X2

S.T.

2X1 + X2 ≤ 40

X1 + 3X2 ≤ 45

X1 ≤ 12

X1, X2 ≥0
Min W = 40U1 + 45U2 + 12U3

S.T.

คําตอบ 1 : 2U1 + U2 + U3 ≥ 300

U1 + 3U2 ≥ 200

U1, U2 ≥0

Page 107 of 262


Min W = 40U1 + 45U2 + 12U3

S.T.

คําตอบ 2 : 2U1 + U2 + U3 ≤ 300

U1 + 3U2 ≤ 200

U1, U2 ≥0
Max W = 40U1 + 45U2 + 12U3

S.T.

คําตอบ 3 : 2U1 + U2 + U3 ≥ 300

U1 + 3U2 ≥ 200

U1, U2 ≥0
Max W = 40U1 + 45U2 + 12U3

S.T.

คําตอบ 4 : 2U1 + U2 + U3 ≤ 300

U1 + 3U2 ≤ 200

U1, U2 ≥0

ขอที่ : 160

Page 108 of 262


ปญหากําหนดการเชิงเสนปญหาหนึ่ง มีรูปแบบของ Primal Problem ดังนี้

Maximize Z = 2X1 + 3X2

S.T.

X1 ≥3

3X2 ≤9

X1 + X2 ≤ 18

X1, X2 ≥ 0

ขอใดไมใชรูปแบบ Dual Problem ของปญหาดังกลาว


คําตอบ 1 : Minimize W = 3Y1 + 9Y2 + 18Y3
คําตอบ 2 : Y1 + Y3 ≥ 2
คําตอบ 3 : 3Y2 + Y3 ≥ 3
คําตอบ 4 : 3Y1 + 9Y2 + 18Y3 ≥ 0

ขอที่ : 161
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้

Max Z = -X1 + 2X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤ 2

Page 109 of 262


X1 + X2 ≤ 3

X1, X2 ≥0

หากพบวาคําตอบที่ถูกตองที่สุดคือ X1 = 0, X2 = 1 และ Z = 2 จงตรวจสอบวาการเปลี่ยนแปลงของ


ขอใดตอไปนี้ ที่ยังคงสามารถใหคาของคําตอบที่ดีที่สุดเหมือนเดิม
คําตอบ 1 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 2 เปน 3
คําตอบ 2 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 2 เปน 1
คําตอบ 3 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 3 เปน 4
คําตอบ 4 : ขอ 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 162
ปญหากําหนดการเชิงเสนตรง (Linear Programming) ตอไปนี้ Max Z = 2X1 - 4X2

S.T.

X1 + 2X2 ≤ 4

X1 + X2 ≤ 5

X1, X2 ≥0

หากพบวาคําตอบที่ถูกตองที่สุดคือ X1 = 4, X2 = 0 และ Z = 8 จงตรวจสอบวาการเปลี่ยนแปลงของ


ขอใดตอไปนี้ ที่ยังคงสามารถใหคาของคําตอบที่ดีที่สุดเหมือนเดิม

Page 110 of 262


คําตอบ 1 : คาทางดานคาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 1 จาก 4 เปน 2
คําตอบ 2 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 5 เปน 3
คําตอบ 3 : คาทางดานขวามือของอสมการขีดจํากัดที่ 2 จาก 5 เปน 6
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 163
เงื่อนไขที่สําคัญสําหรับการคํานวณหาผลลัพธโดยใชตารางการคํานวณปญหาทางการขนสงคือ
คําตอบ 1 : จํานวนตัวแปรตองเทากับจํานวนสมการ
คําตอบ 2 : ผลรวมของอุปสงคตองเทากับผลรวมของอุปทาน
คําตอบ 3 : m=n
คําตอบ 4 : จํานวน Circle Cell ตองเทากับ m+n-1

ขอที่ : 164
เงื่อนไขที่สําคัญสําหรับการคํานวณหาผลลัพธที่ดีที่สุดโดยใชตารางคํานวณปญหาการขนสงคือ
คําตอบ 1 : จํานวน Circle Cell ตองเทากับ m+n-1
คําตอบ 2 : จํานวน Circle Cell ตองเทากับ m+n
คําตอบ 3 : จํานวนจุดตนทางตองเทากับ m+n-1
คําตอบ 4 : จํานวนจุดตนทางตองเทากับจุดปลายทาง

ขอที่ : 165
บริษัทการขนสงจํากัด บริษทั มีลูกคาจํานวน 4 ราย ซึ่งเปนบริษัทผูผลิตน้ําดื่ม บริเวณชานเมืองโดยรอบกรุงเทพฯ ให

Page 111 of 262


ทําการขนสงขวดพลาสติก ซึง่ ผลิตโดยผูประกอบการแบบธุรกิจครอบครัวขนาดเล็ก ตั้งอยูบริเวณหองแถวยานที่อยู
ของคนจีนในเขตกรุงเทพฯ 3 แหลงดวยกัน โดยทางฝายพัฒนาธุรกิจของบริษัทอารซีแอลขนสงไดคํานวณคาขนสง
ไวเปนบาทตอขวดในแตละแหลง ถาให X, Y, และ Z เปนผูผลิตขวดพลาสติก และ B1, B2, B3 และ B4 เปน
บริษัทผูผลิตน้ําดื่ม ทางฝายพัฒนาธุรกิจไดทําตารางเสนอรูปแบบธุรกิจนี้ตอไปนี้

B1 B2 B3 B4 ปริมาณ (ขวด)
X 0.1 0.8 0.4 0.7 200
Y 0.9 0.5 0.5 0.7 250
Z 0.3 0.6 0.8 0.1 400
ปริมาณ (ขวด) 100 250 150 350 850

จงหาคําตอบเริ่มตนดวยวิธี North-West Corner Rule สําหรับการขนสงจากตนทาง X ไปยัง B1


คําตอบ 1 : 200
คําตอบ 2 : 100
คําตอบ 3 : 150
คําตอบ 4 : 300

ขอที่ : 166
บริษัทการขนสงจํากัด บริษทั มีลูกคาจํานวน 4 ราย ซึ่งเปนบริษัทผูผลิตน้ําดื่ม บริเวณ
ชานเมืองโดยรอบกรุงเทพฯ ใหทําการขนสงขวดพลาสติก ซึ่งผลิตโดยผูประกอบการ
แบบธุรกิจครอบครัวขนาดเล็ก ตั้งอยูบริเวณหองแถวยานที่อยูของคนจีนในเขต

Page 112 of 262


กรุงเทพฯ 3 แหลงดวยกัน โดยทางฝายพัฒนาธุรกิจของบริษัทอารซีแอลขนสงได
คํานวณคาขนสงไวเปนบาทตอขวดในแตละแหลง ถาให X, Y, และ Z เปนผูผลิตขวด
พลาสติก และ B1, B2, B3 และ B4 เปนบริษัทผูผลิตน้ําดื่ม ทางฝายพัฒนาธุรกิจไดทํา
ตารางเสนอรูปแบบธุรกิจนีต้ อไปนี้

B1 B2 B3 B4 ปริมาณ (ขวด)
X 0.1 0.8 0.4 0.7 200
Y 0.9 0.5 0.5 0.7 250
Z 0.3 0.6 0.8 0.1 400
ปริมาณ (ขวด) 100 250 150 350 850

จงหาคําตอบเริ่มตนดวยวิธี North-West Corner Rule สําหรับการขนสงจากตนทาง Z


ไปยัง B1
คําตอบ 1 : 200
คําตอบ 2 : 100
คําตอบ 3 : 150
คําตอบ 4 : 0

ขอที่ : 167
บริษัทการขนสงจํากัด บริษทั มีลูกคาจํานวน 4 ราย ซึ่งเปนบริษัทผูผลิตน้ําดื่ม บริเวณชานเมืองโดยรอบกรุงเทพฯ ให
ทําการขนสงขวดพลาสติก ซึง่ ผลิตโดยผูประกอบการแบบธุรกิจครอบครัวขนาดเล็ก ตั้งอยูบริเวณหองแถวยานที่อยู

Page 113 of 262


ของคนจีนในเขตกรุงเทพฯ 3 แหลงดวยกัน โดยทางฝายพัฒนาธุรกิจของบริษัทอารซีแอลขนสงไดคํานวณคาขนสง
ไวเปนบาทตอขวดในแตละแหลง ถาให X, Y, และ Z เปนผูผลิตขวดพลาสติก และ B1, B2, B3 และ B4 เปน
บริษัทผูผลิตน้ําดื่ม ทางฝายพัฒนาธุรกิจไดทําตารางเสนอรูปแบบธุรกิจนี้ตอไปนี้

B1 B2 B3 B4 ปริมาณ (ขวด)
X 0.1 0.8 0.4 0.7 200
Y 0.9 0 0.5 0.7 250
Z 0.3 0.6 0.8 0.1 400
ปริมาณ (ขวด) 100 250 150 350 850

จงหาคาใชจายในการขนสงของคําตอบเริ่มตนดวยวิธี North-West Corner Rule


คําตอบ 1 : 200
คําตอบ 2 : 100
คําตอบ 3 : 250
คําตอบ 4 : 215

ขอที่ : 168
บริษัทการขนสงจํากัด บริษทั มีลูกคาจํานวน 4 ราย ซึ่งเปนบริษัทผูผลิตน้ําดื่ม บริเวณชานเมืองโดยรอบกรุงเทพฯ ให
ทําการขนสงขวดพลาสติก ซึง่ ผลิตโดยผูประกอบการแบบธุรกิจครอบครัวขนาดเล็ก ตั้งอยูบริเวณหองแถวยานที่อยู
ของคนจีนในเขตกรุงเทพฯ 3 แหลงดวยกัน โดยทางฝายพัฒนาธุรกิจของบริษัทอารซีแอลขนสงไดคํานวณคาขนสง
ไวเปนบาทตอขวดในแตละแหลง ถาให X, Y, และ Z เปนผูผลิตขวดพลาสติก และ B1, B2, B3 และ B4 เปน

Page 114 of 262


บริษัทผูผลิตน้ําดื่ม ทางฝายพัฒนาธุรกิจไดทําตารางเสนอรูปแบบธุรกิจนี้ตอไปนี้

B1 B2 B3 B4 ปริมาณ (ขวด)
X 0.1 0.8 0.4 0.7 200
Y 0.9 0.5 0.5 0.7 250
Z 0.3 0.6 0.8 0.1 400
ปริมาณ (ขวด) 100 250 150 350 850

จงหาคาใชจายในการขนสงของคําตอบเริ่มตนดวยวิธี North-West Corner Rule


คําตอบ 1 : 200
คําตอบ 2 : 100
คําตอบ 3 : 290
คําตอบ 4 : 215

ขอที่ : 169
โรงงานผลิตเครื่องซักผา 2 แหง และบริษัทจัดจําหนาย 2 แหง มีขอมูลดําเนินการดังนี้

ปริมาณการผลิตของโรงงาน ตนทุนการขนสงตอหนวย

จาก ไป

Page 115 of 262


โรงงานที่ 1: 5,500 โรงงานที่ 1 บริษัทที่ 1: 3

บริษัทที่ 2: 6

โรงงานที่ 2: 4,320 โรงงานที่ 2 บริษัทที่ 1: 5

บริษัทที่ 2: 4

จงสรางสมการเปาหมายเมื่อบริษัทที่ 1 และ 2 ตองการเครื่องซักผาจํานวน 2,000 และ 4,000 เครื่อง ตามลําดับ และ


กําหนดให Xij เปนปริมาณการขนสงจากโรงงาน i ไปบริษัทที่ j
คําตอบ 1 : Min Cost = 4X11 + 5X12 + 6X21 + 3X22
คําตอบ 2 : Min Cost = 3X11 + 5X12 + 6X21 + 4X22
คําตอบ 3 : Min Cost = 3X11 + 6X12 + 5X21 + 4X22
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 170
โรงงานผลิตเครื่องซักผา 2 แหง และบริษัทจัดจําหนาย 2 แหง มีขอมูลดําเนินการดังนี้

ปริมาณการผลิตของโรงงาน ตนทุนการขนสงตอหนวย

Page 116 of 262


จาก ไป

โรงงานที่ 1: 5,500 โรงงานที่ 1 บริษัทที่ 1: 3

บริษัทที่ 2: 6

โรงงานที่ 2: 4,320 โรงงานที่ 2 บริษัทที่ 1: 5

บริษัทที่ 2: 4

จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรสําหรับความตองการเครื่องซักผา เมื่อบริษัทที่ 1 และ 2 ตองการเครื่องซักผาจํานวน


2,000 และ 4,000 เครื่อง ตามลําดับ และกําหนดให Xij เปนปริมาณการขนสงจากโรงงาน i ไปบริษทั ที่ j
X11 + x21 = 2,000
คําตอบ 1 :
X12 + X22 = 4,000
X11 + X12 = 5,500
คําตอบ 2 :
X21 + X22 = 4,320
X21 + X22 = 4,320
คําตอบ 3 :
X11 + X12 = 2,000
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

Page 117 of 262


ขอที่ : 171
โรงงานผลิตเครื่องซักผา 2 แหง และบริษัทจัดจําหนาย 2 แหง มีขอมูลดําเนินการดังนี้

ปริมาณการผลิตของโรงงาน ตนทุนการขนสงตอหนวย

จาก ไป

โรงงานที่ 1: 5,500 โรงงานที่ 1 บริษัทที่ 1: 3

บริษัทที่ 2: 6

โรงงานที่ 2: 4,320 โรงงานที่ 2 บริษัทที่ 1: 5

บริษัทที่ 2: 4

จงสรางขอจํากัดของทรัพยากรดานปริมาณการผลิต เมือ่ บริษัทที่ 1 และ 2 ตองการเครื่องซักผาจํานวน 2,000 และ


4,000 เครื่อง ตามลําดับ และกําหนดให Xij เปนปริมาณการขนสงจากโรงงาน i ไปบริษัทที่ j
X21 + X22 = 4,320
คําตอบ 1 :
X11 + X12 = 2,000

Page 118 of 262


X11 + X12 = 2,000
คําตอบ 2 :
X21 + X22 = 4,000
X11 + X12 = 5,500
คําตอบ 3 :
X21 + X22 = 4,320
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 172
โรงงานผลิตเครื่องซักผา 2 แหง และบริษัทจัดจําหนาย 2 แหง มีขอมูลดําเนินการดังนี้

ปริมาณการผลิตของโรงงาน ตนทุนการขนสงตอหนวย

จาก ไป

โรงงานที่ 1: 5,500 โรงงานที่ 1 บริษัทที่ 1: 3

บริษัทที่ 2: 6

โรงงานที่ 2: 4,320 โรงงานที่ 2 บริษัทที่ 1: 5

Page 119 of 262


บริษัทที่ 2: 4

จงสรางสมการเปาหมายและขอจํากัดของทรัพยากร เมื่อบริษัทที่ 1 และ 2 ตองการเครื่องซักผาจํานวน 2,000 และ


4,000 เครื่อง ตามลําดับ และกําหนดให Xij เปนปริมาณการขนสงจากโรงงาน i ไปบริษัทที่ j
Min Cost = 3X11 + 6X12 +5X21 + 4X22

S.T.

X11 + x12 = 5,500


คําตอบ 1 :
X21 + X22 = 4,320

X11 + X12 = 2,000

X21 + X22 = 4,000


Min Cost = 3X11 + 5X12 +6X21 + 4X22

S.T.
คําตอบ 2 :
X11 + x12 = 5,500

X21 + X22 = 4,320

Page 120 of 262


X11 + X12 = 2,000

X21 + X22 = 4,000


Min Cost = 4X11 + 5X12 +6X21 + 3X22

S.T.

X11 + x12 = 5,500


คําตอบ 3 :
X21 + X22 = 4,320

X11 + X12 = 2,000

X21 + X22 = 4,000


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 173
โรงงานผลิตเครื่องซักผา 2 แหง และบริษัทจัดจําหนาย 2 แหง มีขอมูลดําเนินการดังนี้

ปริมาณการผลิตของโรงงาน ตนทุนการขนสงตอหนวย

Page 121 of 262


จาก ไป ขนสง

โรงงานที่ 1: 40,000 โรงงานที่ 1 ตลาด 1: 5

ตลาด 2: 7

ตลาด 3: 4

โรงงานที่ 2: 50,000 โรงงานที่ 2 ตลาด 1: 2

ตลาด 2: 3

ตลาด 3: 6

โรงงานที่ 3: 50,000 โรงงานที่ 3 ตลาด 1: 5

ตลาด 2: 7

ตลาด 3: 8

จงสรางสมการเปาหมาย เมือ่

ตลาดที่ 1 มีความตองการสินคา 90,000 หนวย

Page 122 of 262


ตลาดที่ 2 มีความตองการสินคา 55,000 หนวย

ตลาดที่ 3 มีความตองการสินคา 20,000 หนวย

และกําหนดให Xij เปนปริมาณการขนสงจากโรงงาน i ไปตลาด j


คําตอบ 1 : Min Cost = 5X11 + 2X21 + 3X22 + 6X23 + 5X31 + 7X32 + 8X33
คําตอบ 2 : Min Cost = 5X11 + 7X12 + 4X13 + 2X21 + 3X22 + 6X23 + 7X32 + 8X33
คําตอบ 3 : Min Cost = 5X11 + 7X12 + 4X13 + 2X21 + 3X22 + 6X23 + 5X31 + 7X32 + 8X33
คําตอบ 4 : MAX Z (Profit) = 300XE + 200XI

ขอที่ : 174
โรงงานผลิตเครื่องซักผา 2 แหง และบริษัทจัดจําหนาย 2 แหง มีขอมูลดําเนินการดังนี้

ปริมาณการผลิตของโรงงาน ตนทุนการขนสงตอหนวย

จาก ไป ขนสง

โรงงานที่ 1: 40,000 โรงงานที่ 1 ตลาด 1: 5

Page 123 of 262


ตลาด 2: 7

ตลาด 3: 4

โรงงานที่ 2: 50,000 โรงงานที่ 2 ตลาด 1: 2

ตลาด 2: 3

ตลาด 3: 6

โรงงานที่ 3: 50,000 โรงงานที่ 3 ตลาด 1: 5

ตลาด 2: 7

ตลาด 3: 8

จงสรางขอจํากัดทางดานทรัพยากรดานความตองการสินคา เมื่อ

ตลาดที่ 1 มีความตองการสินคา 90,000 หนวย

ตลาดที่ 2 มีความตองการสินคา 55,000 หนวย

ตลาดที่ 3 มีความตองการสินคา 20,000 หนวย

Page 124 of 262


และกําหนดให Xij เปนปริมาณการขนสงจากโรงงาน i ไปตลาด j
X31 + X32 + X33 = 50,000

X11 + X21 + X31 = 90,000


คําตอบ 1 :
X12 + X22 + X32 = 55,000

X13 + X23 + X33 = 20,000


X11 + X12 + X13 = 40,000

X21 + X22 + X23 = 50,000


คําตอบ 2 :
X31 + X32 + X33 = 50,000

X13 + X23 + X33 = 20,000


X11 + X21 + X31 = 90,000

คําตอบ 3 : X12 + X22 + X32 = 55,000

X13 + X23 + X33 = 20,000


X12 + X22 +X32 = 55,000
คําตอบ 4 :
X13 + X23 + X33 = 20,000

Page 125 of 262


ขอที่ : 175
โรงงานผลิตเครื่องซักผา 2 แหง และบริษัทจัดจําหนาย 2 แหง มีขอมูลดําเนินการดังนี้

ปริมาณการผลิตของโรงงาน ตนทุนการขนสงตอหนวย

จาก ไป ขนสง

โรงงานที่ 1: 40,000 โรงงานที่ 1 ตลาด 1: 5

ตลาด 2: 7

ตลาด 3: 4

โรงงานที่ 2: 50,000 โรงงานที่ 2 ตลาด 1: 2

ตลาด 2: 3

ตลาด 3: 6

โรงงานที่ 3: 50,000 โรงงานที่ 3 ตลาด 1: 5

Page 126 of 262


ตลาด 2: 7

ตลาด 3: 8

จงสรางขอจํากัดทางดานทรัพยากรดานปริมาณการผลิตของโรงงาน เมื่อ

ตลาดที่ 1 มีความตองการสินคา 90,000 หนวย

ตลาดที่ 2 มีความตองการสินคา 55,000 หนวย

ตลาดที่ 3 มีความตองการสินคา 20,000 หนวย

และกําหนดให Xij เปนปริมาณการขนสงจากโรงงาน i ไปตลาด j


X31 + X32 + X33 = 50,000

X11 + X21 + X31 = 90,000


คําตอบ 1 :
X12 + X22 + X32 = 55,000

X13 + X23 + X33 = 20,000


X11 + X12 + X13 = 40,000
คําตอบ 2 :
X21 + X22 + X23 = 50,000

Page 127 of 262


X31 + X32 + X33 = 50,000
X11 + X21 + X31 = 90,000

คําตอบ 3 : X12 + X22 + X32 = 55,000

X13 + X23 + X33 = 20,000


X12 + X22 + X32 = 55,000
คําตอบ 4 :
X13 + X23 + X33 = 20,000

ขอที่ : 176
โรงงานผลิตเครื่องซักผา 2 แหง และบริษัทจัดจําหนาย 2 แหง มีขอมูลดําเนินการดังนี้

ปริมาณการผลิตของโรงงาน ตนทุนการขนสงตอหนวย

จาก ไป ขนสง

โรงงานที่ 1: 40,000 โรงงานที่ 1 ตลาด 1: 5

ตลาด 2: 7

Page 128 of 262


ตลาด 3: 4

โรงงานที่ 2: 50,000 โรงงานที่ 2 ตลาด 1: 2

ตลาด 2: 3

ตลาด 3: 6

โรงงานที่ 3: 50,000 โรงงานที่ 3 ตลาด 1: 5

ตลาด 2: 7

ตลาด 3: 8

จงสรางสมการเปาหมายและขอจํากัดทางดานทรัพยากร เมื่อ

ตลาดที่ 1 มีความตองการสินคา 90,000 หนวย

ตลาดที่ 2 มีความตองการสินคา 55,000 หนวย

ตลาดที่ 3 มีความตองการสินคา 20,000 หนวย

และกําหนดให Xij เปนปริมาณการขนสงจากโรงงาน i ไปตลาด j

Page 129 of 262


Min Cost = 5X11 + 7X12 + 4X13 + 2X21 + 3X22 + 6X23 + 5X31 + 7X32 + 8X33

S.T.

X11 + X12 + X13 = 40,000

คําตอบ 1 : X21 + X22 + X23 = 50,000

X11 + X21 + X31 = 90,000

X12 + X22 + X32 = 55,000

X13 + X23 + X33 = 20,000


Min Cost = 5X11 + 7X12 + 4X13 + 2X21 + 3X22 + 7X32 + 8X33

S.T.

คําตอบ 2 :
X11 + X12 + X13 = 40,000

X21 + X22 + X23 = 50,000

X31 + X32 + X33 = 50,000

Page 130 of 262


X11 + X21 + X31 = 90,000

X12 + X22 + X32 = 55,000

X13 + X23 + X33 = 20,000


Min Cost = 5X11 + 7X12 + 4X13 + 2X21 + 3X22 + 6X23 + 5X31 + 7X32 + 8X33

S.T.

X11 + X12 + X13 = 40,000

คําตอบ 3 : X31 + X32 + X33 = 50,000

X11 + X21 + X31 = 90,000

X12 + X22 + X32 = 55,000

X13 + X23 + X33 = 20,000


Min Cost = 5X11 + 7X12 + 4X13 + 2X21 + 3X22 + 6X23 + 5X31 + 7X32 + 8X33

คําตอบ 4 :
S.T.

X11 + X12 + X13 = 40,000

Page 131 of 262


X21 + X22 + X23 = 50,000

X31 + X32 + X33 = 50,000

X11 + X21 + X31 = 90,000

X12 + X22 + X32 = 55,000

X13 + X23 + X33 = 20,000

ขอที่ : 177
โรงงาน 2 แหง สงเครื่องสงสัญญาณวิทยุไปที่บริษัท 2 แหง จงหาปริมาณการขนสงที่เกิดขึ้นทุกๆ เสนทาง ดวยวิธี
นอรธเวสตคอรเนอร เพื่อหาคําตอบเบื้องตน ซึ่งแสดงขอมูลของตนทุนการขนสง ดังนี้

ไป

บริษัท 1 บริษัท 2 กําลังผลิต

จาก โรงงาน 1 3 6 90

Page 132 of 262


โรงงาน 2 4 5 130

ความตองการของคลังสินคา 80 140 220

กําหนดให Xij เปนปริมาณขนสงจากโรงงาน i ไป บริษทั j


คําตอบ 1 : X11 = 80, X12 = 10, X21 = 130
คําตอบ 2 : X11 = 80, X12 = 12, X21 = 100
คําตอบ 3 : X11 = 80, X12 = 10, X21 = 120
คําตอบ 4 : X11 = 80, X12 = 10, X21 = 110

ขอที่ : 178
โรงงาน 2 แหง สงเครื่องสงสัญญาณวิทยุไปที่บริษัท 2 แหง จงหาใชจายในการขนสงที่เกิดขึ้น ดวยวิธีนอรธเวสต
คอรเนอร เพื่อหาคําตอบเบื้องตน ซึ่งแสดงขอมูลของตนทุนการขนสง ดังนี้

ไป

Page 133 of 262


บริษัท 1 บริษัท 2 กําลังผลิต

จาก โรงงาน 1 3 6 90

โรงงาน 2 4 5 130

ความตองการของคลังสินคา 80 140 220

กําหนดให Xij เปนปริมาณขนสงจากโรงงาน i ไป บริษทั j


คําตอบ 1 : 940
คําตอบ 2 : 950
คําตอบ 3 : 880
คําตอบ 4 : 800

ขอที่ : 179
โรงงาน 2 แหง สงเครื่องสงสัญญาณวิทยุไปที่บริษัท 2 แหง จงหาปริมาณการขนสงที่เกิดขึ้นทุกๆ เสนทาง ดวยวิธี
นอรธเวสตคอรเนอร เพื่อหาคําตอบเบื้องตน ซึ่งแสดงขอมูลของตนทุนการขนสง ดังนี้

Page 134 of 262


ไป

บริษัท 1 บริษัท 2 กําลังผลิต

จาก โรงงาน 1 3 6 90

โรงงาน 2 4 5 140

ความตองการของคลังสินคา 80 150 230

กําหนดให Xij เปนปริมาณขนสงจากโรงงาน i ไป บริษทั j


คําตอบ 1 : X11 = 80, X12 = 10, X21 = 130
คําตอบ 2 : X11 = 80, X12 = 12, X21 = 100
คําตอบ 3 : X11 = 80, X12 = 10, X21 = 120
คําตอบ 4 : X11 = 80, X12 = 10, X21 = 140

Page 135 of 262


ขอที่ : 180
โรงงาน 2 แหง สงเครื่องสงสัญญาณวิทยุไปที่บริษัท 2 แหง จงหาคาใชจายในการขนสงที่เกิดขึ้น ดวยวิธีนอรธเวสต
คอรเนอร เพื่อหาคําตอบเบื้องตน ซึ่งแสดงขอมูลของตนทุนการขนสง ดังนี้

ไป

บริษัท 1 บริษัท 2 กําลังผลิต

จาก โรงงาน 1 3 6 90

โรงงาน 2 4 5 140

ความตองการของคลังสินคา 80 150 230

กําหนดให Xij เปนปริมาณขนสงจากโรงงาน i ไป บริษทั j

Page 136 of 262


คําตอบ 1 : 1,040
คําตอบ 2 : 1,950
คําตอบ 3 : 1,880
คําตอบ 4 : 1,000

ขอที่ : 181
ขอใดแทนขั้นตอนในการหาคําตอบดวยวิธีการประมาณของโวเกลที่ถูกตอง
- จากตารางรูปแบบปญหาของการขนสง ทําการหาคาผลตางระหวางการขนสงต่ําสุดกับคาซึ่งต่ํา
รองลงมาทั้งทางดานแถวและสดมภ (Penalty)

- พิจารณาผลตางที่ไดวาคาใดมีคามากที่สุดทั้งทางดานแถวและสดมภ

- พิจารณาในแถวหรือสดมภที่มีคาดังกลาวอยู แลวเติมตัวเลขของอุปสงคหรืออุปทาน ซึ่งตองเลือก


จากการเปรียบเทียบใหไดคาที่มากที่สุด
คําตอบ 1 :

- ถาเลขที่เติมเต็มจํานวนของขอจํากัดดานอุปทานใหตดั แถวที่ไดเติมตัวเลขนั้นออกไป ถาเลขที่เติม


เต็มจํานวนของขอจํากัดดานอุปสงคใหตัดสดมภที่ไดเติมตัวเลขนั้นออกไป แตถาอุปสงคและ
อุปทานที่ปลายของชองดังกลาวเทากัน ใหตัดแถวหรือสดมภที่มีคาขนสงในแถวหรือสดมภที่
มากกวาออกไป

- ทําซ้ําตั้งแตขนั้ แรกจนครบทุกขั้นจนกวาจะเติมตัวเลขไดครบตามขอจํากัดดานอุปทานและอุปสงค
คําตอบ 2 : - จากตารางรูปแบบปญหาของการขนสง ทําการหาคาผลตางระหวางการขนสงต่ําสุดกับคาซึ่งต่ํา

Page 137 of 262


รองลงมาทั้งทางดานแถวและสดมภ (Penalty)

- พิจารณาผลตางที่ไดวาคาใดมีคานอยที่สดุ ทั้งทางดานแถวและสดมภ

- พิจารณาในแถวหรือสดมภที่มีคาดังกลาวอยู แลวเติมตัวเลขของอุปสงคหรืออุปทาน ซึ่งตองเลือก


จากการเปรียบเทียบใหไดคาที่นอยที่สุด

- ถาเลขที่เติมเต็มจํานวนของขอจํากัดดานอุปทานใหตดั แถวที่ไดเติมตัวเลขนั้นออกไป ถาเลขที่เติม


เต็มจํานวนของขอจํากัดดานอุปสงคใหตัดสดมภที่ไดเติมตัวเลขนั้นออกไป แตถาอุปสงคและ
อุปทานที่ปลายของชองดังกลาวเทากัน ใหตัดแถวหรือสดมภที่มีคาขนสงในแถวหรือสดมภที่
มากกวาออกไป

- ทําซ้ําตั้งแตขนั้ แรกจนครบทุกขั้นจนกวาจะเติมตัวเลขไดครบตามขอจํากัดดานอุปทานและอุปสงค
- จากตารางรูปแบบปญหาของการขนสง ทําการหาคาผลตางระหวางการขนสงสูงสุดกับคาซึ่งสูง
รองลงมาทั้งทางดานแถวและสดมภ (Penalty)

- พิจารณาผลตางที่ไดวาคาใดมีคามากที่สุดทั้งทางดานแถวและสดมภ
คําตอบ 3 :
- พิจารณาในแถวหรือสดมภที่มีคาดังกลาวอยู แลวเติมตัวเลขของอุปสงคหรืออุปทาน ซึ่งตองเลือก
จากการเปรียบเทียบใหไดคาที่นอยที่สุด

- ถาเลขที่เติมเต็มจํานวนของขอจํากัดดานอุปทานใหตดั แถวที่ไดเติมตัวเลขนั้นออกไป ถาเลขที่เติม

Page 138 of 262


เต็มจํานวนของขอจํากัดดานอุปสงคใหตัดสดมภที่ไดเติมตัวเลขนั้นออกไป แตถาอุปสงคและ
อุปทานที่ปลายของชองดังกลาวเทากัน ใหตัดแถวหรือสดมภที่มีคาขนสงในแถวหรือสดมภที่
มากกวาออกไป

- ทําซ้ําตั้งแตขนั้ แรกจนครบทุกขั้นจนกวาจะเติมตัวเลขไดครบตามขอจํากัดดานอุปทานและอุปสงค
- จากตารางรูปแบบปญหาของการขนสง ทําการหาคาผลตางระหวางการขนสงต่ําสุดกับคาซึ่งต่ํา
รองลงมาทั้งทางดานแถวและสดมภ (Penalty)

- พิจารณาผลตางที่ไดวาคาใดมีคามากที่สุดทั้งทางดานแถวและสดมภ

- พิจารณาในแถวหรือสดมภที่มีคาดังกลาวอยู แลวเติมตัวเลขของอุปสงคหรืออุปทาน ซึ่งตองเลือก


จากการเปรียบเทียบใหไดคาที่นอยที่สุด
คําตอบ 4 :

- ถาเลขที่เติมเต็มจํานวนของขอจํากัดดานอุปทานใหตดั แถวที่ไดเติมตัวเลขนั้นออกไป ถาเลขที่เติม


เต็มจํานวนของขอจํากัดดานอุปสงคใหตัดสดมภที่ไดเติมตัวเลขนั้นออกไป แตถาอุปสงคและ
อุปทานที่ปลายของชองดังกลาวเทากัน ใหตัดแถวหรือสดมภที่มีคาขนสงในแถวหรือสดมภที่
มากกวาออกไป

- ทําซ้ําตั้งแตขนั้ แรกจนครบทุกขั้นจนกวาจะเติมตัวเลขไดครบตามขอจํากัดดานอุปทานและอุปสงค

ขอที่ : 182
บริษัทผลิตโทรทัศนแหงหนึง่ มี 3 โรงงาน คือ A, B, และ C สงใหตัวแทน 4 แหง คือ 1,2,3 และ 4 โดยโรงงาน A มี

Page 139 of 262


กําลังการผลิต 500 เครื่อง, โรงงาน B มีกําลังการผลิต 700 เครื่อง, และ โรงงาน C มีกําลังการผลิต 800 เครื่อง และ
ตัวแทน 1 มีความตองการโทรทัศนจํานวน 400 เครื่อง, ตัวแทน 2 มีความตองการโทรทัศนจํานวน 900 เครื่อง,
ตัวแทน 3 มีความตองการโทรทัศนจํานวน 200 เครื่อง, และ ตัวแทน 4 มีความตองการโทรทัศนจํานวน 500 เครือ่ ง
คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการขนสงจากโรงงานไปยังตัวแทนแสดงดังตารางตอไปนี้

ตัวแทน 1 ตัวแทน 2 ตัวแทน 3 ตัวแทน 4


โรงงาน A 12 13 4 6
โรงงาน B 6 4 10 11
โรงงาน C 10 9 12 4

จงจําลองฟงกชันขอจํากัดทรัพยากร ของโรงงาน A

ถากําหนดให

Xij คือ ปริมาณโทรทัศนที่มกี ารขนสงจากโรงงาน i (A,B,C) ไปยัง ตัวแทนจําหนาย j (1,2,3,4)


คําตอบ 1 : XA1 + XA2 + XA3 + XA4 ≤ 500
คําตอบ 2 : XA1 + XA2 + XA3 + XA4 ≤ 400
คําตอบ 3 : 2XA1 + XA2 + XA3 + XA4 ≤ 500
คําตอบ 4 : XA1 + XA2 + XA3 ≤ 800

ขอที่ : 183

Page 140 of 262


ขอใดตอไปนี้ผิด

(i) ในการแกปญหาการขนสง สิ่งหนึ่งที่ตองคํานึงคือ จํานวนของที่จะจัดสงกับจํานวนของที่ลูกคา


ตองการ

(ii) ในการแกปญหาการขนสง ถึงแมวาจํานวนของที่จะจัดสงและจํานวนของที่ลูกคาตองการไมเปน


จํานวนเต็ม แตคําตอบที่ไดก็ยังเปนจํานวนเต็มเสมอ
คําตอบ 1 : ขอ (i) เทานั้นที่ผิด
คําตอบ 2 : ขอ (ii) เทานั้นที่ผิด
คําตอบ 3 : ผิดทั้งสองขอ
คําตอบ 4 : ถูกทั้งสองขอ

ขอที่ : 184
ขอใดไมใชขอกําหนด (Constraint) หรือสมมติฐาน (Assumption) ของปญหาการขนสง (Transportation Problem)

(i) โดยทั่วไปแลวสมการเปาหมายของปญหาการขนสง เปนการหาเวลาที่นอยที่สดุ ในการขนสง

(ii) ปญหาการขนสงตองมีโรงงานผลิตและคลังเก็บสินคาอยางละ 2 แหงขึ้นไป

(iii) สินคาที่สงตองเหมือนกันหมดไมวาจะมาจากโรงงานผลิตใด

(iv) คาจัดสงตอหนวยสินคาตองเหมือนกันหมดไมวาจะสงครั้งละมากๆ หรือ นอยๆ

คําตอบ 1 : (i) และ (ii)

Page 141 of 262


คําตอบ 2 : (iii) และ (iv)
คําตอบ 3 : (i) และ (iii)
คําตอบ 4 : (ii) และ (iv)

ขอที่ : 185
ขอใดเปนวิธีการหา Initial Basic Feasible Solution ของปญหาการขนสง (Transportation
Problem)
คําตอบ 1 : Northwest Corner Rule Method
คําตอบ 2 : Vogel’s Approximation Method (VAM)
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ผิด
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 186
ปญหาการขนสงขอหนึ่งมีพารามิเตอรดังตารางขางลางนี้

Destination Supply

Source 1 4 2 12

2 3 5 8

Page 142 of 262


Demand 10 10

จากการใชวิธี North-West Corner Rule ในการหาผลลัพธเบื้องตน (Initial Basic Feasible Solution) จะทําใหได
Basic Variables เปนตัวแปรใด (Xij โดย i เปน Row และ j เปน Column) และ Basic Variables มีคาเทาใด
คําตอบ 1 : X11 = 12, X12 = 0, X22 = 8
คําตอบ 2 : X11 = 10, X12 = 2, X22 = 8
คําตอบ 3 : X12 = 12, X21 = 8
คําตอบ 4 : X12 = 10, X21 = 0

ขอที่ : 187
ขอใดแทนขั้นตอนในการหาคําตอบดวยวิธีนอรธเวสตคอรนเนอรที่ถูกตอง
- พิจารณาที่ชอ งบนขวาสุด โดยเลือกตัวเลขต่ําสุดจากการเปรียบเทียบระหวางอุปสงคและอุปทานที่
อยูปลายสดมภและแถวของชองนี้

คําตอบ 1 : - เติมตัวเลขทีไ่ ดลงในชองดังกลาว และพิจารณาวาเลขนั้นมีคาเต็มขีดจํากัดของแถวและสดมภ


หรือไม ถาเต็มขีดจํากัดของแถวและสดมภ ใหเลื่อนลงเติมครั้งที่ 2 (ลงตามแนวทแยงมุม) ถาไมเต็ม
ขีดจํากัด ใหเลือ่ นไปเติมตัวเลขครั้งที่ 2 ในชองถัดไป

Page 143 of 262


- ทําซ้ําในขั้นตอนที่ 2 จนกระทั่งตารางไดครบตามขอจํากัดทางดานอุปสงคและอุปทาน

- พิจารณาที่ชอ งบนซายสุด โดยเลือกตัวเลขต่ําสุดจากการเปรียบเทียบระหวางอุปสงคและอุปทานที่


อยูปลายสดมภและแถวของชองนี้

- เติมตัวเลขทีไ่ ดลงในชองดังกลาว และพิจารณาวาเลขนั้นมีคาเต็มขีดจํากัดของแถวและสดมภ


คําตอบ 2 : หรือไม ถาเต็มขีดจํากัดของแถวและสดมภ ใหเลื่อนลงเติมครั้งที่ 2 (ลงตามแนวทแยงมุม) ถาไมเต็ม
ขีดจํากัด ใหเลือ่ นไปเติมตัวเลขครั้งที่ 2 ในชองถัดไป

- ทําซ้ําในขั้นตอนที่ 2 จนกระทั่งตารางไดครบตามขอจํากัดทางดานอุปสงคและอุปทาน

- พิจารณาที่ชอ งบนซายสุด โดยเลือกตัวเลขสูงสุดจากการเปรียบเทียบระหวางอุปสงคและอุปทานที่


อยูปลายสดมภและแถวของชองนี้

- เติมตัวเลขทีไ่ ดลงในชองดังกลาว และพิจารณาวาเลขนั้นมีคาเต็มขีดจํากัดของแถวและสดมภ


คําตอบ 3 :
หรือไม ถาเต็มขีดจํากัดของแถวและสดมภ ใหเลื่อนลงเติมครั้งที่ 2 (ลงตามแนวทแยงมุม) ถาไมเต็ม
ขีดจํากัด ใหเลือ่ นไปเติมตัวเลขครั้งที่ 2 ในชองถัดไป

- ทําซ้ําในขั้นตอนที่ 2 จนกระทั่งตารางไดครบตามขอจํากัดทางดานอุปสงคและอุปทาน
คําตอบ 4 : - พิจารณาที่ชอ งบนขวาสุด โดยเลือกตัวเลขสูงสุดจากการเปรียบเทียบระหวางอุปสงคและอุปทานที่

Page 144 of 262


อยูปลายสดมภและแถวของชองนี้

- เติมตัวเลขทีไ่ ดลงในชองดังกลาว และพิจารณาวาเลขนั้นมีคาเต็มขีดจํากัดของแถวและสดมภ


หรือไม ถาเต็มขีดจํากัดของแถวและสดมภ ใหเลื่อนลงเติมครั้งที่ 2 (ลงตามแนวทแยงมุม) ถาไมเต็ม
ขีดจํากัด ใหเลือ่ นไปเติมตัวเลขครั้งที่ 2 ในชองถัดไป

- ทําซ้ําในขั้นตอนที่ 2 จนกระทั่งตารางไดครบตามขอจํากัดทางดานอุปสงคและอุปทาน

ขอที่ : 188
พิจารณา Cost Matrix ที่แสดงตนทุนในการที่พนักงานแตละคนปฏิบัติงานแตละชนิด แลวใหเลือก
คําตอบที่ถูกตองที่สุด
งาน W งาน X งาน Y งาน Z
พนักงาน A 1 4 6 3
พนักงาน B 9 7 10 9
พนักงาน C 4 5 11 7
พนักงาน D 8 7 8 5
คําตอบ 1 : ตนทุนรวมของการมอบหมายงานทั้งหมดสามารถทําไดต่ําถึง 18
คําตอบ 2 : ตนทุนรวมของการมอบหมายงานทั้งหมดสามารถทําไดต่ําถึง 21
คําตอบ 3 : ตนทุนรวมของการมอบหมายงานทั้งหมดไมสามารถทําไดต่ํากวา 24
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 189
เลขานุการคณะวิศวกรรมศาสตร กําลังพิจารณามอบหมายงานใหแกหัวหนางาน 4 หนวย ทุกๆ คน
สามารถทํางานไดเหมือนกัน แตความถนัดในงานแตละอยางไมทัดเทียมกัน การที่ไดทํางานที่ถนัดจะ

Page 145 of 262


ทําใหการทํางานมีความรวดเร็ว มีขอผิดพลาดเล็กนอย ไมตองทําการแกไขมาก เปนผลใหเกิด
คาใชจายในการทํางานต่ํา ทั้งนี้เลขาฯ ไดทําการประมาณคาใชจายจากความผิดพลาดที่เกิดขึ้นของแต
ละหัวหนางาน ดังตารางตอไปนี้
หัวหนางาน ชนิดของงาน
1 2 3 4 5
R 10 30 20 50 0
S 60 10 0 10 40
T 50 0 20 30 30
D 20 60 0 70 10
F 0 20 30 0 60
จากตารางขางตน ควรจัดหัวหนางาน R ใหกับงานชนิดใด
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 4
คําตอบ 4 : 5

ขอที่ : 190
เลขานุการคณะวิศวกรรมศาสตร กําลังพิจารณามอบหมายงานใหแกหัวหนา
งาน 4 หนวย ทุกๆ คนสามารถทํางานไดเหมือนกัน แตความถนัดในงานแต
ละอยางไมทัดเทียมกัน การที่ไดทํางานที่ถนัดจะทําใหการทํางานมีความ
รวดเร็ว มีขอผิดพลาดเล็กนอย ไมตองทําการแกไขมาก เปนผลใหเกิด
คาใชจายในการทํางานต่ํา ทั้งนี้เลขาฯ ไดทําการประมาณคาใชจายจาก
ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นของแตละหัวหนางาน ดังตารางตอไปนี้
หัวหนางาน ชนิดของงาน
1 2 3 4 5
R 10 30 20 50 0
S 60 10 0 10 40

Page 146 of 262


T 50 0 20 30 30
D 20 60 0 70 10
F 0 20 30 0 60
จากตารางขางตน ควรจัดหัวหนางาน D ใหกับงานชนิดใด
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 4
คําตอบ 4 : 5

ขอที่ : 191
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 5 7 9
B 6 5 3
C 2 0 4
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีวิธีการ
จัดการทํางานอยางไร ที่ทําใหเกิดคาใชจายที่ต่ําที่สุด
A?2

คําตอบ 1 : B ? 3

C?1
A?1
คําตอบ 2 :

Page 147 of 262


B?2

C?3
A?1

คําตอบ 3 : B ? 3

C?2
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 192
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 5 7 9
B 6 5 3
C 2 0 4
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มี
คาใชจายที่ต่ําที่สุดเทาใด
คําตอบ 1 : 6
คําตอบ 2 : 7
คําตอบ 3 : 8
คําตอบ 4 : 9

ขอที่ : 193

Page 148 of 262


ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 5 7 9
B 6 5 3
C 2 0 4
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
เปาหมายอยางไร
คําตอบ 1 : Min Z(X) = 5XA1 + 6XB1 + 2XC1 + 7XA2 + 5XB2 + 0XC2 + 9XA3 + 3XB3 + 4XC3
Max Z(X) = 5XA1 + 6XB1 + 2XC1 + 7XA2 + 5XB2 + 0XC2 + 9XA3 + 3XB3 +
คําตอบ 2 :
4XC3
คําตอบ 3 : Min Z(X) = 7XA1 + 5XB1 + 0XC1 + 5XA2 + 6XB2 + 2XC2 + 9XA3 + 3XB3 + 4XC3
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 194
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 5 7 9
B 6 5 3
C 2 0 4
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานทรัพยากรอยางไร

Page 149 of 262


XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1


คําตอบ 1 :
XA3 + XB3 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1


คําตอบ 2 :
XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 = 1


คําตอบ 3 :
XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Page 150 of 262


Xij = 0 or 1
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 195
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 5 7 9
B 6 5 3
C 2 0 4
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีตัวแบบ
ทางคณิตศาสตรอยางไร
Min Z(X) = 7XA1 + 5XB1 + 0XC1 + 5XA2 + 6XB2 + 2XC2 + 9XA3 + 3XB3 + 4XC3

S.T.

XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 = 1


คําตอบ 1 :
XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Page 151 of 262


Xij = 0 or 1
Max Z(X) = 5XA1 + 6XB1 + 2XC1 + 7XA2 + 5XB2 + 0XC2 + 9XA3 + 3XB3 + 4XC3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1


คําตอบ 2 :
XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

Xij = 0 or 1
Min Z(X) = 5XA1 + 6XB1 + 2XC1 + 7XA2 + 5XB2 + 0XC2 + 9XA3 + 3XB3 + 4XC3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1


คําตอบ 3 :
XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

Page 152 of 262


XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 196
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 10 8 5
B 15 4 9
C 6 2 8
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีวิธีการ
จัดการทํางานอยางไร ที่ทําใหเกิดคาใชจายที่ต่ําที่สุด
A?2

คําตอบ 1 : B?3

C?1
A?3
คําตอบ 2 :
B?2

Page 153 of 262


C?1
A?1

คําตอบ 3 : B?3

C?2
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2, และ 3 ผิด

ขอที่ : 197
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 10 8 5
B 15 4 9
C 6 2 8
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มี
คาใชจายที่ต่ําที่สุดเทาใด
คําตอบ 1 : 15
คําตอบ 2 : 16
คําตอบ 3 : 17
คําตอบ 4 : 18

ขอที่ : 198

Page 154 of 262


ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 10 8 5
B 15 4 9
C 6 2 8
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
เปาหมายอยางไร
คําตอบ 1 : Min Z(X) = 15XA1 + 10XB1 + 6XC1 + 8XA2 + 2XB2 + 4XC2 + 5XA3 + 9XB3 + 8XC3
คําตอบ 2 : Max Z(X) = 10XA1 + 15XB1 + 6XC1 + 8XA2 + 4XB2 + 2XC2 + 5XA3 + 9XB3 + 3XC3
คําตอบ 3 : Min Z(X) = 10XA1 + 15XB1 + 6XC1 + 8XA2 + 4XB2 + 2XC2 + 5XA3 + 9XB3 + 8XC3
คําตอบ 4 : Max Z(X) = 15XA1 + 10XB1 + 6XC1 + 8XA2 + 2XB2 + 4XC2 + 5XA3 + 9XB3 + 8XC3

ขอที่ : 199
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 10 8 5
B 15 4 9
C 6 2 8
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานทรัพยากรอยางไร

Page 155 of 262


XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 = 1


คําตอบ 1 :
XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1


คําตอบ 2 :
XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1


คําตอบ 3 :
XA3 + XB3 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XB1 + XC1 = 1
คําตอบ 4 :
XA2 + XB2 + XC2 = 1

Page 156 of 262


XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1

ขอที่ : 200
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 10 8 5
B 15 4 9
C 6 2 8
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีตัวแบบ
ทางคณิตศาสตรอยางไร
Min Z(X) = 15XA1 + 10XB1 + 6XC1 + 8XA2 + 2XB2 + 4XC2 + 5XA3 + 9XB3 + 8XC3

S.T.
คําตอบ 1 :
XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

Page 157 of 262


XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
Max Z(X) = 10XA1 + 15XB1 + 6XC1 + 8XA2 + 4XB2 + 2XC2 + 5XA3 + 9XB3 + 8XC3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

คําตอบ 2 : XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
Min Z(X) = 10XA1 + 15XB1 + 6XC1 + 8XA2 + 4XB2 + 2XC2 + 5XA3 + 9XB3 + 8XC3
คําตอบ 3 :
S.T.

Page 158 of 262


XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
Max Z(X) = 15XA1 + 10XB1 + 6XC1 + 8XA2 + 4XB2 + 2XC2 + 5XA3 + 9XB3 + 8XC3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

คําตอบ 4 : XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1

Page 159 of 262


ขอที่ : 201
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 4 2 3
B 5 6 8
C 4 7 9
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีวิธีการ
จัดการทํางานอยางไร ที่ทําใหเกิดคาใชจายที่ต่ําที่สุด
A?2

คําตอบ 1 : B?3

C?1
A?3

คําตอบ 2 : B?2

C?1

คําตอบ 3 :
A?1

Page 160 of 262


B?3

C?2
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2, และ 3 ผิด

ขอที่ : 202
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 4 2 3
B 5 6 8
C 4 7 9
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มี
คาใชจายที่ต่ําที่สุดเทาใด
คําตอบ 1 : 12
คําตอบ 2 : 13
คําตอบ 3 : 14
คําตอบ 4 : 15

ขอที่ : 203
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน

Page 161 of 262


1 2 3
A 4 2 3
B 5 6 8
C 4 7 9
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
เปาหมายอยางไร
คําตอบ 1 : Max Z(X) = 3XA1 + 8XB1 + 9XC1 + 2XA2 + 6XB2 + 7XC2 + 4XA3 + 5XB3 + 4XC3
คําตอบ 2 : Min Z(X) = 4XA1 + 5XB1 + 4XC1 + 2XA2 + 6XB2 + 7XC2 + 3XA3 + 8XB3 + 9XC3
คําตอบ 3 : Max Z(X) = 4XA1 + 5XB1 + 4XC1 + 2XA2 + 6XB2 + 7XC2 + 3XA3 + 8XB3 + 9XC3
คําตอบ 4 : Min Z(X) = 3XA1 + 8XB1 + 9XC1 + 2XA2 + 6XB2 + 7XC2 + 4XA3 + 5XB3 + 4XC3

ขอที่ : 204
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 4 2 3
B 5 6 8
C 4 7 9
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานทรัพยากรอยางไร
XA1 + XB1 + XC1 = 1
คําตอบ 1 :
XA2 + XB2 + XC2 = 1

Page 162 of 262


XA3 + XB3 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1


คําตอบ 2 :
XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 = 1

คําตอบ 3 : XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1


คําตอบ 4 :
XA3 + XB3 + XC3 = 1

Page 163 of 262


XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

Xij = 0 or 1

ขอที่ : 205
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่เสียคาใชจายต่ําที่สุด โดยมี
ตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 4 2 3
B 5 6 8
C 4 7 9
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีตัวแบบ
ทางคณิตศาสตรอยางไร
Max Z(X) = 3XA1 + 8XB1 + 9XC1 + 2XA2 + 6XB2 + 7XC2 + 4XA3 + 5XB3 + 4XC3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 = 1


คําตอบ 1 :
XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

Page 164 of 262


XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
Min Z(X) = 4XA1 + 5XB1 + 4XC1 + 2XA2 + 6XB2 + 7XC2 + 3XA3 + 8XB3 + 9XC3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

คําตอบ 2 : XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
Max Z(X) = 4XA1 + 5XB1 + 4XC1 + 2XA2 + 6XB2 + 7XC2 + 3XA3 + 8XB3 + 9XC3

S.T.
คําตอบ 3 :
XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

Page 165 of 262


XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
Min Z(X) = 3XA1 + 8XB1 + 9XC1 + 2XA2 + 6XB2 + 7XC2 + 4XA3 + 5XB3 + 4XC3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

คําตอบ 4 : XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1

ขอที่ : 206
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน

Page 166 of 262


ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่ใหคาผลตอบแทนที่สูงที่สุด
โดยมีตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 5 7 9
B 6 5 3
C 2 0 4
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีวิธีการ
จัดการทํางานอยางไร ที่ทําใหเกิดผลตอบแทนที่สูงที่สุด
A?2

คําตอบ 1 : B?3

C?1
A?3

คําตอบ 2 : B?2

C?1
A?1

คําตอบ 3 : B?3

C?2
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

Page 167 of 262


ขอที่ : 207
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่ใหคาผลตอบแทนที่สูงที่สุด
โดยมีตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 5 7 9
B 6 5 3
C 2 0 4
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มี
ผลตอบแทนที่สูงที่สุดเทาใด
คําตอบ 1 : 15
คําตอบ 2 : 16
คําตอบ 3 : 17
คําตอบ 4 : 18

ขอที่ : 208
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่ใหคาผลตอบแทนที่สูงที่สุด
โดยมีตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 5 7 9
B 6 5 3
C 2 0 4
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ

Page 168 of 262


เปาหมายอยางไร
คําตอบ 1 : Max Z(X) = 5XA1 + 7XB1 + 9XC1 + 6XA2 + 5XB2 + 3XC2 + 2XA3 + 0XB3 + 4XC3
คําตอบ 2 : Min Z(X) = 5XA1 + 7XB1 + 9XC1 + 6XA2 + 5XB2 + 3XC2 + 2XA3 + 0XB3 + 4XC3
คําตอบ 3 : Max Z(X) = 2XA1 + 0XB1 + 4XC1 + 6XA2 + 5XB2 + 3XC2 + 5XA3 + 7XB3 + 9XC3
คําตอบ 4 : Min Z(X) = 2XA1 + 0XB1 + 4XC1 + 6XA2 + 5XB2 + 3XC2 + 5XA3 + 7XB3 + 9XC3

ขอที่ : 209
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่ใหคาผลตอบแทนที่สูงที่สุด
โดยมีตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 5 7 9
B 6 5 3
C 2 0 4
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานทรัพยากรอยางไร
XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 = 1


คําตอบ 1 :
XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1

Page 169 of 262


XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 = 1

คําตอบ 2 : XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 = 1


คําตอบ 3 :
XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

Xij = 0 or 1
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 210
ในการมอบหมายงานสําหรับบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งมีวิศวกรจํานวน 3 คน และมีโครงงานอยู 3 โครงงาน
ในการนี้ตองการพิจารณาวิธีการจัดการทํางานของวิศวกรใหกับโครงงานที่ใหคาผลตอบแทนที่สูงที่สุด

Page 170 of 262


โดยมีตารางสรุปตนทุนการจัดโครงงานใหแกวิศวกรแตละคน ดังนี้
วิศวกร โครงงาน
1 2 3
A 5 7 9
B 6 5 3
C 2 0 4
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีตัวแบบ
ทางคณิตศาสตรอยางไร
Max Z(X) = 5XA1 + 7XB1 + 9XC1 + 6XA2 + 5XB2 + 3XC2 + 2XA3 + 0XB3 + 4XC3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

คําตอบ 1 : XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
Min Z(X) = 5XA1 + 7XB1 + 9XC1 + 6XA2 + 5XB2 + 3XC2 + 2XA3 + 0XB3 + 4XC3
คําตอบ 2 :
S.T.

Page 171 of 262


XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1
Max Z(X) = 2XA1 + 0XB1 + 4XC1 + 6XA2 + 5XB2 + 3XC2 + 5XA3 + 7XB3 + 9XC3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

คําตอบ 3 : XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1

Page 172 of 262


Min Z(X) = 2XA1 + 0XB1 + 4XC1 + 6XA2 + 5XB2 + 3XC2 + 5XA3 + 7XB3 + 9XC3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 = 1

คําตอบ 4 : XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

Xij = 0 or 1

ขอที่ : 211
ในการกําหนดงาน 4 งานใหแกพนักงาน 4 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4
พนักงาน A 4 7 6 5
พนักงาน B 6 9 4 3
พนักงาน C 4 8 0 1
พนักงาน D 5 7 9 3
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีวิธีการ
จัดการทํางานอยางไร ที่ทําใหเกิดคาใชจายต่ําที่สุด

Page 173 of 262


A?1

B?4
คําตอบ 1 :
C?3

D?2
A?2

B?1
คําตอบ 2 :
C?4

D?3
A?1

B?3
คําตอบ 3 :
C?4

D?2

คําตอบ 4 :
A?1

Page 174 of 262


B?4

C?2

D?3

ขอที่ : 212
ในการกําหนดงาน 4 งานใหแกพนักงาน 4 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4
พนักงาน A 4 7 6 5
พนักงาน B 6 9 4 3
พนักงาน C 4 8 0 1
พนักงาน D 5 7 9 3
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีคาใชจาย
ต่ําที่สุดเทาใด
คําตอบ 1 : 13
คําตอบ 2 : 14
คําตอบ 3 : 15
คําตอบ 4 : 16

ขอที่ : 213
ในการกําหนดงาน 4 งานใหแกพนักงาน 4 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4

Page 175 of 262


พนักงาน A 4 7 6 5
พนักงาน B 6 9 4 3
พนักงาน C 4 8 0 1
พนักงาน D 5 7 9 3
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
เปาหมายอยางไร
Min Z(X) = 4XA1 + 7XB1 + 6XC1 + 5XD1 + 6XA2 + 9XB2 + 4XC2 + 3XD2 + 4XA3 +
คําตอบ 1 :
8XB3 + 0XC3+ 1XD3
Max Z(X) = 4XA1 + 7XB1 + 6XC1 + 5XD1 + 6XA2 + 9XB2 + 4XC2 + 3XD2 + 4XA3 +
คําตอบ 2 :
8XB3 + 0XC3+ 1XD3 + 5XA4 + 7XB4 + 9XC4 + 3XD4
Min Z(X) = 4XA1 + 7XB1 + 6XC1 + 5XD1 + 6XA2 + 9XB2 + 4XC2 + 3XD2 + 4XA3 +
คําตอบ 3 :
8XB3 + 0XC3+ 1XD3 + 5XA4 + 7XB4 + 9XC4 + 3XD4
Max Z(X) = 4XA1 + 7XB1 + 6XC1 + 5XD1 + 6XA2 + 9XB2 + 4XC2 + 3XD2 + 4XA3 +
คําตอบ 4 :
8XB3 + 0XC3+ 1XD3

ขอที่ : 214
ในการกําหนดงาน 4 งานใหแกพนักงาน 4 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4
พนักงาน A 4 7 6 5
พนักงาน B 6 9 4 3
พนักงาน C 4 8 0 1
พนักงาน D 5 7 9 3
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานทรัพยากรอยางไร
XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1
คําตอบ 1 :

Page 176 of 262


XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

คําตอบ 2 : XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

คําตอบ 3 : XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1

Page 177 of 262


XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

คําตอบ 4 : XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1

ขอที่ : 215
ในการกําหนดงาน 4 งานใหแกพนักงาน 4 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4
พนักงาน A 4 7 6 5
พนักงาน B 6 9 4 3
พนักงาน C 4 8 0 1
พนักงาน D 5 7 9 3
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีตัวแบบ
ทางคณิตศาสตรอยางไร
คําตอบ 1 : Min Z(X) = 4XA1 + 7XB1 + 6XC1 + 5XD1 + 6XA2 + 9XB2 + 4XC2 + 3XD2 + 4XA3 +

Page 178 of 262


8XB3 + 0XC3+ 1XD3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1
Max Z(X) = 4XA1 + 7XB1 + 6XC1 + 5XD1 + 6XA2 + 9XB2 + 4XC2 + 3XD2 + 4XA3 +
8XB3 + 0XC3+ 1XD3 + 5XA4 + 7XB4 + 9XC4 + 3XD4

S.T.
คําตอบ 2 :
XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

Page 179 of 262


XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1
Min Z(X) = 4XA1 + 7XB1 + 6XC1 + 5XD1 + 6XA2 + 9XB2 + 4XC2 + 3XD2 + 4XA3 +
8XB3 + 0XC3+ 1XD3 + 5XA4 + 7XB4 + 9XC4 + 3XD4

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1


คําตอบ 3 :
XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

Page 180 of 262


XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1
Max Z(X) = 4XA1 + 7XB1 + 6XC1 + 5XD1 + 6XA2 + 9XB2 + 4XC2 + 3XD2 + 4XA3 +
8XB3 + 0XC3+ 1XD3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1


คําตอบ 4 :
XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1

ขอที่ : 216

Page 181 of 262


ในการกําหนดงาน 4 งานใหแกพนักงาน 4 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4
พนักงาน A M 5 7 9
พนักงาน B 8 6 5 4
พนักงาน C 3 4 6 5
พนักงาน D 2 4 8 1
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j และ M คือคาใชจายที่สูงมากเมื่อเทียบจากขอมูลอื่นๆ
ดังนั้นจากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีวิธีการจัดการทํางานอยางไร ที่ทําใหเกิดคาใชจาย
ต่ําที่สุด
A?2

B?3
คําตอบ 1 :
C?4

D?1
A?3

B?2
คําตอบ 2 :
C?1

D?4

Page 182 of 262


A?2

B?1
คําตอบ 3 :
C?3

D?4
A?2

B?3
คําตอบ 4 :
C?1

D?4

ขอที่ : 217
ในการกําหนดงาน 4 งานใหแกพนักงาน 4 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4
พนักงาน A M 5 7 9
พนักงาน B 8 6 5 4
พนักงาน C 3 4 6 5
พนักงาน D 2 4 8 1
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j และ M คือคาใชจายที่สูงมากเมื่อเทียบจากขอมูลอื่นๆ
ดังนั้นจากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีคาใชจายต่ําที่สุดเทาใด

Page 183 of 262


คําตอบ 1 : 12
คําตอบ 2 : 13
คําตอบ 3 : 14
คําตอบ 4 : 15

ขอที่ : 218
ในการกําหนดงาน 4 งานใหแกพนักงาน 4 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4
พนักงาน A M 5 7 9
พนักงาน B 8 6 5 4
พนักงาน C 3 4 6 5
พนักงาน D 2 4 8 1
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j และ M คือคาใชจายที่สูงมากเมื่อเทียบจากขอมูลอื่นๆ
ดังนั้นจากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการเปาหมายอยางไร
Min Z(X) = MXA1 + 5XB1 + 7XC1 + 9XD1 + 8XA2 + 6XB2 + 5XC2 + 4XD2 + 3XA3 +
คําตอบ 1 :
4XB3 + 6XC3+ 5XD3 + 2XA4 + 4XB4 + 8XC4 + 1XD4
Max Z(X) = MXA1 + 5XB1 + 7XC1 + 9XD1 + 8XA2 + 6XB2 + 5XC2 + 4XD2 + 3XA3 +
คําตอบ 2 :
4XB3 + 6XC3+ 5XD3 + 2XA4 + 4XB4 + 8XC4 + 1XD4
Min Z(X) = MXA1 + 5XB1 + 7XC1 + 9XD1 + 8XA2 + 6XB2 + 5XC2 + 4XD2 + 3XA3 +
คําตอบ 3 :
4XB3 + 6XC3+ 5XD3
Max Z(X) = MXA1 + 5XB1 + 7XC1 + 9XD1 + 8XA2 + 6XB2 + 5XC2 + 4XD2 + 3XA3 +
คําตอบ 4 :
4XB3 + 6XC3+ 5XD3

ขอที่ : 219
ในการกําหนดงาน 4 งานใหแกพนักงาน 4 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน

Page 184 of 262


ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4
พนักงาน A M 5 7 9
พนักงาน B 8 6 5 4
พนักงาน C 3 4 6 5
พนักงาน D 2 4 8 1
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j และ M คือคาใชจายที่สูงมากเมื่อเทียบจากขอมูลอื่นๆ
ดังนั้นจากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการหรืออสมการขอจํากัดดานทรัพยากรอยางไร
XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

คําตอบ 1 : XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XB1 + XC1 = 1
คําตอบ 2 :
XA2 + XB2 + XC2 = 1

Page 185 of 262


XA3 + XB3 + XC3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 = 1

XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

XD1 + XD2 + XD3 = 1

Xij = 0 or 1
XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

คําตอบ 3 : XA1 + XA2 + XA3 = 1

XB1 + XB2 + XB3 = 1

XC1 + XC2 + XC3 = 1

XD1 + XD2 + XD3 = 1

Xij = 0 or 1

Page 186 of 262


XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

คําตอบ 4 : XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1

ขอที่ : 220
ในการกําหนดงาน 4 งานใหแกพนักงาน 4 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4
พนักงาน A M 5 7 9
พนักงาน B 8 6 5 4
พนักงาน C 3 4 6 5
พนักงาน D 2 4 8 1
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j และ M คือคาใชจายที่สูงมากเมื่อเทียบจากขอมูลอื่นๆ
ดังนั้นจากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีตัวแบบทางคณิตศาสตรอยางไร
Min Z(X) = MXA1 + 5XB1 + 7XC1 + 9XD1 + 8XA2 + 6XB2 + 5XC2 + 4XD2 + 3XA3 +
4XB3 + 6XC3+ 5XD3 + 2XA4 + 4XB4 + 8XC4 + 1XD4

S.T.
คําตอบ 1 :
XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

Page 187 of 262


XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1
Max Z(X) = MXA1 + 5XB1 + 7XC1 + 9XD1 + 8XA2 + 6XB2 + 5XC2 + 4XD2 + 3XA3 +
4XB3 + 6XC3+ 5XD3 + 2XA4 + 4XB4 + 8XC4 + 1XD4

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1


คําตอบ 2 :
XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

Page 188 of 262


XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1
Min Z(X) = MXA1 + 5XB1 + 7XC1 + 9XD1 + 8XA2 + 6XB2 + 5XC2 + 4XD2 + 3XA3 +
4XB3 + 6XC3+ 5XD3

S.T.

XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1


คําตอบ 3 :
XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1
Max Z(X) = MXA1 + 5XB1 + 7XC1 + 9XD1 + 8XA2 + 6XB2 + 5XC2 + 4XD2 + 3XA3 +
คําตอบ 4 : 4XB3 + 6XC3+ 5XD3

Page 189 of 262


S.T.

XA1 + XB1 + XC1 + XD1 = 1

XA2 + XB2 + XC2 + XD2 = 1

XA3 + XB3 + XC3 + XD3 = 1

XA4 + XB4 + XC4 + XD4 = 1

XA1 + XA2 + XA3 + XA4 = 1

XB1 + XB2 + XB3 + XB4 = 1

XC1 + XC2 + XC3 + XC4 = 1

XD1 + XD2 + XD3 + XD4 = 1

Xij = 0 or 1

ขอที่ : 221
ในการกําหนดงาน 3 งานใหแกพนักงาน 3 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
พนักงาน งาน
1 2 3
A a b c
B d e f
C g h i
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ

Page 190 of 262


เปาหมายอยางไร
คําตอบ 1 : Min Z(X) = aXA1 + dXB1 + gXC1
คําตอบ 2 : Min Z(X) = bXA2 + eXB2 + hXC2 + cXA3 + fXB3 + iXC3
คําตอบ 3 : Min Z(X) = cXA3 + fXB3 + iXC3
คําตอบ 4 : Min Z(X) = aXA1 + dXB1 + gXC1 + bXA2 + eXB2 + hXC2 + cXA3 + fXB3 + iXC3

ขอที่ : 222
ในการกําหนดงาน 3 งานใหแกพนักงาน 3 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
พนักงาน งาน
1 2 3
A a b c
B d e f
C g h i
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานพนักงาน A อยางไร
คําตอบ 1 : XA1 + XA1 = 1
คําตอบ 2 : XA1 + XA1 + XA3 = 1
คําตอบ 3 : XA1 + XA3 = 1
คําตอบ 4 : XA1 + XB1 + XC1 = 1

ขอที่ : 223
ในการกําหนดงาน 3 งานใหแกพนักงาน 3 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
พนักงาน งาน
1 2 3

Page 191 of 262


A a b c
B d e f
C g h i
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานพนักงาน B อยางไร
คําตอบ 1 : XA1 + XA1 = 1
คําตอบ 2 : XA1 + XA1 + XA3 = 1
คําตอบ 3 : XA1 + XA3 = 1
คําตอบ 4 : XB1 + XB2 + XB3 = 1

ขอที่ : 224
ในการกําหนดงาน 3 งานใหแกพนักงาน 3 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
พนักงาน งาน
1 2 3
A a b c
B d e f
C g h i
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานพนักงาน C อยางไร
คําตอบ 1 : XA1 + XA1 = 1
คําตอบ 2 : XA1 + XA1 + XA3 = 1
คําตอบ 3 : XC1 + XC2 + XC3 = 1
คําตอบ 4 : XB1 + XB2 + XB3 = 1

ขอที่ : 225

Page 192 of 262


ในการกําหนดงาน 3 งานใหแกพนักงาน 3 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
พนักงาน งาน
1 2 3
A a b c
B d e f
C g h i
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานงานชนิดที่ 1 อยางไร
คําตอบ 1 : XA1 + XA1 = 1
คําตอบ 2 : XA1 + XA1 + XA3 = 1
คําตอบ 3 : XC1 + XC2 + XC3 = 1
คําตอบ 4 : XA1 + XB1 + XC1 = 1

ขอที่ : 226
ในการกําหนดงาน 3 งานใหแกพนักงาน 3 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
พนักงาน งาน
1 2 3
A a b c
B d e f
C g h i
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานงานชนิดที่ 2 อยางไร
คําตอบ 1 : XA1 + XA1 = 1
คําตอบ 2 : XA1 + XA1 + XA3 = 1
คําตอบ 3 : XA2 + XB2 + XC2 = 1

Page 193 of 262


คําตอบ 4 : XA1 + XB1 + XC1 = 1

ขอที่ : 227
ในการกําหนดงาน 3 งานใหแกพนักงาน 3 คนของบริษัท โดยมีคาใชจายในการกําหนดงานแตละงาน
ใหแกพนักงานแตละคนตามตารางตอไปนี้
พนักงาน งาน
1 2 3
A a b c
B d e f
C g h i
กําหนดให Xij คือ การจัดคนที่ i ใหกับงานที่ j จากขอมูลขางตนสําหรับการมอบหมายงาน มีสมการ
หรืออสมการขอจํากัดทางดานงานชนิดที่ 3 อยางไร
คําตอบ 1 : XA1 + XA1 = 1
คําตอบ 2 : XA3 + XB3 + XC3 = 1
คําตอบ 3 : XA2 + XB2 + XC2 = 1
คําตอบ 4 : XA1 + XB1 + XC1 = 1

ขอที่ : 228
คํากลาวใดถูกตองเกี่ยวกับปญหาการมอบหมายงาน และปญหาการขนสง
Assignment Problem มีสวนคลายคลึงกับ Transportation
คําตอบ 1 : Problem โดยที่ปญหาของการมอบหมายงานจะมีตนทางที่มี
Supply เปน n และปลายทาง ที่มีความตองการเปน 1
Assignment Problem มีสวนคลายคลึงกับ Transportation
คําตอบ 2 : Problem โดยที่ปญหาของการมอบหมายงานจะมีตนทางที่มี
Supply เปน 1 และปลายทาง ที่มีความตองการเปน 1
คําตอบ 3 : Assignment Problem มีสวนคลายคลึงกับ Transportation

Page 194 of 262


Problem โดยที่ปญหาของการมอบหมายงานจะมีตนทางที่มี
Supply เปน n และปลายทาง ที่มีความตองการเปน n
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2, และ 3 ถูก

ขอที่ : 229
ขอใดเปนลักษณะเฉพาะของปญหาการมอบหมายงาน (Assignment Problem)
คําตอบ 1 : Xij เปนตัวแปรไบนารี (มีคาเปน 0 หรือ 1) เมื่อ i = 1 , 2 , … , n และ j = 1 , 2 , … , n
คําตอบ 2 : ผลลัพธมีคาเปนเลขจํานวนเต็มหรือเศษสวน
คําตอบ 3 : Xij >= 0
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3 ถูก

ขอที่ : 230
ขอใดเปนระบบแถวคอยที่มีการจํากัดจํานวนผูมารับบริการ
คําตอบ 1 : รานรับซอมวิทยุโทรทัศน
คําตอบ 2 : ชุมสายโทรศัพทที่เปนเชื่อมตอสัญญาณโทรศัพท
คําตอบ 3 : ดานเก็บเงินทางดวน
คําตอบ 4 : Websites ตางๆ ใน Internet

ขอที่ : 231
ขอใดถูกตองที่สุดสําหรับระบบแถวคอย
คุณสมบัติเดนของการแจกแจงแบบเลขชี้กําลัง (Exponential
Distribution) คือการที่การแจกแจงนี้สามารถบอกความนาจะ
คําตอบ 1 :
เปนที่จะเกิดเหตุการณใดๆ มากกวาหนึ่งครั้ง ในชวงระยะเวลา
สั้นๆได

Page 195 of 262


ระบบชุมสายโทรศัพทเปนระบบแถวคอยที่มีจํานวนชองบริการ
คําตอบ 2 : เทากับจํานวนคูสาย และมีขนาดของแถวคอยไมจํากัด
(Infinite Queue)
ในการวิเคราะหระบบแถวคอย ความนาจะเปนที่จะมีผูใชบริการ
คําตอบ 3 : เขามาใน 5 วินาทีถัดจากนี้ ขึ้นอยูกับวามีผูใชบริการในชวง 5
วินาทีที่ผานมาหรือไม
เหตุผลหลักที่นําเอา การแจกแจงแบบเลขชี้กําลัง
(Exponential Distribution) มาใชในการวิเคราะหทฤษฏี
คําตอบ 4 :
แถวคอย เนื่องจากเปนการแจกแจงที่ไมตอง ใชการมาในอดีต
มารวมใยการวิเคราะห

ขอที่ : 232
ขอใดแทน คาใชจายหลักในที่เกี่ยวของกับผูใหบริการ (Server) ของระบบแถวคอย
คําตอบ 1 : คาใชจายอันเปนผลมาจากการที่ลูกคาตองเสียเวลารอคอย
คําตอบ 2 : คาจางคนทําหนาที่ใหบริการ
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 233
ขอใดแทน คาใชจายหลักในที่เกี่ยวของกับคาใชจายในการรอคอย ของระบบแถวคอย
คําตอบ 1 : คาใชจายอันเปนผลมาจากการที่ลูกคาตองเสียเวลารอคอย
คําตอบ 2 : คาจางคนทําหนาที่ใหบริการ
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

Page 196 of 262


ขอที่ : 234
ขอมูลทางสถิติใดมีอิทธิพลตอประสิทธิภาพของระบบแถวคอย
คําตอบ 1 : คาเฉลี่ยและการแจกแจงของจํานวนลูกคาในแถวคอย
คําตอบ 2 : คาเฉลี่ยและการแจกแจงของจํานวนลูกคาในระบบ
คําตอบ 3 : สถานะของสวนใหบริการคือ วาง หรือกําลังทํางานอยู
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 235
ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : เวลารอคอย หมายถึง ชวงเวลาที่ผูใหบริการ (Server) รอคอยลูกคา
เวลาในระบบ หมายถึง ชวงเวลาที่นับตั้งแตลูกคาเขาสูระบบจนกระทั่งไดรับบริการแลว
คําตอบ 2 :
เสร็จแลวออกไปจากระบบ
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอมูลไมสมบูรณ

ขอที่ : 236
ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : เวลารอคอย หมายถึง ชวงเวลาที่ผูรับบริการ (Customer) ใชไปสําหรับการรอคอย
เวลาในระบบ หมายถึง ชวงเวลาที่นับตั้งแตลูกคาเขาสูระบบจนกระทั่งไดรับบริการแลว
คําตอบ 2 :
เสร็จแลวออกไปจากระบบ
คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ 1 และ 2
คําตอบ 4 : ขอมูลไมสมบูรณ

ขอที่ : 237

Page 197 of 262


โดยทั่วไประบบแถวคอยจะประกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวน คือ
คําตอบ 1 : แถวคอย (Queue)
คําตอบ 2 : ผูจัดการ (Manager)
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 238
โดยทั่วไประบบแถวคอยจะประกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวน คือ
คําตอบ 1 : แถวคอย (Queue)
คําตอบ 2 : หนวยบริการ (Server)
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 239
ตัวอยางของระบบแถวคอยซึ่งประกอบดวยลูกคา หนวยบริการ และลักษณะของการใหบริการ ดังแสดง
ในตาราง คําตอบสําหรับชองวางควรเปนอยางไร
ระบบ/สถานการณ ลูกคาของระบบ หนวยบริการ ลักษณะของการบริการ
อูลางรถ รถยนต การลางรถ
คําตอบ 1 : แถวคอย
คําตอบ 2 : รถยนต
คําตอบ 3 : พนักงานลางรถ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 240

Page 198 of 262


ตัวอยางของระบบแถวคอยซึ่งประกอบดวยลูกคา หนวยบริการ และลักษณะของการใหบริการ ดังแสดง
ในตาราง คําตอบสําหรับชองวางควรเปนอยางไร
ระบบ/สถานการณ ลูกคาของระบบ หนวยบริการ ลักษณะของการบริการ
โทรศัพทสาธารณะ ผูใชโทรศัพท โทรศัพท
คําตอบ 1 : แถวคอย
คําตอบ 2 : การใชโทรศัพท
คําตอบ 3 : พนักงานรับโทรศัพท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 241
ตัวอยางของระบบแถวคอยซึ่งประกอบดวยลูกคา หนวยบริการ และลักษณะของการใหบริการ ดังแสดง
ในตาราง คําตอบสําหรับชองวางควรเปนอยางไร
ระบบ/สถานการณ ลูกคาของระบบ หนวยบริการ ลักษณะของการบริการ
ลูกคา พนักงานคิดเงิน จัดของใสถุง คิดเงิน
คําตอบ 1 : ซุปเปอรมารเก็ต
คําตอบ 2 : แถวคอย
คําตอบ 3 : โรงพยาบาล
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 242
ตัวอยางของระบบแถวคอยซึ่งประกอบดวยลูกคา หนวยบริการ และลักษณะของการใหบริการ ดังแสดง
ในตาราง คําตอบสําหรับชองวางควรเปนอยางไร
ระบบ/สถานการณ ลูกคาของระบบ หนวยบริการ ลักษณะของการบริการ

Page 199 of 262


รานตัดผม ลูกคา ชางทําผม
คําตอบ 1 : การขนถายสินคา
คําตอบ 2 : แถวคอย
คําตอบ 3 : การตัด/สระ/ยอมผม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 243
คาใชจายในการใหบริการของ Server เปนคาใชจายที่เกี่ยวของกับจากการจัดใหมีหนวยบริการเพิ่มขึ้น
หรือเปนคาใชจายที่เกิดขึ้นเพื่อปรับปรุงสภาพการใหบริการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นนั้นประกอบไป
ดวยคาใชจายในดานใดบาง
คําตอบ 1 : เงินเดือนคาจางพนักงาน
คําตอบ 2 : คาใชจายในการจัดเตรียมเครื่องมือเครื่องใชในการใหบริการ
คําตอบ 3 : คาจัดเตรียมลูกคาใหเขารับบริการ
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 244
จงใหความหมายของระบบแถวคอยชนิด ชองทางเดียว-ขั้นตอนเดียว (Single-Channel, Single-
Phase Operation)
คําตอบ 1 : ระบบแถวคอยที่มีหนวยบริการเพียงหนวยเดียว
ระบบแถวคอยมีขั้นตอนการบริการเพียงขั้นตอนเดียว เมื่อลูกคารับบริการเสร็จแลวก็จะ
คําตอบ 2 :
ออกจากระบบไป
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

Page 200 of 262


ขอที่ : 245
จงใหความหมายของระบบแถวคอยชนิด ชองทางเดียว-หลายขั้นตอน (Single-Channel, Multiple-
Phase Operation)
คําตอบ 1 : ระบบแถวคอยที่มีหนวยบริการเพียงหนวยเดียว
ระบบแถวคอยที่มีขั้นตอนการบริการหลายขั้นตอน และแตละขั้นตอนมีหนวยบริการหนวย
คําตอบ 2 :
เดียว
ระบบแถวคอยที่มีขั้นตอนการบริการเพียงขั้นตอนเดียว และแตละขั้นตอนมีหนวยบริการ
คําตอบ 3 :
หนวยเดียว
คําตอบ 4 : ระบบแถวคอยที่มีขั้นตอนการบริการหลายขั้นตอน และแตละขั้นตอนมีหลายหนวยบริการ

ขอที่ : 246
จงใหความหมายของระบบแถวคอยชนิด หลายชองทาง-ขั้นตอนเดียว (Multiple-Channel, Single-
Phase Operation)
คําตอบ 1 : ระบบแถวคอยที่มีขั้นตอนการบริการขัน
้ ตอนเดียว แตมีหนวยบริการมากกวา 1 หนวย
ระบบแถวคอยที่มีขั้นตอนการบริการหลายขั้นตอน และแตละขั้นตอนมีหนวยบริการหนวย
คําตอบ 2 :
เดียว
ระบบแถวคอยที่มีขั้นตอนการบริการเพียงขั้นตอนเดียว และแตละขั้นตอนมีหนวยบริการ
คําตอบ 3 :
หนวยเดียว
คําตอบ 4 : ระบบแถวคอยที่มีขั้นตอนการบริการหลายขั้นตอน และแตละขั้นตอนมีหลายหนวยบริการ

ขอที่ : 247
จงใหความหมายของระบบแถวคอยชนิด หลายชองทาง-หลายขั้นตอน (Multiple-Channel,
Multiple-Phase Operation)
คําตอบ 1 : ระบบแถวคอยที่มีขั้นตอนการบริการขัน
้ ตอนเดียว แตมีหนวยบริการมากกวา 1 หนวย
คําตอบ 2 : ระบบแถวคอยทีม่ ีขั้นตอนการบริการหลายขั้นตอน และแตละขั้นตอนมีหนวยบริการหนวย

Page 201 of 262


เดียว
ระบบแถวคอยที่มีขั้นตอนการบริการเพียงขั้นตอนเดียว และแตละขั้นตอนมีหนวยบริการ
คําตอบ 3 :
หนวยเดียว
ระบบแถวคอยที่มีขั้นตอนการบริการหลายขั้นตอน และแตละขั้นตอนมีผูใหบริการหลาย
คําตอบ 4 :
คน

ขอที่ : 248
ลักษณะของการใหบริการ (Queue Discipline) เปนหลักเกณฑการเลือกใหบริการ จงใหความหมาย
สําหรับลักษณะของการใหบริการแบบ มากอนไดรับบริการกอน (FCFS: First Come First Served
หรือ FIFO: First In First Out)
คําตอบ 1 : ใชหลักเกณฑที่ลูกคาที่เขาสูระบบแถวคอยหลังสุดจะไดรับบริการกอน
หลักเกณฑที่ใหลูกคาที่เขาสูระบบแถวคอยกอนจะไดรับบริการกอน ซึ่งเปนหลักเกณฑ
คําตอบ 2 :
การ พิจารณาโดยทั่วไป
คําตอบ 3 : ลูกคาจะไดรับบริการแบบสุม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 249
ลักษณะของการใหบริการ (Queue Discipline) เปนหลักเกณฑการเลือกใหบริการ จงใหความหมาย
สําหรับลักษณะของการใหบริการแบบ มาหลังไดรับบริการกอน (LCFS: Last Come First Serve หรือ
LIFO: Last In First Out)
คําตอบ 1 : ใชหลักเกณฑที่ลูกคาที่เขาสูระบบแถวคอยหลังสุดจะไดรับบริการกอน
หลักเกณฑที่ใหลูกคาที่เขาสูระบบแถวคอยกอนจะไดรับบริการกอน ซึ่งเปนหลักเกณฑ
คําตอบ 2 :
การ พิจารณาโดยทั่วไป
คําตอบ 3 : ลูกคาจะไดรับบริการแบบสุม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

Page 202 of 262


ขอที่ : 250
ลักษณะของการใหบริการ (Queue Discipline) เปนหลักเกณฑการเลือกใหบริการ จงใหความหมาย
สําหรับลักษณะของการใหบริการแบบ ใหบริการแบบสุม (SIRO: Service in Random Order)
คําตอบ 1 : ใชหลักเกณฑที่ลูกคาที่เขาสูระบบแถวคอยหลังสุดจะไดรับบริการกอน
หลักเกณฑที่ใหลูกคาที่เขาสูระบบแถวคอยกอนจะไดรับบริการกอน ซึ่งเปนหลักเกณฑ
คําตอบ 2 :
การ พิจารณาโดยทั่วไป
คําตอบ 3 : ลูกคาจะไดรับบริการแบบสุม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 251
ลักษณะของการใหบริการ (Queue Discipline) เปนหลักเกณฑการเลือกใหบริการ จงใหความหมาย
สําหรับลักษณะของการใหบริการแบบ การใหบริการแบบมอบอภิสิทธิ์ (PRI: Priority)
คําตอบ 1 : ใชหลักเกณฑที่ลูกคาที่เขาสูระบบแถวคอยหลังสุดจะไดรับบริการกอน
หลักเกณฑที่ใหลูกคาที่เขาสูระบบแถวคอยกอนจะไดรับบริการกอน ซึ่งเปนหลักเกณฑ
คําตอบ 2 :
การ พิจารณาโดยทั่วไป
คําตอบ 3 : ใชหลักเกณฑในการใหบริการลูกคาโดยใหความสําคัญไมเทากัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 252
ในปญหาแถวคอยซึ่งพบวา รูปแบบพืน ้ ฐานของแถวคอยคือ (M/M/1) : (FCFS/∞/∞) ตัวแบบการรอ
คอยดังกลาวมีลักษณะนี้ เปนแบบที่งายที่สุด โดยมีลักษณะถูกตองตรงกันกับขอใด
การแจกแจงการมา (Arrival) มีการแจกแจงแบบปวสซอง (Poisson Distribution) และ
คําตอบ 1 :
มีคาคงที่
คําตอบ 2 : การแจกแจงของการจากไป (Departure) มีลักษณะแบบยูนิฟอรม และมีคา คงที่

Page 203 of 262


คําตอบ 3 : มีชองทางการใหบริการสองชองทางหรือหนวยใหบริการสองหนวย
คําตอบ 4 : ระเบียบการใหบริการคือใครมาถึงทีหลังไดรับบริการกอน

ขอที่ : 253
ดานตรวจรถแหงหนึ่งไดเปดใหบริการเพียงชองเดียว ซึ่งรถยนตเขามารับบริการมีลักษณะเปนปวสซอง
(Poisson Distribution) ดวยอัตราเฉลี่ย 30 คันตอชั่วโมง เวลาที่ใชในการใหบริการตอลูกคามี
ลักษณะเปนเอ็กซโพแนนเชียล (Exponential Distribution) ดวยอัตราเฉลี่ยเทากับ 90 วินาที ถาให
1 นาทีเปนหนึ่งหนวยเวลา จงหาความนาจะเปนที่จะไมมีลูกคาในดานตรวจรถ
คําตอบ 1 : 0.05
คําตอบ 2 : 0.20
คําตอบ 3 : 0.50
คําตอบ 4 : 0.25

ขอที่ : 254
เลขานุการภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการพิมพงานในอัตราเฉลี่ย 10 งานตอชั่วโมง โดยมีการแจกแจง
ของเวลาใหการบริการเปนแบบเอ็กซโพแนนเชียล (Exponential Distribution) งานที่รับเขามามี
จํานวน 5 งานตอชั่วโมง และมีการแจกแจงแบบปวสซอง (Poisson Distribution) จงคํานวณหา
เปอรเซ็นตเวลาที่ระบบทํางานที่ใชเปนประโยชน
คําตอบ 1 : 50%
คําตอบ 2 : 20%
คําตอบ 3 : 40%
คําตอบ 4 : 25%

ขอที่ : 255
เลขานุการภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการพิมพงานในอัตราเฉลี่ย 10 งานตอชั่วโมง โดยมีการแจกแจง

Page 204 of 262


ของเวลาใหการบริการเปนแบบเอ็กซโพแนนเชียล (Exponential Distribution) งานที่รับเขามามี
จํานวน 5 งานตอชั่วโมง และมีการแจกแจงแบบปวสซอง (Poisson Distribution) จงคํานวณหา
เปอรเซ็นตเวลาที่ระบบวางงาน
คําตอบ 1 : 20%
คําตอบ 2 : 40%
คําตอบ 3 : 60%
คําตอบ 4 : 50%

ขอที่ : 256
ตูบริการอัตโนมัติของธนาคารแหงหนึ่งมีคนเขามารับบริการเปนแบบปวสซอง (Poisson Distribution)
ชวงเวลาระหวางคนที่เขามาติด ๆ กัน เปน 10 นาที เวลาที่แตละคนใชบริการตูอัตโนมัติมีการแจกแจง
แบบเอ็กซโพแนนเชียล (Exponential Distribution) มีคาเฉลี่ย 3 นาที ตอคน จงหาความนาจะเปนที่
ลูกคาหนึ่งเขามาแลวตองคอย
คําตอบ 1 : 0.3
คําตอบ 2 : 0.2
คําตอบ 3 : 0.1
คําตอบ 4 : 0.7

ขอที่ : 257
ขอใดกลาวถึงลักษณะการใหบริการประเภท มากอน-รับบริการกอน (First Come First Serve) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : การเขารับบริการอยางตอเนื่อง และคัดเลือกการเขามาอยางสุม

คําตอบ 2 : การเขารับบริการตามลําดับการมาถึง
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ผิด

Page 205 of 262


ขอที่ : 258
ขอใดตอไปนี้ถูก

(i) ทุกขบวนการสโตแคสติก (Stochastic Processes) มีคุณสมบัติมารคอฟ (Markov Properties)

(ii) ในสถานะเสถียร (Steady State or Equilibrium) หวงโซมารคอฟ (Markov Chains) จะมี


คุณสมบัติเสมือนวาไมขึ้นกับเวลา (Time Independent or Time Invariant)
คําตอบ 1 : ขอ (i) เทานั้นที่ถูก
คําตอบ 2 : ขอ (ii) เทานั้นที่ถูก
คําตอบ 3 : ขอ (i) และ (ii) ถูก
คําตอบ 4 : ขอ (i) และ (ii) ผิด

ขอที่ : 259
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับแบบจําลองของระบบแถวคอย (Queueing Model)

(i) ระบบแถวคอยจะอยูในสถานะเสถียรก็ตอเมื่ออัตราของลูกคาที่เขามาในระบบและอัตราการบริการ
ลูกคามีคาเทากัน

(ii) หากไมนับลูกคาที่อยูในแถวแลว จํานวนลูกคาที่เหลือ คือ 1

(iii) จุดประสงคของการวิเคราะหระบบแถวคอย คือ การวิเคราะหระบบในสถานะเสถียร


คําตอบ 1 : (i) และ (ii)
คําตอบ 2 : (ii) และ (iii)
คําตอบ 3 : ขอ (i) และ (ii) ถูก
คําตอบ 4 : ขอ (i) และ (ii) ผิด

Page 206 of 262


ขอที่ : 260
สถานีอนามัยแหงหนึ่งไดเปดบริการทําฟนใหกับประชาชนโดยมีทันตแพทยเพียงคนเดียว ในแผนก
ทันตกรรมมีเกาอี้ใหคนไขนั่งรอได 3 ตัว ดังนั้นจํานวนคนไขในแผนกทันตกรรมจะอยูในชวง 0-4 ราย
ถาให n = 0, 1, 2, 3, 4 ความนาจะเปนที่จะมีคนไข n ราย อยูในแผนกทันตกรรม (Pn) เปนดังนี้ คือ

P0 = 1/10, P1 = 2/10, P2 = 4/10, P3 = 2/10 และ P4 = 1/10

จงคํานวณหาคาคาดหวังของคนไขที่อยูในแถวคอย
คําตอบ 1 : 2 คน
คําตอบ 2 : 4 คน
คําตอบ 3 : 3 คน
คําตอบ 4 : 1.1 คน

ขอที่ : 261
รานเบเกอรี่แหงหนึ่งมีที่จอดรถสําหรับลูกคาอยูดานขางของราน ซึ่งใชจอดรถได 3 คัน ถาให n = 0,
1, 2, 3 ความนาจะเปนที่ลูกคาจะเขามาใชพื้นที่ n พื้นที่ในการจอดรถ (Pn) เปนดังนี้ คือ

P0 = 0.1, P1 = 0.3, P2 = 0.4, P3 = 0.2

จงคํานวณหาคาคาดหวังของจํานวนรถที่จอดอยูดานขางของรานเบเกอรี่
คําตอบ 1 : 1 คัน
คําตอบ 2 : 1.7 คัน
คําตอบ 3 : 2 คัน
คําตอบ 4 : 2.5 คัน

ขอที่ : 262

Page 207 of 262


ขอใดถูกตองที่สุดสําหรับ Economic Order Quantity (EOQ)
จุด EOQ คือจุดที่มีตนทุนในการสั่งซื้อทั้งป เทากับตนทุนในการ จัดเก็บ (Holding
คําตอบ 1 :
Cost) ทั้งป
คําตอบ 2 : EOQ ทําให Order Point และ Re-Order Point ตางกันอยางชัดเจน
เปนระบบที่ทําใหอัตราการใชงาน (Demand Rate) และ ของอัตราการผลิต
คําตอบ 3 :
(Production Rate) มีคาเทากัน
คําตอบ 4 : เปนระบบที่ทําใหระดับคงคลังเฉลี่ย และ อัตราการใชงาน (Demand Rate) มีคาเทากัน

ขอที่ : 263
Lead Time (เวลานํา) คือ
คําตอบ 1 : ชวงเวลาจากจุดที่สั่งซื้อของ จนถึงเวลาที่ไดรับการยืนยันการสั่งของ
คําตอบ 2 : ชวงเวลาจากจุดที่สั่งซื้อของ จนถึงเวลาที่ไดรับมอบของ
คําตอบ 3 : ชวงเวลาจากจุดที่รับของ จนถึงเวลาที่ทําการสั่งของ
คําตอบ 4 : ชวงเวลาที่คงคลังมีระดับสูงสุด ถึงจุดที่คงคลังมีระดับต่ําที่สุด

ขอที่ : 264
ตนทุนชนิดใดที่เกี่ยวของในการจัดการสินคาคงคลัง
คําตอบ 1 : ตนทุนจัดเก็บสินคา
คําตอบ 2 : ตนทุนสั่งซื้อและติดตั้ง
คําตอบ 3 : ตนทุนสินคาขาดแคลน
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2, และ 3 ถูก

ขอที่ : 265
ขอใดไมใชปจจัยที่กอใหเกิดตนทุนในดานจัดเก็บสินคาคงคลัง

Page 208 of 262


คําตอบ 1 : ความลาสมัย
คําตอบ 2 : แบบฟอรมการสั่งซื้อวัสดุ
คําตอบ 3 : การประกันวัสดุ
คําตอบ 4 : การโจรกรรม

ขอที่ : 266
ขอใดเปนขอสมมติของการคํานวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order
Quantity) สําหรับตัวแบบสําหรับการจัดการวัสดุคงคลัง
คําตอบ 1 : ความตองการวัสดุทราบคาแนนอน และคงที่
คําตอบ 2 : อนุโลมใหมีการขาดสตอคของวัสดุได
คําตอบ 3 : ตนทุนการเก็บรักษาแปรผันตามปริมาณวัสดุคงคลังที่มากที่สุด
คําตอบ 4 : การโจรกรรม

ขอที่ : 267
หากการคํานวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity) สําหรับตัวแบบ
สําหรับการจัดการวัสดุคงคลังสามารถแสดงไดดังฟงกชั่นดานลาง จงหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด
ที่สุด (EOQ)

หมายเหตุ

ตนทุนรายปรวม = ตนทุนการซื้อวัสดุรายป + ตนทุนการสั่งซื้อรายป + ตนทุนการจัดเก็บราย


ป

TC = DC + (D/Q)S + (Q/2)H

โดย

Page 209 of 262


TC = ตนทุนรวมรายป (Total Annual Cost)

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand)

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit)

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost)

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory)


คําตอบ 1 : EOQ = รากที่สองของ (2HS/D)
คําตอบ 2 : EOQ = รากที่สองของ (DH/S)
คําตอบ 3 : EOQ = รากที่สองของ (2DS/H)
คําตอบ 4 : EOQ = รากที่สองของ (2DH/S)

ขอที่ : 268
ขอใดเปนความสัมพันธทถ
ี่ ูกตองระหวางปริมาณวัสดุที่สั่งซื้อกับตนทุนในการจัดเก็บ
คําตอบ 1 : ปริมาณวัสดุที่สั่งซื้อยิ่งสูง ตนทุนในการจัดเก็บยิ่งลดลง
คําตอบ 2 : ปริมาณวัสดุที่สั่งซื้อยิ่งสูง ตนทุนในการจัดเก็บยิ่งสูงขึ้น
คําตอบ 3 : ปริมาณวัสดุที่สั่งซื้อยิ่งลดลง ตนทุนในการจัดเก็บยิ่งสูงขึ้น
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2, และ 3 ผิด

ขอที่ : 269
ขอใดเปนความสัมพันธทถ
ี่ ูกตองระหวางปริมาณวัสดุที่สั่งซื้อกับตนทุนในการสั่งซื้อ
คําตอบ 1 : ปริมาณวัสดุที่สั่งซื้อยิ่งสูง ตนทุนในการสั่งซื้อยิ่งสูงขึ้น

Page 210 of 262


คําตอบ 2 : ปริมาณวัสดุที่สั่งซื้อยิ่งลดลง ตนทุนในการสั่งซื้อยิ่งลดลง
คําตอบ 3 : ปริมาณวัสดุที่สั่งซื้อยิ่งสูง ตนทุนในการสั่งซื้อยิ่งลดลง
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2, และ 3 ถูก

ขอที่ : 270
ขอใดกลาวถึงตนทุนในการสั่งซื้อที่ถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : ตนทุนทั้งหมดที่เกิดจากการออกใบสั่งซื้อและติดตามผล
คําตอบ 2 : เงินเดือนพนักงาน และคาใชจายสํานักงาน
คําตอบ 3 : ตนทุนที่เกิดจากสินคาลาสมัย
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 271
ขอใดกลาวถึงตนทุนในการสั่งซื้อที่ถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : ตนทุนทั้งหมดที่เกิดจากการออกใบสั่งซื้อและติดตามผล
คําตอบ 2 : คาเชาคลังสินคา รวมทั้งตนทุนจาก ความรอน แสง และความเย็นภายในคลังสินคา
คําตอบ 3 : ตนทุนที่เกิดจากสินคาลาสมัย
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 272
ขอใดกลาวถึงตนทุนในการรักษาสินคาคงคลังที่ถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : ตนทุนทั้งหมดที่เกิดจากการออกใบสั่งซื้อและติดตามผล
คําตอบ 2 : เงินเดือนพนักงาน และคาใชจายสํานักงาน
คําตอบ 3 : ตนทุนที่เกิดจากสินคาลาสมัย
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

Page 211 of 262


ขอที่ : 273
ขอใดกลาวถึงตนทุนในการรักษาสินคาคงคลังที่ถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : ตนทุนทั้งหมดที่เกิดจากการออกใบสั่งซื้อและติดตามผล
คําตอบ 2 : คาภาษี คาประกันภัย และคาเสื่อมราคา
คําตอบ 3 : เงินเดือนพนักงาน และคาใชจายสํานักงาน
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 274
ขอใดกลาวถึงตนทุนในการรักษาสินคาคงคลังที่ถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : ตนทุนทั้งหมดที่เกิดจากการออกใบสั่งซื้อและติดตามผล
คําตอบ 2 : ดอกเบี้ย จากเงินลงทุนในสินคาคงเหลือ
คําตอบ 3 : เงินเดือนพนักงาน และคาใชจายสํานักงาน
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 275
ขอใดกลาวถึงตนทุนในการรักษาสินคาคงคลังที่ถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : ตนทุนทั้งหมดที่เกิดจากการออกใบสั่งซื้อและติดตามผล
คําตอบ 2 : เงินเดือนพนักงาน และคาใชจายสํานักงาน
การเก็บสินคาเเละดําเนินงาน รวมทั้งการเก็บบันทึกบัญชี การตรวจนับสินคาและปองกัน
คําตอบ 3 :
สินคา
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 276

Page 212 of 262


ขอใดกลาวถึงตนทุนในการรักษาสินคาคงคลังที่ถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : คาสินคาเสียหาย
การเก็บสินคาเเละดําเนินงาน รวมทั้งการเก็บบันทึกบัญชี การตรวจนับสินคาและปองกัน
คําตอบ 2 :
สินคา
คําตอบ 3 : ตนทุนทั้งหมดที่เกิดจากการออกใบสั่งซื้อและติดตามผล
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 277
บริษัทแหงหนึ่ง เปนผูผลิตเครื่องคอมพิวเตอรผลิตเครื่องไดวันละ 10 เครื่อง บริษัทตองการซื้อ
อุปกรณเสริมเพื่อใชในการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร ชวงเวลาที่รอสินคาของการสั่งซื้อปกติเปนเวลา 5
วัน จงหาจุดสั่งซื้อที่บริษท
ั ควรจะสั่งซือ
้ เทาไร
คําตอบ 1 : 55
คําตอบ 2 : 50
คําตอบ 3 : 45
คําตอบ 4 : 40

ขอที่ : 278
บริษัทแหงหนึ่ง เปนผูผลิตเครื่องคอมพิวเตอรผลิตเครื่องไดวันละ 10 เครื่อง บริษัทตองการซื้อ
อุปกรณเสริมเพื่อใชในการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร หากพบวาจุดสั่งซื้อที่บริษัทควรจะสัง่ ซื้อเทากับ
50 ขอใดตีความหมายของจุดสั่งซื้อไดอยางถูกตองมากที่สุด
บริษัทตองสั่งซื้ออุปกรณเสริม เมื่อพบวามีคอมพิวเตอรในคลังสินคา 50 หนวย สําหรับ
คําตอบ 1 :
การผลิตเครื่องคอมพิวเตอรอีก 5 วัน เพื่อไมใหสินคาขาดมือ
บริษัทตองสั่งซื้ออุปกรณเสริม เมื่อพบวามีอุปกรณเสริมคงเหลือในคลังสินคา 10 หนวย
คําตอบ 2 :
สําหรับการผลิตเครื่องคอมพิวเตอรอีก 5 วัน เพื่อไมใหสินคาขาดมือ
คําตอบ 3 : บริษัทตองสั่งซื้ออุปกรณเสริม เมื่อพบวามีอุปกรณเสริมคงเหลือในคลังสินคา 50 หนวย

Page 213 of 262


สําหรับการผลิตเครื่องคอมพิวเตอรอีก 5 วัน เพื่อไมใหสินคาขาดมือ
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 279
ขอใดคือสาเหตุของการเกิดสินคาคงคลังขาดมือ
คําตอบ 1 : ความไมแนนอนในอัตราการใชสินคาคงคลัง
คําตอบ 2 : ชวงเวลาที่รอสินคาคงคลัง
คําตอบ 3 : ขอมูลไมเพียงพอ
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 280
บริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งเปนผูผลิตเครื่องซักผา ผลิตเครื่องซักผาไดวันละ 50 เครื่อง บริษัทแหงนี้ซื้อ
มอเตอรไฟฟาเพื่อใชติดตั้งในเครืองศักผามีชวงเวลาที่รอสินคาของการสั่งซื้อปกติ 6 วัน จงหาจุด
สั่งซื้อที่บริษท
ั ควรจะสั่งซือ
้ เทาไร
คําตอบ 1 : 350
คําตอบ 2 : 325
คําตอบ 3 : 300
คําตอบ 4 : 250

ขอที่ : 281
บริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งเปนผูผลิตเครื่องซักผา ผลิตเครื่องซักผาไดวันละ 50 เครื่อง บริษัทแหงนี้ซื้อ
มอเตอรไฟฟาเพื่อใชติดตั้งในเครืองศักผามีชวงเวลาที่รอสินคาของการสั่งซื้อปกติ 6 วัน หากพบวา
จุดสั่งซื้อที่บริษัทควรจะสัง่ ซื้อเทากับ 300 ขอใดตีความหมายของจุดสั่งซื้อไดอยางถูกตองมากที่สุด
บริษัทตองสั่งซื้อมอเตอรไฟฟา เมื่อพบวามีเครื่องซักผาคงเหลือในคลังสินคา 300
คําตอบ 1 :
หนวย สําหรับการผลิตเครื่องซักผาอีก 6 วัน เพื่อไมใหสินคาขาดมือ

Page 214 of 262


บริษัทตองสั่งซื้อมอเตอรไฟฟา เมื่อพบวามีมอเตอรไฟฟาคงเหลือในคลังสินคา 300
คําตอบ 2 :
หนวย สําหรับการผลิตเครื่องซักผาอีก 6 วัน เพื่อไมใหสินคาขาดมือ
บริษัทตองสั่งซื้อมอเตอรไฟฟา เมื่อพบวามีมอเตอรไฟฟาคงเหลือในคลังสินคา 50
คําตอบ 3 :
หนวย สําหรับการผลิตเครื่องซักผาอีก 6 วัน เพื่อไมใหสินคาขาดมือ
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 282
ขอใดกลาวถึงตนทุนในการรักษาสินคาคงคลังที่ถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : คาสินคาเสียหาย
การเก็บสินคาเเละดําเนินงาน รวมทั้งการเก็บบันทึกบัญชี การตรวจนับสินคาและปองกัน
คําตอบ 2 :
สินคา
คําตอบ 3 : คาภาษี คาประกันภัย และคาเสื่อมราคา
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2, และ 3 ถูก

ขอที่ : 283
กําหนดให

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 1,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 7 Days

Page 215 of 262


H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =
$2.5

หมายเหตุ

ตนทุนรายปรวม = ตนทุนการซื้อวัสดุรายป + ตนทุนการสั่งซื้อรายป + ตนทุนการจัดเก็บราย


ป

TC = DC + (D/Q)S + (Q/2)H จากขอมูลขางตน จงหาคาของ EOQ


คําตอบ 1 : EOQ = 289.44
คําตอบ 2 : EOQ = 189.44
คําตอบ 3 : EOQ = 89.44
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 284
กําหนดให

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 1,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 7 Days

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =

Page 216 of 262


$2.5

จากขอมูลขางตน จงหาคาของ Reorder Point (ROP) หากกําหนดใหมี 365 วันใน 1 ป


คําตอบ 1 : ROP = 19.18
คําตอบ 2 : ROP = 20.18
คําตอบ 3 : ROP = 21.18
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 285
กําหนดให

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 1,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 7 Days

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =


$2.5

จากขอมูลขางตน จงหาคาความตองการเฉลี่ยตอวัน หากกําหนดใหมี 365 วันใน 1 ป


คําตอบ 1 : 1.74
คําตอบ 2 : 3.74
คําตอบ 3 : 2.74

Page 217 of 262


คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 286
กําหนดให

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 10,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 10 Days

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =


10% of Cost per Unit

หมายเหตุ

ตนทุนรายปรวม = ตนทุนการซื้อวัสดุรายป + ตนทุนการสั่งซื้อรายป + ตนทุนการจัดเก็บราย


ป

TC = DC + (D/Q)S + (Q/2)H

จากขอมูลขางตน จงหาคาของ EOQ


คําตอบ 1 : EOQ = 363.15
คําตอบ 2 : EOQ = 364.15
คําตอบ 3 : EOQ = 365.15

Page 218 of 262


คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 287
กําหนดให

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 10,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 10 Days

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =


10% of Cost per Unit

จากขอมูลขางตน จงหาคาของ Reorder Point (ROP) หากกําหนดใหมี 365 วันใน 1 ป


คําตอบ 1 : ROP = 274
คําตอบ 2 : ROP = 276
คําตอบ 3 : ROP = 278
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 288
กําหนดให

Page 219 of 262


D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 10,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 10 Days

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =


10% of Cost per Unit

จากขอมูลขางตน จงหาคาของความตองการเฉลี่ยตอวัน หากกําหนดใหมี 365 วันใน 1 ป


คําตอบ 1 : 23.4
คําตอบ 2 : 25.4
คําตอบ 3 : 27.4
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 289
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติของการวิเคราะหหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ Assumptions) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ความตองการวัสดุทราบคาแนนอน และคงที่ (Known and Constant Demand)
เวลานําหรือเวลาในการสงมอบทราบคาแนนอน และคงที่ (Known and Constant
คําตอบ 2 :
Lead Time)
คําตอบ 3 : การสงมอบวัสดุไดทันทีทันใด (Instantaneous Receipt of Material)
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

Page 220 of 262


ขอที่ : 290
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติของการวิเคราะหหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ Assumptions) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ความตองการวัสดุไมสามารถทราบคาแนนอน
คําตอบ 2 : เวลานําหรือเวลาในการสงมอบทราบคาไมแนนอน
คําตอบ 3 : การสงมอบวัสดุไดภายในระยะเวลา 2 สัปดาห
ไมมีการลดราคาตอหนวยของอันเกิดขึ้นจากปริมาณการสั่งซื้อที่มากขึ้น (No Quantity
คําตอบ 4 :
Discounts)

ขอที่ : 291
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติของการวิเคราะหหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ Assumptions) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ความตองการวัสดุไมสามารถทราบคาแนนอน
คําตอบ 2 : เวลานําหรือเวลาในการสงมอบทราบไมคาแนนอน
คําตอบ 3 : การสงมอบวัสดุไดภายในระยะเวลา 2 สัปดาห
คําตอบ 4 : ตนทุนการสั่งซื้อมีคาคงที่

ขอที่ : 292
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติของการวิเคราะหหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ Assumptions) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ความตองการวัสดุไมสามารถทราบคาแนนอน
คําตอบ 2 : เวลานําหรือเวลาในการสงมอบทราบคาแนนอน และคงที่
คําตอบ 3 : การสงมอบวัสดุไดภายในระยะเวลา 2 สัปดาห
คําตอบ 4 : ตนทุนการสั่งซื้อมีคาไมคงที่

Page 221 of 262


ขอที่ : 293
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติของการวิเคราะหหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ Assumptions) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ความตองการวัสดุไมสามารถทราบคาแนนอน
คําตอบ 2 : เวลานําหรือเวลาในการสงมอบไมทราบคาแนนอน
คําตอบ 3 : การสงมอบวัสดุไดภายในระยะเวลา 2 สัปดาห
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 294
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติของการวิเคราะหหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ Assumptions) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ใหมีการขาดสตอคของวัสดุเกิดขึ้นได
คําตอบ 2 : ตนทุนการเก็บรักษาแปรผันตามปริมาณวัสดุคงคลังยกกําลังสอง
คําตอบ 3 : ตนทุนการสั่งซื้อมีคาไมคงที่
คําตอบ 4 : ความตองการผลิตภัณฑมีความสมบูรณ ไมมีการสงคืนกลับ

ขอที่ : 295
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติของการวิเคราะหหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ Assumptions) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ไมมีการขาดสตอคของวัสดุเกิดขึ้นได
คําตอบ 2 : ตนทุนการเก็บรักษาแปรผันตามปริมาณวัสดุคงคลังยกกําลังสอง
คําตอบ 3 : ตนทุนการสั่งซื้อมีคาไมคงที่
คําตอบ 4 : หากผลิตภัณฑไมสมบูรณ และใหมีการสงคืนกลับได

Page 222 of 262


ขอที่ : 296
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติของการวิเคราะหหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ Assumptions) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ไมมีการขาดสตอคของวัสดุเกิดขึ้น
คําตอบ 2 : ตนทุนการเก็บรักษาแปรผันตามปริมาณวัสดุคงคลังเฉลี่ย
คําตอบ 3 : ตนทุนการสั่งซื้อมีคาคงที่
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 297
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติของการวิเคราะหหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ Assumptions) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ไมมีการขาดสตอคของวัสดุเกิดขึ้น
คําตอบ 2 : ตนทุนการเก็บรักษาแปรผันตามปริมาณวัสดุคงคลังเฉลี่ย
คําตอบ 3 : ความตองการผลิตภัณฑมีความสมบูรณ ไมมีการสงคืนกลับ
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 298
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติของการวิเคราะหหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ Assumptions) ได
อยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ไมมีการขาดสตอคของวัสดุเกิดขึ้น
คําตอบ 2 : การสงมอบวัสดุไดทันทีทันใด
คําตอบ 3 : ตนทุนการสั่งซื้อมีคาคงที่
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

Page 223 of 262


ขอที่ : 299
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติที่เกี่ยวพันกับการคํานวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ
Assumptions) มากที่สุด
คําตอบ 1 : มีการพิจารณาเพียงตนทุนการสั่งซื้อ และตนทุนการเก็บรักษา
คําตอบ 2 : ไมมีการขาดสตอคของวัสดุเกิดขึ้น
คําตอบ 3 : ความตองการผลิตภัณฑมีความสมบูรณ ไมมีการสงคืนกลับ
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 300
ขอใดตอไปนี้คือ ขอสมมติที่เกี่ยวพันกับการคํานวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ
Assumptions) มากที่สุด
คําตอบ 1 : ไมมีการขาดสตอคของวัสดุเกิดขึ้น
คําตอบ 2 : ตนทุนการเก็บรักษาแปรผันตามปริมาณวัสดุคงคลังเฉลี่ย
คําตอบ 3 : ความตองการผลิตภัณฑมีความสมบูรณ ไมมีการสงคืนกลับ
คําตอบ 4 : เวลานําหรือเวลาในการสงมอบทราบคาแนนอน และคงที่ เวลา

ขอที่ : 301
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ การวิเคราะหความสําคัญ เอบีซี
เปนการจัดการวัสดุคงคลังดวยการแบงออกเปน 3 ประเภท คือ เอ (A Class), ชนิด บี
คําตอบ 1 :
(B Class), ชนิด ซี (C Class)
คําตอบ 2 : เปนการคํานวณบนพื้นฐานของปริมาณเงินรวมรายป
คําตอบ 3 : ใหความสําคัญกับผูสงมอบวัสดุชนิดเอ มากกวาชนิดอื่นๆ
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

Page 224 of 262


ขอที่ : 302
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ การวิเคราะหความสําคัญ เอบีซี
เปนการจัดการการพยากรณความตองการวัตถุดิบดวยการแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
คําตอบ 1 :
เอ (A Class), ชนิด บี (B Class)
คําตอบ 2 : เปนการคํานวณความสําคัญของวัสดุคงคลังบนพื้นฐานของปริมาณเงินรวมรายป
คําตอบ 3 : ใหความสําคัญกับผูสงมอบวัสดุชนิดซี มากกวาชนิดอื่นๆ
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 303
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ การวิเคราะหความสําคัญ เอบีซี
เปนการจัดการวัสดุคงคลังดวยการแบงออกเปน 3 ประเภท คือ เอ (A Class), ชนิด บี
คําตอบ 1 :
(B Class), ชนิด ซี (C Class)
เปนการคํานวณความสําคัญของความตองการวัสดุคงคลังบนพื้นฐานของปริมาณการ
คําตอบ 2 :
ขายรวมรายป
คําตอบ 3 : ใหความสําคัญกับผูสงมอบวัสดุชนิดซี มากกวาชนิดอื่นๆ
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 304
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ การวิเคราะหความสําคัญ เอบีซี
เปนการจัดการความตองการวัสดุคงคลังดวยการแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ชนิดเอ (A
คําตอบ 1 :
Class) ชนิด บี (B Class)
เปนการคํานวณความสําคัญของความตองการวัสดุคงคลังบนพื้นฐานของปริมาณการ
คําตอบ 2 :
ขายรวมรายป
คําตอบ 3 : ใหความสําคัญกับผูสงมอบวัสดุชนิดซี มากกวาชนิดอื่นๆ

Page 225 of 262


คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 305
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ การวิเคราะหความสําคัญ เอบีซี
เปนการจัดการความตองการสินคาดวยการแบงออกเปน 3 ประเภท คือ เอ (A Class),
คําตอบ 1 :
ชนิด บี (B Class), ชนิด ซี (C Class)
เปนการคํานวณความสําคัญของความตองการวัสดุคงคลังบนพื้นฐานของปริมาณการ
คําตอบ 2 :
ขายรวมรายป
คําตอบ 3 : ใหความสําคัญกับผูสงมอบวัสดุชนิดเอ มากกวาชนิดอื่นๆ
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 306
กําหนดให

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 5,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 10 Days

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =


10% of Cost per Unit

Page 226 of 262


หมายเหตุ

ตนทุนรายปรวม = ตนทุนการซื้อวัสดุรายป + ตนทุนการสั่งซื้อรายป + ตนทุนการจัดเก็บราย


ป

TC = DC + (D/Q)S + (Q/2)H จากขอมูลขางตน จงหาคาของ EOQ


คําตอบ 1 : EOQ = 258.2
คําตอบ 2 : EOQ = 260.2
คําตอบ 3 : EOQ = 262.2
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 307
กําหนดให

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 5,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 10 Days

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =


10% of Cost per Unit

จากขอมูลขางตน จงหาคาของความตองการเฉลี่ยตอวัน หากกําหนดใหมี 365 วันใน 1 ป

Page 227 of 262


คําตอบ 1 : 9.69
คําตอบ 2 : 11.69
คําตอบ 3 : 13.69
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 308
กําหนดให

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 5,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 10 Days

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =


10% of Cost per Unit

จากขอมูลขางตน จงหาคาของ Reorder Point (ROP) หากกําหนดใหมี 365 วันใน 1 ป


คําตอบ 1 : ROP = 137
คําตอบ 2 : ROP = 141
คําตอบ 3 : ROP = 145
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

Page 228 of 262


ขอที่ : 309
กําหนดให

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 5,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 10 Days

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =


10% of Cost per Unit

หมายเหตุ

ตนทุนรายปรวม = ตนทุนการซื้อวัสดุรายป + ตนทุนการสั่งซื้อรายป + ตนทุนการจัดเก็บราย


ป

TC = DC + (D/Q)S + (Q/2)H จากขอมูลขางตน ความหมายของการจัดการวัสดุคงคลังใดถูกตอง


ที่สุด
ตองทําการสั่งซื้อจํานวน 259 ชิ้น และเมื่อวัสดุคงคลังเหลืออยูเปนจํานวน 137 ชิ้นให
คําตอบ 1 :
เริ่มสั่งซื้อใหม
ตองทําการสั่งซื้อจํานวน 137 ชิ้น และเมื่อวัสดุคงคลังเหลืออยูเปนจํานวน 259 ชิ้นให
คําตอบ 2 :
เริ่มสั่งซื้อใหม
ตองทําการสั่งซื้อจํานวน 13.69 ชิ้นและเมื่อวัสดุคงคลังเหลืออยูเปนจํานวน 137 ชิ้นให
คําตอบ 3 :
เริ่มสั่งซื้อใหม

Page 229 of 262


คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 310
กําหนดให

D = ปริมาณความตองการรายป (Demand) = 15,000 Units

C = ตนทุนตอหนวย (Cost per Unit) = $15

Q = ปริมาณการสั่งซื้อ (Order Quantity)

S = ตนทุนการสั่งซื้อ (Cost of Placing an Order or Setup Cost) = $10

L = เวลานํา (Lead Time) = 10 Days

H = ตนทุนการจัดเก็บรายป (Annual Holding and Storage Cost per Unit of Inventory) =


10% of Cost per Unit

จากขอมูลขางตน จงหาคาของความตองการเฉลี่ยตอวัน หากกําหนดใหมี 366 วันใน 1 ป


คําตอบ 1 : 36.98
คําตอบ 2 : 38.98
คําตอบ 3 : 40.98
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 311
ขอใดไมถูกตองสําหรับการจําลอง (Simulation)
คําตอบ 1 : เราสามารถผลิตคาของตัวแปรสุมของการแจกแจงทุกแบบ ไดจากการแจกแจงแบบเอก

Page 230 of 262


รูป (Uniform Distribution)
คําตอบ 2 : ขอดีการจําลองโดยวิธี Convolution คือการใชตัวเลขสุมนอยกวาแบบอื่น
เราสามารถใชเทคนิคของ การจําลองเหตุการณเชิงวิยุต (Discrete Event Simulation)
คําตอบ 3 : มาใชแมในสถานการณที่มีตัวแปรสุมเปนเชิงตอเนื่อง (Continuous Random
Variable)
ตัวเลขสุม (Random Numbers) ที่เราใชในการจําลอง มีการแจกแจงแบบเอกรูป
คําตอบ 4 :
(Uniform Distribution)

ขอที่ : 312
ถาตองการศึกษาพฤติกรรมของธนาคารในสวนของงานบริการ ฝาก-ถอนดวยการจําลองสถานการณ
ดวยคอมพิวเตอร (Computer Simulation) จงตรวจสอบวา Entity ของระบบการจําลองสถานการณ
ควรเปนตัวแทนของสิ่งใดในปญหาขางตน
คําตอบ 1 : พนักงานรับฝาก-ถอน
คําตอบ 2 : แถวคอย
คําตอบ 3 : ลูกคาที่เขามารับบริการ
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 313
ขอใดเปนคุณสมบัติที่สําคัญของตัวเลขสุมที่ใชในการศึกษาการจําลองสถานการณ (Simulation)
คําตอบ 1 : มีการแจกแจงแบบเอกรูป (Uniform Distribution)
คําตอบ 2 : มีความสัมพันธซึ่งกันและกัน (Dependence)
คําตอบ 3 : มีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution)
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 314

Page 231 of 262


ถาตองการศึกษาพฤติกรรมของธนาคารในสวนของงานบริการ ฝาก-ถอนดวยการจําลองสถานการณ
ดวยคอมพิวเตอร (Computer Simulation) จงตรวจสอบวา State Variable ของระบบการจําลอง
สถานการณควรเปนตัวแทนของสิ่งใดในปญหาขางตน
คําตอบ 1 : การรับฝาก-ถอน
คําตอบ 2 : สมุดเช็ค สมุดบัญชี หรือ เงินสด
คําตอบ 3 : จํานวนลูกคาเฉลี่ยในระบบธนาคาร
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 315
ในการจําลองสถานการณดวยคอมพิวเตอร หากการสรางตัวแปรสุมทางสถิติ (X) ที่มีการแจกแจงแบบ
เอกรูป (Uniform Distribution) ในชวงระหวาง 9.5-10.5 ควรมีฟงกชั่นความสัมพันธระหวาง X และ
ตัวแปรสุม (R) อยางไร
คําตอบ 1 : X = R+0.5
คําตอบ 2 : X = R+9.5
คําตอบ 3 : R = X+9.5
คําตอบ 4 : R = 9.5-X

ขอที่ : 316
ถาตองการศึกษาพฤติกรรมของธนาคารในสวนของงานบริการ ฝาก-ถอนดวยการจําลองสถานการณ
ดวยคอมพิวเตอร (Computer Simulation) จงตรวจสอบวา Attribute ของระบบการจําลอง
สถานการณควรเปนตัวแทนของสิ่งใดในปญหาขางตน
คําตอบ 1 : การรับฝาก-ถอน
คําตอบ 2 : สมุดเช็ค หรือสมุดบัญชี
คําตอบ 3 : จํานวนลูกคาเฉลี่ยในระบบธนาคาร
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

Page 232 of 262


ขอที่ : 317
ในการจําลองสถานการณดวยคอมพิวเตอร หากการสรางตัวแปรสุมทางสถิติ (X) ที่มีการแจกแจงแบบ
เอกรูป (Uniform Distribution) ในชวงระหวาง 8.5-10.5 ควรมีฟงกชั่นความสัมพันธระหวาง X และ
ตัวแปรสุม (R) อยางไร
คําตอบ 1 : X = 2R+0.5
คําตอบ 2 : X=R+9.5
คําตอบ 3 : X=2R+8.5
คําตอบ 4 : R=9.5-2X

ขอที่ : 318
ถาตองการศึกษาพฤติกรรมของระบบฝาก-ถอนอัตโนมัติ (ATM) จงตรวจสอบวา State Variable ของ
ระบบการจําลองสถานการณควรเปนตัวแทนของสิ่งใดในปญหาขางตน
คําตอบ 1 : การรับฝาก-ถอน
คําตอบ 2 : บัตรเอทีเอ็ม
คําตอบ 3 : เวลารอคอยเฉลี่ยในแถวคอย
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 319
ถาตองการศึกษาพฤติกรรมของระบบฝาก-ถอนอัตโนมัติ (ATM) จงตรวจสอบวา State Variable ของ
ระบบการจําลองสถานการณควรเปนตัวแทนของสิ่งใดในปญหาขางตน
คําตอบ 1 : การรับฝาก-ถอน
คําตอบ 2 : เวลารอคอยเฉลี่ยในระบบธนาคารของลูกคา
คําตอบ 3 : บัตรเอทีเอ็ม
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

Page 233 of 262


ขอที่ : 320
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
379 424 0.40 0.60 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i มีคาตัวเลขสุมคือ 0.02 สําหรับเวลาที่ถูกใชไปใน
การรับบริการ สามารถสรุปเวลาในการรับบริการของลูกคาคนนี้อยางไร
คําตอบ 1 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 3 นาที
คําตอบ 2 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 7 นาที
คําตอบ 3 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 9 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 321
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
379 424 0.40 0.60 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i มีคาตัวเลขสุมคือ 0.82 สําหรับเวลาที่ถูกใชไปใน
การรับบริการ สามารถสรุปเวลาในการรับบริการของลูกคาคนนี้อยางไร
คําตอบ 1 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 3 นาที
คําตอบ 2 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 7 นาที
คําตอบ 3 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 9 นาที

Page 234 of 262


คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 322
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
379 424 0.40 0.60 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i มีคาตัวเลขสุมคือ 0.662 สําหรับเวลาที่ถูกใชไป
ในการรับบริการ สามารถสรุปเวลาในการรับบริการของลูกคาคนนี้อยางไร
คําตอบ 1 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 3 นาที
คําตอบ 2 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 7 นาที
คําตอบ 3 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 9 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 323
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
123 226 0.20 0.40 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i มีคาตัวเลขสุมคือ 0.02 สําหรับเวลาที่ถูกใชไปใน
การรับบริการ สามารถสรุปเวลาในการรับบริการของลูกคาคนนี้อยางไร
คําตอบ 1 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 1 นาที

Page 235 of 262


คําตอบ 2 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 2 นาที
คําตอบ 3 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 3 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 324
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
123 226 0.20 0.40 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i มีคาตัวเลขสุมคือ 0.322 สําหรับเวลาที่ถูกใชไป
ในการรับบริการ สามารถสรุปเวลาในการรับบริการของลูกคาคนนี้อยางไร
คําตอบ 1 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 1 นาที
คําตอบ 2 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 2 นาที
คําตอบ 3 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 3 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 325

Page 236 of 262


หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
123 226 0.20 0.40 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i มีคาตัวเลขสุมคือ 0.602 สําหรับเวลาที่ถูกใชไป
ในการรับบริการ สามารถสรุปเวลาในการรับบริการของลูกคาคนนี้อยางไร
คําตอบ 1 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 1 นาที
คําตอบ 2 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 2 นาที
คําตอบ 3 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 3 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 326
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
123 226 0.20 0.40 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i อยูในระบบ ณ เวลาเทากับ 0 หากลูกคาคนที่ i+1
เขามาในระบบเปนคนตอไป และมีคาตัวเลขสุมคือ 0.602 สามารถสรุประยะหางของเวลาในการเขา
ระบบแถวคอยของลูกคาคนที่ i+1 อยางไร
คําตอบ 1 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 1 นาที
คําตอบ 2 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 2 นาที
คําตอบ 3 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 3 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

Page 237 of 262


ขอที่ : 327
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
123 226 0.20 0.40 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i อยูในระบบ ณ เวลาเทากับ 0 หากลูกคาคนที่ i+1
เขามาในระบบเปนคนตอไป และมีคาตัวเลขสุมคือ 0.452 สามารถสรุประยะหางของเวลาในการเขา
ระบบแถวคอยของลูกคาคนที่ i+1 อยางไร
คําตอบ 1 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 1 นาที
คําตอบ 2 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 2 นาที
คําตอบ 3 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 3 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 328
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
123 235 0.20 0.50 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i อยูในระบบ ณ เวลาเทากับ 0 หากลูกคาคนที่ i+1
เขามาในระบบเปนคนตอไป และมีคาตัวเลขสุมคือ 0.02 สามารถสรุประยะหางของเวลาในการเขา
ระบบแถวคอยของลูกคาคนที่ i+1 อยางไร
คําตอบ 1 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 1 นาที

Page 238 of 262


คําตอบ 2 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 2 นาที
คําตอบ 3 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 3 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 329
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
379 424 0.40 0.60 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i อยูในระบบ ณ เวลาเทากับ 0 หากลูกคาคนที่ i+1
เขามาในระบบเปนคนตอไป และมีคาตัวเลขสุมคือ 0.602 สามารถสรุประยะหางของเวลาในการเขา
ระบบแถวคอยของลูกคาคนที่ i+1 อยางไร
คําตอบ 1 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 3 นาที
คําตอบ 2 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 7 นาที
คําตอบ 3 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 9 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 330
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
379 424 0.40 0.60 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน

Page 239 of 262


แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i อยูในระบบ ณ เวลาเทากับ 0 หากลูกคาคนที่ i+1
เขามาในระบบเปนคนตอไป และมีคาตัวเลขสุมคือ 0.252 สามารถสรุประยะหางของเวลาในการเขา
ระบบแถวคอยของลูกคาคนที่ i+1 อยางไร
คําตอบ 1 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 3 นาที
คําตอบ 2 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 7 นาที
คําตอบ 3 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 9 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 331
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น ความนาจะเปนสะสม
379 424 0.40 0.60 1.00
หากทําการใชขอมูลขางตนในการวิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรับใน
แตละครั้ง ถาจากการดําเนินการพบวา ลูกคาคนที่ i อยูในระบบ ณ เวลาเทากับ 0 หากลูกคาคนที่ i+1
เขามาในระบบเปนคนตอไป และมีคาตัวเลขสุมคือ 0.82 สามารถสรุประยะหางของเวลาในการเขา
ระบบแถวคอยของลูกคาคนที่ i+1 อยางไร
คําตอบ 1 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 3 นาที
คําตอบ 2 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 7 นาที
คําตอบ 3 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 9 นาที
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 332
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานพบวา ระยะหางของรถยนตืแตละคัน มีลักษณะการกระจายแบบดีสครีตยูนิ

Page 240 of 262


ฟอรม ในชวง 5 ถึง 6 วินาที และเวลาในการใหบริการรับ-ทอนเงินรวมถึงใบเสร็จที่ชองบริการ มี
ลักษณะการกระจายแบบดีสครีตยูนิฟอรม ในชวง 10 ถึง 11 วินาที หากทําการใชขอมูลขางตนในการ
วิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรบ
ั ในแตละครั้ง ถาจากการดําเนินการ
พบวา ลูกคาคนที่ i อยูในระบบ ณ เวลาเทากับ 0 หากลูกคาคนที่ i+1 เขามาในระบบเปนคนตอไป
และมีคาตัวเลขสุมคือ 0.82 สามารถสรุประยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยของลูกคาคนที่
i+1 อยางไร
คําตอบ 1 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 5 วินาที
คําตอบ 2 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 6 วินาที
คําตอบ 3 : ขอมูลไมเพียงพอ
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 333
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานพบวา ระยะหางของรถยนตืแตละคัน มีลักษณะการกระจายแบบดีสครีตยูนิ
ฟอรม ในชวง 5 ถึง 6 วินาที และเวลาในการใหบริการรับ-ทอนเงินรวมถึงใบเสร็จที่ชองบริการ มี
ลักษณะการกระจายแบบดีสครีตยูนิฟอรม ในชวง 10 ถึง 11 วินาที หากทําการใชขอมูลขางตนในการ
วิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรบ
ั ในแตละครั้ง ถาจากการดําเนินการ
พบวา ลูกคาคนที่ i อยูในระบบ ณ เวลาเทากับ 0 หากลูกคาคนที่ i+1 เขามาในระบบเปนคนตอไป
และมีคาตัวเลขสุมคือ 0.02 สามารถสรุประยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยของลูกคาคนที่
i+1 อยางไร
คําตอบ 1 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 5 วินาที
คําตอบ 2 : ระยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยเทากับ 6 วินาที
คําตอบ 3 : ขอมูลไมเพียงพอ
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 334

Page 241 of 262


หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานพบวา ระยะหางของรถยนตืแตละคัน มีลักษณะการกระจายแบบดีสครีตยูนิ
ฟอรม ในชวง 5 ถึง 6 วินาที และเวลาในการใหบริการรับ-ทอนเงินรวมถึงใบเสร็จที่ชองบริการ มี
ลักษณะการกระจายแบบดีสครีตยูนิฟอรม ในชวง 5 ถึง 6 วินาที หากทําการใชขอมูลขางตนในการ
วิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรบ
ั ในแตละครั้ง ถาจากการดําเนินการ
พบวา ลูกคาคนที่ i อยูในระบบ ณ เวลาเทากับ 0 หากลูกคาคนที่ i+1 เขามาในระบบเปนคนตอไป
และมีคาตัวเลขสุมคือ 0.602 สามารถสรุประยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยของลูกคาคนที่
i+1 อยางไร
คําตอบ 1 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 5 วินาที
คําตอบ 2 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 6 วินาที
คําตอบ 3 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 10 วินาที
คําตอบ 4 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 11 วินาที

ขอที่ : 335
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานพบวา ระยะหางของรถยนตืแตละคัน มีลักษณะการกระจายแบบดีสครีตยูนิ
ฟอรม ในชวง 5 ถึง 6 วินาที และเวลาในการใหบริการรับ-ทอนเงินรวมถึงใบเสร็จที่ชองบริการ มี
ลักษณะการกระจายแบบดีสครีตยูนิฟอรม ในชวง 5 ถึง 6 วินาที หากทําการใชขอมูลขางตนในการ
วิเคราะหระบบแถวคอย โดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขสุมที่ไดรบ
ั ในแตละครั้ง ถาจากการดําเนินการ
พบวา ลูกคาคนที่ i อยูในระบบ ณ เวลาเทากับ 0 หากลูกคาคนที่ i+1 เขามาในระบบเปนคนตอไป
และมีคาตัวเลขสุมคือ 0.402 สามารถสรุประยะหางของเวลาในการเขาระบบแถวคอยของลูกคาคนที่
i+1 อยางไร
คําตอบ 1 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 5 วินาที
คําตอบ 2 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 6 วินาที
คําตอบ 3 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 10 วินาที
คําตอบ 4 : ใชเวลาในการรับบริการเปนเวลา 11 วินาที

Page 242 of 262


ขอที่ : 336
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
379 424
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 3 นาที
คําตอบ 1 : [0,0.3)
คําตอบ 2 : [0,0.4)
คําตอบ 3 : [0,0.5)
คําตอบ 4 : [0,0.6)

ขอที่ : 337
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
379 424
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 7 นาที
คําตอบ 1 : [0.4, 0.3)
คําตอบ 2 : [0.4, 0.5)
คําตอบ 3 : [0.4, 0.6)
คําตอบ 4 : [0.4, 0.9)

Page 243 of 262


ขอที่ : 338
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
379 424
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 9 นาที
คําตอบ 1 : [0.6, 0.3)
คําตอบ 2 : [0, 0.2)
คําตอบ 3 : [0.6, 1.0)
คําตอบ 4 : [0.6, 0.2)

ขอที่ : 339
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
123 226
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 1 นาที
คําตอบ 1 : [0, 0.2)
คําตอบ 2 : [0, 0.3)
คําตอบ 3 : [0, 1.0)
คําตอบ 4 : [0.6, 0.2)

Page 244 of 262


ขอที่ : 340
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
123 226
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 2 นาที
คําตอบ 1 : [0.2, 0.2)
คําตอบ 2 : [0.2, 0.3)
คําตอบ 3 : [0.2, 1.0)
คําตอบ 4 : [0.2, 0.4)

ขอที่ : 341
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
123 226
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 3 นาที
คําตอบ 1 : [0.4, 0.8)
คําตอบ 2 : [0.4, 1.0)
คําตอบ 3 : [0.4, 0.6)
คําตอบ 4 : [0.4, 0.2)

Page 245 of 262


ขอที่ : 342
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
123 0.2 0.4 1.0
จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งที่เกิดขึ้นสําหรับเวลาในการใหบริการเทากับ 1 นาที
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
คําตอบ 4 : 4

ขอที่ : 343
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
123 0.2 0.4 1.0
จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งที่เกิดขึ้นสําหรับเวลาในการใหบริการเทากับ 2 นาที
คําตอบ 1 : 4
คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 1

ขอที่ : 344
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ

Page 246 of 262


ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน ซึ่ง
แสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
123 0.2 0.4 1.0
จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งที่เกิดขึ้นสําหรับเวลาในการใหบริการเทากับ 3 นาที
คําตอบ 1 : 2
คําตอบ 2 : 4
คําตอบ 3 : 6
คําตอบ 4 : 8

ขอที่ : 345
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
379 0.4 0.6 1.0
จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งในการเกิดขึ้นของขอมูล เมื่อระยะหางของเวลาในการเขาระบบ
เทากับ 1 นาที
คําตอบ 1 : 4
คําตอบ 2 : 5
คําตอบ 3 : 6
คําตอบ 4 : 7

ขอที่ : 346
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา

Page 247 of 262


มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
379 0.4 0.6 1.0
จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งในการเกิดขึ้นของขอมูล เมื่อระยะหางของเวลาในการเขาระบบ
เทากับ 7 นาที
คําตอบ 1 : 4
คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 1

ขอที่ : 347
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 10 ครั้ง ไดขอมูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
379 0.4 0.6 1.0
จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งในการเกิดขึ้นของขอมูล เมื่อระยะหางของเวลาในการเขาระบบ
เทากับ 3 นาที
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 348
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 100 ครั้ง ไดขอ  มูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา

Page 248 of 262


มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
379 40 20 40
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 7 นาที
คําตอบ 1 : [0.4, 0.3)
คําตอบ 2 : [0.4, 0.5)
คําตอบ 3 : [0.4, 0.6)
คําตอบ 4 : [0.4, 0.9)

ขอที่ : 349
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 100 ครั้ง ไดขอ  มูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
379 40 20 40
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 9 นาที
คําตอบ 1 : [0.6, 0.3)
คําตอบ 2 : [0, 0.2)
คําตอบ 3 : [0.6, 1.0)
คําตอบ 4 : [0.6, 0.2)

ขอที่ : 350
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 100 ครั้ง ไดขอ  มูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา

Page 249 of 262


มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
123 20 20 60
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 1 นาที
คําตอบ 1 : [0, 0.2)
คําตอบ 2 : [0, 0.3)
คําตอบ 3 : [0, 1.0)
คําตอบ 4 : [0.6, 0.2)

ขอที่ : 351
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 100 ครั้ง ไดขอ  มูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
123 20 20 60
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 2 นาที
คําตอบ 1 : [0.2, 0.2)
คําตอบ 2 : [0.2, 0.3)
คําตอบ 3 : [0.2, 1.0)
คําตอบ 4 : [0.2, 0.4)

ขอที่ : 352
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 100 ครั้ง ไดขอ  มูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา

Page 250 of 262


มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น
123 20 20 60
จากขอมูลขางตน จงหาชวงของตัวเลขสุม (ระหวาง 0 ถึง 1) ที่แสดงถึงระยะหางของเวลาในการเขา
ระบบเทากับ 3 นาที
คําตอบ 1 : [0.4, 0.8)
คําตอบ 2 : [0.4, 1.0)
คําตอบ 3 : [0.4, 0.6)
คําตอบ 4 : [0.4, 0.2)

ขอที่ : 353
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 100 ครั้ง ไดขอ  มูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน
ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
123 0.2 0.4 1.0
จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งที่เกิดขึ้นสําหรับเวลาในการใหบริการเทากับ 1 นาที
คําตอบ 1 : 10
คําตอบ 2 : 20
คําตอบ 3 : 30
คําตอบ 4 : 40

ขอที่ : 354
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 100 ครั้ง ไดขอ  มูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน
ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้

Page 251 of 262


เวลาในการใหบริการ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
123 0.2 0.4 1.0
จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งที่เกิดขึ้นสําหรับเวลาในการใหบริการเทากับ 2 นาที
คําตอบ 1 : 40
คําตอบ 2 : 30
คําตอบ 3 : 20
คําตอบ 4 : 10

ขอที่ : 355
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 100 ครั้ง ไดขอ  มูลของเวลาที่ผูใหบริการใชไปในลูกคาแตละคน
ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
เวลาในการใหบริการ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
123 0.2 0.4 1.0
จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งที่เกิดขึ้นสําหรับเวลาในการใหบริการเทากับ 3 นาที
คําตอบ 1 : 20
คําตอบ 2 : 40
คําตอบ 3 : 60
คําตอบ 4 : 80

ขอที่ : 356
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 100 ครั้ง ไดขอ  มูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
379 0.4 0.6 1.0

Page 252 of 262


จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งในการเกิดขึ้นของขอมูล เมื่อระยะหางของเวลาในการเขาระบบ
เทากับ 3 นาที
คําตอบ 1 : 40
คําตอบ 2 : 50
คําตอบ 3 : 60
คําตอบ 4 : 70

ขอที่ : 357
หากการพิจารณาระบบแถวคอยชนิดหนึ่ง ซึ่งมีผูใหบริการ (Server) เพียงคนเดียว และจากการ
ตรวจสอบสภาพการทํางานจํานวน 100 ครั้ง ไดขอ  มูลของระยะหางของชวงเวลาที่ลูกคาแตละคนเขา
มาในระบบแถวคอย ซึ่งแสดงดังตารางตอไปนี้
ระยะหางของเวลาในการเขาระบบ (นาที) ความนาจะเปนสะสม
379 0.4 0.6 1.0
จากขอมูลขางตน จงหาจํานวนครั้งในการเกิดขึ้นของขอมูล เมื่อระยะหางของเวลาในการเขาระบบ
เทากับ 7 นาที
คําตอบ 1 : 40
คําตอบ 2 : 30
คําตอบ 3 : 20
คําตอบ 4 : 10

ขอที่ : 358
ขอใดตอไปนี้ถูก

(i) การกระจายแบบเอกซโพเนนเชียลเปนการกระจายของตัวแปรแบบตอเนื่อง

Page 253 of 262


(ii) การกระจายแบบปวสซองเปนการกระจายของตัวแปรแบบตอเนื่อง

(iii) การกําหนดการกระจายแบบสามเหลี่ยม สิ่งที่ตองกําหนดคือ พิสัย และ คา Mode


คําตอบ 1 : ขอ (i) และ (iii) ถูก
คําตอบ 2 : ขอ (ii) และ (iii) ถูก
คําตอบ 3 : ขอ (i) เทานั้นที่ถูก
คําตอบ 4 : ขอ (iii) เทานั้นที่ถูก

ขอที่ : 359
ขอใดกลาวเกี่ยวกับแบบจําลองสถานการณ (Simulation) ไมถูกตอง

(i) แบบจําลองสถานการณที่ดีตองมีตัวแปรนอยๆ

(ii) หากจะวิเคราะหผลทางสถิติของแบบจําลองสถานการณแลว ตัวแปรที่ใชควรมีการกระจายแบบ


ปกติ

(iii) แบบจําลองสถานการณเปนเครื่องมือการวิเคราะหที่ประหยัดและเที่ยงตรง
คําตอบ 1 : (i) และ (ii)
คําตอบ 2 : (ii) และ (iii)
คําตอบ 3 : (i) และ (iii)
คําตอบ 4 : ขอ (i), (ii) และ (iii) ผิด

ขอที่ : 360
ขอใดเปนคุณสมบัติที่สําคัญของตัวเลขสุมที่ใชในการศึกษาการจําลองสถานการณ (Simulation)
คําตอบ 1 : มีการแจกแจงแบบเอกรูป (Uniform Distribution)
คําตอบ 2 : ไมมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน (Independence )

Page 254 of 262


คําตอบ 3 : มีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution)
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 361
ถาตองการศึกษาพฤติกรรมของระบบฝาก-ถอนอัตโนมัติ (ATM) จงตรวจสอบวา State Variable ของ
ระบบการจําลองสถานการณควรเปนตัวแทนของสิ่งใดในปญหาขางตน
คําตอบ 1 : การรับฝาก-ถอน
คําตอบ 2 : จํานวนลูกคาเฉลี่ยในแถวคอย
คําตอบ 3 : บัตรเอทีเอ็ม
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 362
จงพิจารณาวา Payoff Matrix ของผูเลน A ดังแสดงในรูปมีคา Expected Payoff to A เทากับเทาใด
หากกําหนดให Pure Strategy to B ในทางเลือกที่ 1 อยางไร ถากําหนดใหผูเลน A เลือกเลนดวยคา
Probability เปน xi และผูเลน B เลือกเลนดวยคา Probability เปน yj
A B
1 2 3 4
1 2 2 3 -1
2 4 3 2 6
คําตอบ 1 : 2 + x1
คําตอบ 2 : 1 – 3x1
คําตอบ 3 : 4 – 2x1
คําตอบ 4 : 2 – 2x1

ขอที่ : 363

Page 255 of 262


ขอใดถูกตองที่สุดสําหรับทฤษฎีเกมส (Game Theory)
เราจะพบจุดอานมา (Saddle Point)ไดในเฉพาะในเกมสที่มีคําตอบที่ดีที่สุด เปน Pure
คําตอบ 1 :
Strategy เทานั้น
เกมสที่คาของเกมส (Value of the Game) ไมเปนคาเดี่ยว เปนเกมสที่ไมสามารถหา
คําตอบ 2 :
Pure Strategy ได
ทฤษฎีเกมสสามารถชวยใหเราหา Strategy ที่ดีที่สุดสําหรับเกมสที่มี ผูเลนมากกวา
คําตอบ 3 :
สองฝายได
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 364
ขอใดไมใชคุณสมบัติของเกมระหวางสองฝายที่มีผลรวมเทากับศูนย
ถาผูเลน A ตองการไดผลประโยชนสูงสุดแลว ผูเลน B จะตองการใหมีการสูญเสียที่ต่ํา
คําตอบ 1 :
ที่สุด
คําตอบ 2 : ผูเลน A และผูเลน B ตางใชกลยุทธเขาแขงขันกันดวยจํานวนที่เทากัน
คําตอบ 3 : ผลลัพธคําตอบที่ดีที่สุดสามารถคํานวณไดโดยใชวิธีกราฟ
คําตอบ 4 : คา Maximin = Minimax

ขอที่ : 365
จงพิจารณาขอความตอไปนี้ 1) คา Maximin คือ เกณฑการตัดสินใจของผูเลนที่จะไดรับประโยชน 2)
คา Minimax คือ เกณฑการตัดสินใจของผูเลนที่จะเสียผลประโยชน 3) คา Maximin <= คาของเกม
<= คา Minimax 4) ถา Maximin = Minimax แลว จะไดวาคาของเกมก็คือคา Maximin หรือ
Minimax ดวย
คําตอบ 1 : ขอ 1), 2) และ 3) ผิด
คําตอบ 2 : ถูกหนึ่งขอ
คําตอบ 3 : ถูกสองขอ

Page 256 of 262


คําตอบ 4 : ขอ 1), 2) และ 3) ถูก

ขอที่ : 366
ถาเกมการแขงขันมีผูเขารวมแขงขันจํานวน 2 คน โดยมีตารางผลตอบแทนดังนี้ จงคํานวณหาคา
ผลไดที่ต่ําที่สุด (Minimum Gain) ของผูเลน A ในแผนการ 1, 2 และ 3
ผูแขงขัน A ผูแขงขัน B
แผนการ 1 แผนการ 2 แผนการ 3 แผนการ 4
แผนการ 1 8 2 9 5
แผนการ 2 6 5 7 18
แผนการ 3 7 3 -4 10
คําตอบ 1 : 2, 5 และ 4
คําตอบ 2 : -2, 5 และ 4
คําตอบ 3 : 2, -5 และ 4
คําตอบ 4 : 2, 5 และ -4

ขอที่ : 367
ถาเกมการแขงขันมีผูเขารวมแขงขันจํานวน 2 คน โดยมีตารางผลตอบแทนดังนี้ จงคํานวณหาคําตอบ
ที่เหมาะสมที่สุด (Optimal Solution) ของเกมดังกลาว
ผูแขงขัน A ผูแขงขัน B
แผนการ 1 แผนการ 2 แผนการ 3 แผนการ 4
แผนการ 1 8 2 9 5
แผนการ 2 6 5 7 18
แผนการ 3 7 3 -4 10
คําตอบ 1 : 5
คําตอบ 2 : -2
คําตอบ 3 : 4

Page 257 of 262


คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 368
ถากําหนดใหผูเลน A เลือกเลนทางเลือก i ดวยคาความนาจะเปน (Probability) เปน xi (Maximin)
และ B เลือกเลนทางเลือก j ดวยคาความนาจะเปน (Probability) เปน yj และเกมดังกลาวสามารถ
แสดงคาคาดหวังของผลลัพธของผูเลน A (Expected Gain to A) ไดดังตารางตอไปนี้ จงหาคาความ
นาจะเปนที่เกิดขึ้นสําหรับผูเลน A ที่จะเลือกเลนทางเลือกที่ 1 (x1)
Pure Strategy to B Expected Gain to A
1 4 - 2x1
2 3 - x1
3 2 + x1
4 6 – 7x1
คําตอบ 1 : 1/5
คําตอบ 2 : 1/3
คําตอบ 3 : 5/2
คําตอบ 4 : 1/2

ขอที่ : 369
ถาพบวาในการพิจารณาหาคําตอบของเกม (Value of Game)และพบวานี้มีเกมนี้มี Saddle Point
และมี Solution เปน Pure Strategy ขออางดังกลาวแสดงความหมายอยางไร หากกําหนดให ผูเลน
A: เลือก Maximize Minimum Gain คูตอสู B: เลือก Minimize Maximum Loss
คําตอบ 1 : Maximin Gain > Value of Game > Minimax Loss
คําตอบ 2 : Maximin Gain < Value of Game < Minimax Loss
คําตอบ 3 : Value of Game = Maximin Gain = Minimax Loss
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก

Page 258 of 262


ขอที่ : 370
ถาพบวาในการพิจารณาหาคําตอบของเกม (Value of Game) และพบวานี้มีเกมนี้ไมปรากฎ Saddle
Point (Mixed Strategy) ขออางดังกลาวแสดงความหมายอยางไร หากกําหนดให ผูเลน A: เลือก
Maximize Minimum Gain คูตอสู B: เลือก Minimize Maximum Loss
คําตอบ 1 : Maximin Gain > Value of Game > Minimax Loss
คําตอบ 2 : Value of Game < Maximin Gain < Minimax Loss
คําตอบ 3 : Value of Game = Maximin Gain = Minimax Loss
คําตอบ 4 : Maximin Gain <= Value of Game <= Minimax Loss

ขอที่ : 371
คํากลาวตอไปนี้ ขอใดถูกตอง
Pure Strategies หรือ ยุทธวิธีเดียว เปนยุทธวิธีที่มีจุดศูนยถวงเทากันทั้งแถวและสดมภ
คําตอบ 1 :
สวน Mixed Strategies หรือ ยุทธวิธผ ี สม เปนยุทธวิธีที่ไมมีจุดอานมา
Pure Strategies หรือ ยุทธวิธีเดียว เปนยุทธวิธีที่มีจุดศูนยถวงเทากันทั้งแถวและสดมภ
คําตอบ 2 :
สวน Mixed Strategies หรือ ยุทธวิธผ ี สม เปนยุทธวิธีที่มีจุดอานมา
Pure Strategies หรือ ยุทธวิธีเดียว เปนยุทธวิธีที่มีจุดศูนยถวงไมเทากันทั้งแถวและ
คําตอบ 3 :
สดมภ สวน Mixed Strategies หรือ ยุทธวิธีผสม เปนยุทธวิธีที่ไมมีจุดอานมา
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 372
จากขอมูลดังตอไปนี้ขอใดถูกตองที่สุดของการแกไขปญหาเกมดวยวิธีกราฟ
คําตอบ 1 : วิธีนี้ใชสําหรับเมตริกซหรือตารางตอบแทนที่มีขนาด 2 x n
คําตอบ 2 : วิธีนี้ใชสําหรับเมตริกซหรือตารางตอบแทนที่มีขนาด 2 x n หรือ m x 2
คําตอบ 3 : วิธีนี้ใชสําหรับเมตริกซหรือตารางตอบแทนที่มีขนาด m x 2

Page 259 of 262


คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 373
ปญหาเกมปญหาหนึ่งแสดงตาราง Payoff ไดดังนี้ จงวิเคราะหผลที่เกิดขึ้น
กลยุทธ ผูเลนคนที่ 2 1 2
ผูเลนคนที่ 2 1 1 0
1 1 2
คําตอบ 1 : ผูเลนคนที่ 1 ได 2 แตม
คําตอบ 2 : ผูเลนคนที่ 1 ได 1 แตม
คําตอบ 3 : ผูเลนคนที่ 2 ได 2 แตม
คําตอบ 4 : ขอมูลไมเพียงพอสําหรับการคํานวณ

ขอที่ : 374
ปญหาเกมปญหาหนึ่งมีคา Payoff ดังแสดงในตารางขางลางนี้ ผูเลนแตละคนควรจะเลือกกลยุทธในการ
เลนเกมอยางไร
กลยุทธ ผูเลนคนที่ 2 1 2
ผูเลนคนที่ 3 2 2 1
1 1 2
คําตอบ 1 : ผูเลนคนที่ 1 เลือกกลยุทธที่ 1 และผูเลนคนที่ 2 เลือกกลยุทธที่ 1
คําตอบ 2 : ผูเลนคนที่ 1 เลือกกลยุทธที่ 1 และผูเลนคนที่ 2 เลือกกลยุทธที่ 2
คําตอบ 3 : ผูเลนคนที่ 1 เลือกกลยุทธที่ 2 และผูเลนคนที่ 2 เลือกกลยุทธที่ 1
คําตอบ 4 : ผูเลนคนที่ 1 เลือกกลยุทธที่ 2 และผูเลนคนที่ 2 เลือกกลยุทธที่ 2

ขอที่ : 375
จากปญหาเรื่องเกมแบบ Two-Person, Zero-Sum Game แสดงเปนตารางขางลางนี้ กลยุทธที่ดี

Page 260 of 262


ที่สุดของฝาย A และฝาย B คืออะไร
A B
b1 b2 b3
a1 1 -2 3
a2 -2 -5 -3
a3 -1 -6 -5
คําตอบ 1 : A เลือก a1 และ B เลือก b1
คําตอบ 2 : A เลือก a1 และ B เลือก b2
คําตอบ 3 : A เลือก a2 และ B เลือก b1
คําตอบ 4 : A เลือก a2 และ B เลือก b3

ขอที่ : 376
ปญหาเกม Two-Person, Zero-Sum Game ขอใดตอไปนี้เปนแบบกลยุทธผสม (Mixed Strategy)
A B
b1 b2
คําตอบ 1 :
a1 4 -1
a2 -2 1
A B
b1 b2
คําตอบ 2 :
a1 1 3
a2 7 4
A B
b1 b2
คําตอบ 3 :
a1 -1 0
a2 1 3
คําตอบ 4 : A B

Page 261 of 262


b1 b2
a1 2 2
a2 1 3

ขอที่ : 377
เซลสแมนคนหนึ่งตองการไปติดตอลูกคาจํานวน 3 รายคือ A, B, และ C ใหครบภายในเวลา 8 ชั่วโมง
หลังจากที่ไปติดตอลูกคารายแรก เซลสแมนคนนี้จะตองวางแผนการเดินทางไวอยางไร จึงจะใชเวลา
เดินทางนอยที่สุดและไมเกิน 8 ชั่วโมง
เวลาในการเดินทาง ถึง
(ชั่วโมง)
จาก A B C
A - 4 5
B 3 - 6
C 7 5 -
คําตอบ 1 : A B C
คําตอบ 2 : B A C
คําตอบ 3 : C A B
คําตอบ 4 : B C A

Page 262 of 262

You might also like