You are on page 1of 69

คูมือการใชงานระบบขอมูลสารสนเทศ

ดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
พิมพ ครั้งที่ 1 /2559
จำนวนพิมพ 500 เลม
พิมพที่ บริษัท เอ็นซี คอนเซ็ปต จำกัด
คำนำ
คู  ม ื อ การใช ง านระบบข อ มู ล สารสนเทศด า นสุ ข าภิ บ าลอาหารและน้ ำ จั ด ทำขึ ้ น
เพื่อเปนแนวทางในการใชงานระบบตรวจแนะนำสถานประกอบการดานอาหาร (ประกอบดวย รานอาหาร
แผงลอยจำหนายอาหาร ตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1) และตลาดนัด (ตลาดประเภทที่ 2) ตามมาตรฐาน
สุขาภิบาลอาหาร กรมอนามัย ที่พัฒนาขึ้นโดยการประยุกตและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรในลักษณะ
แอพลิเคชั่น (Application) ใหสามารถใชไดบนอุปกรณสื่อสารแบบพกพา (Tablet และ Smart phone)
เพื ่ อ ทำการเก็ บ รวบรวม วิ เ คราะห แ ละส ง ผ า นข อ มู ล (Transfer Data) ที ่ ไ ด จ ากการตรวจแนะนำ
สถานประกอบการดานอาหารจากหนวยงานระดับทองถิ่นมายังหนวยงานระดับภูมิภาคและสวนกลางได
อยางรวดเร็ว และเปนระบบมากยิ่งขึ้น ผูจัดทำหวังเปนอยางยิ่งวา ระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาล
อาหารและน้ำที่พัฒนาขึ้นนี้จะชวยสนับสนุนการดำเนินงานของเจาหนาที่สวนภูมิภาคและทองถิ่น ใหมีความ
สะดวก สืบคนขอมูลไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อันจะสงผลตอการมีและวิเคราะหขอมูล
สถานการณ ด  า นสุ ข าภิ บ าลอาหารและน้ ำ ของสถานประกอบการด า นอาหารที ่ เ ป น ป จ จุ บ ั น ทั น ต อ การ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ และนำมาใชเปนระบบขอมูลกลางเพื่อชี้สถานการณสุขาภิบาลอาหารในภาพรวม
ของประเทศตอไป

คณะผูจัดทำ
กลุมพัฒนาระบบเฝาระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ธันวาคม 2558
สารบั ญ
หนา
คำนำ 1
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ 1
หลักการและเหตุผล 1
วัตถุประสงค 2
ขอบเขตการทำงานของระบบสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 2
คุณลักษณะของอุปกรณคอมพิวเตอรสำหรับใชในการดำเนินงาน 3
บทที่ 2 การกำหนดสิทธิ์ และลำดับขั้นการเขาถึงขอมูล 5
วิธีการกำหนดสิทธิ์ (User Name และ Password) สำหรับผูบริหารระบบฯ
(Admin) แตละระดับ 6
บทที่ 3 การขอใชงาน และการติดตั้งระบบสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
บน Smart Phone หรือ Tablet 11
1. การขอ User Name และ Password เพื่อเขาใชงานระบบ 11
2. การ Download Application 11
บทที่ 4 การใชงานระบบสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ จาก Smart Phone
หรือ Tablet 17
1. การเตรียมและขอแนะนำการใชงาน Smart Phone หรือ Tablet ระหวางเก็บขอมูลในพื้นที่ 17
2. การลงชื่อ (Login) เพื่อเขาใชงานระบบฯ จาก Smart Phone หรือ Tablet 17
3. การปอนและบันทึกขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร 19
4. การสงขอมูล 23
บทที่ 5 การใชงานระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ บน PC Computer 25
1. การลงชื่อ (Login) เพื่อเขาใชงานระบบฯ จาก PC Computer 25
2. หนาหลัก 27
3. การปอนขอมูลและแกไข/ปรับปรุงและบันทึกขอมูลผลตรวจทางแบคทีเรีย 28
4. การปอนและบันทึกขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร 32
5. การปรับปรุง/แกไขขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร 36
บทที่ 6 การแสดงผลและการพิมพรายงานขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร 43
1. การแสดงผลและพิมพรายงานขอมูลสถานประกอบการ 43
2. การแสดงผลและพิมพรายงานแผนที่สถานประกอบการ 52
3. การแสดงผลและพิมพรายงานกราฟสถานประกอบการ 54
4. การออกจากระบบ 56
เอกสารอางอิง 59
ภาคผนวก
รายนามที่ปรึกษาและคณะผูจัดทำ 61
บทที ่ 1
บทนำ
หลักการและเหตุผล
ปงบประมาณ 2556 กรมอนามัย โดยสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ไดทำขอตกลงความรวมมือ
การพั ฒ นาระบบข อ มู ล สารสนเทศด า นสุ ข าภิ บ าลอาหารและน้ ำ กั บ คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เพื่อพัฒนาระบบตรวจแนะนำสถานประกอบการดานอาหาร (รานอาหาร และแผงลอย
จำหนายอาหาร) ตามมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร โดยการนำโปรแกรมคอมพิวเตอรมาใชในการเก็บรวบรวมขอมูล
ประยุกตและพัฒนาใหสามารถใชไดบนอุปกรณสื่อสารแบบพกพา (Tablet และ Smart phone) เพื่อให
เจาหนาที่ผูรับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารในระดับภูมิภาคและทองถิ่น ใชเปนเครื่องมือในการตรวจแนะนำ
และเฝาระวังสถานประกอบการดานอาหาร โดยเก็บรวบรวมและสงผานขอมูล (Transfer Data) จากหนวยงาน
ระดับทองถิ่นมายังหนวยงานระดับภูมิภาคและสวนกลางไดอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ยังใชเปนเครื่องมือ
ในการประชาสัมพันธสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำใหประชาชนทั่วไป และผูประกอบการดาน
อาหารได ร ั บ ความรู  เ กี ่ ย วกั บ การสุ ข าภิ บ าลอาหารและน้ ำ และกฎหมายที ่ เ กี ่ ย วข อ ง ซึ ่ ง สอดคล อ งกั บ
แผนยุทธศาสตรอนามัยสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 2 ตามยุทธศาสตรการสงเสริมบทบาทขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่น และยุทธศาสตรการสุขาภิบาลยั่งยืน วิถีพอเพียงของกรมอนามัย
ปงบประมาณ 2557 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ไดทำการทดสอบระบบฯ ในพื้นที่เทศบาล
นครพิ ษ ณุ โ ลก โดยการชี้แจงวิธีก ารทำงานของระบบให ก ั บเจ า หน า ที ่ ผ ู  ร ั บผิ ด ชอบงานของเทศบาลและ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กอนทำการเก็บขอมูลในพื้นที่ฯ ภายหลังการเก็บขอมูล ทำใหทราบถึงปญหา
ของ การใชระบบ มีขอเสนอแนะที่ตองปรับปรุง/แกไขเพื่อใหระบบฯ สมบูรณและเหมาะสมกับความตองการ
ใชงานในระดับพื้นที่ใหสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตอมาสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ไดนำระบบฯ ใชในพื้นที่นำรอง 46 จังหวัด ไดแก พื้นที่นำรองการพัฒนาระบบฐานขอมูลฯ 8 จังหวัดและพื้นที่
โครงการรานอาหารไทยปลอดภัย สุขภาพดี (Clean Food Good Taste Plus) 38 จังหวัด ผลจากการ
ดำเนินงานฯ พบวาการใชระบบการตรวจแนะนำฯ ที่พัฒนาขึ้นนี้ มีความสะดวก รวดเร็ว และสนับสนุน
การดำเนินงานของเจาหนาที่ ทำใหหนวยงานที่รับผิดชอบฯ มีขอมูลและสถานการณดานสุขาภิบาลอาหาร
และน้ำของสถานประกอบการดานอาหารที่เปนปจจุบัน และสืบคนงาย ลดความซ้ำซอนในการจัดเก็บขอมูล
และงายตอการประมวลผลขอมูล ใชไดกับอุปกรณสื่อสารอิเล็กทรอนิกสที่มีอยูในปจจุบัน ตอมาจึงไดมีการ
พัฒนาระบบฯ เพิ่มเติมในสวนของการตรวจแนะนำตลาดประเภทที่ 1 และตลาดนัด เพื่อใหครอบคลุม
สถานประกอบการดานอาหารทุกประเภทตามขอกำหนดมาตรฐานดานสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย
นอกจากนี้องคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนำระบบฯ ไปพัฒนาเพิ่มเติม
ในสวนอื่นที่เกี่ยวของได เชน ระบบการอนุญาต การรับรองสถานประกอบกิจการ ฯลฯ
ปงบประมาณ 2558 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ไดเพิ่มการพัฒนาระบบฯ ในสวนที่เกี่ยวของ
กับขอมูลสารสนเทศการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือขายดานสุขาภิบาลอาหาร และการเฝาระวัง
คุณภาพน้ำบริโภค เพื่อใหครอบคลุมการดำเนินงานทุกกิจกรรมของสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำและ
ไดมีการนำระบบฯ ไปใชในการเก็บขอมูลการเฝาระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำในพื้นที่ปกติและพื้นที่เสี่ยง
8 จังหวัด พบวาสามารถเก็บรวบรวมขอมูลไดอยางรวดเร็ว นำขอมูลมาใชในการวิเคราะหสถานการณ
สุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการดานอาหารไดอยางเปนระบบ
จากการพัฒนาและทดลองใชระบบขอมูลสารสนเทศสุขาภิบาลอาหารและน้ำมาเปนระยะเวลา 2-3 ป
ทำใหสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ มีความมั่นใจวาหนวยงานผูรับผิดชอบดานสุขาภิบาลอาหารในพื้นที่
(สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น) จะสามารถนำระบบขอมูลสารสนเทศสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ไปใชในการ

1
ดำเนินงานฯ ในพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหมีระบบขอมูลและสถานการณดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ที่เปนปจจุบันและสืบคนงาย ขอมูลที่ไดสามารถนำไปใชประกอบการตัดสินใจดำเนินงานดานสุขาภิบาลอาหาร
และน้ำในพื้นที่ ประชาชน/ผูบริโภคมีชองทางการเขาถึงขอมูลไดรวดเร็วขึ้น ซึ่งจะสงผลใหเกิดมีฐานขอมูล
กลางดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำของประเทศ

วัตถุประสงค
- เพื่อพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ สำหรับสนับสนุนใหหนวยงาน
สวนภูมิภาคและสวนทองถิ่นใชเปนเครื่องมือในการการตรวจแนะนำและการเฝาระวังสุขาภิบาลอาหาร
และน้ำในสถานประกอบการดานอาหาร
- เพื่อรวบรวมขอมูลสถานการณสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ในระดับพื้นที่ ภูมิภาค และนำไปวิเคราะห
สถานการณดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำระดับประเทศได

ขอบเขตการทำงานของระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ระบบข อ มู ล สารสนเทศด า นสุ ข าภิ บ าลอาหารและน้ ำ เป น ระบบที ่ พ ั ฒ นาโดยใช เ ทคโนโลยี ข อง
Java, CSS, HTML5, JQuery และ JavaScript ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรแมขายจะพัฒนาในรูปแบบของ
Web Base โดยพัฒนาบนระบบ Cloud (HPCNET.dusit.ac.th) ซึ่งจะใช MySQL เปนฐานขอมูลสารสนเทศ
ดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ (การบันทึก ปรับปรุง/แกไข ลบ และการแสดงผล) และในสวนของการสำรวจ
ขอมูลในพืน้ ที่ จะพัฒนาเปน Web Application บน Android Version 4.1 (สำหรับ Tablet หรือ Smart Phone)

ภาพที่ 1.1 ผังแสดงโครงสรางการทำงานของระบบฯ

2
ขอบเขตการทำงานของระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ แบงออกเปน 2 สวน
ดังนี้
1. ระบบการบันทึกขอมูลแบบปจจุบัน (Real Time) โดยใช Tablet หรือ Smart Phone
การบันทึกขอมูลแบบทันทีทันใดนี้ เหมาะสำหรับใชในการสำรวจขอมูลในพื้นที่ โดยบันทึกขอมูล
ผลการสำรวจหรือเฝาระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำในพื้นที่ (แทนแบบตรวจสุขาภิบาลอาหารของสถาน
ประกอบการดานอาหาร) ซึ่งมีขอกำหนดในการใชงานดังนี้ คือ
1.1 Smart Phone หรือ Tablet ที่ใชงานกับระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ตองเปนอุปกรณที่สามารถใช Web Application บน Android Version 4.1 ขึ้นไป
1.2 ระบบการบันทึกขอมูลจากการสำรวจขอมูลพื้นที่ในสถานประกอบการดานอาหาร ดังนี้คือ
ขอมูลรานอาหาร แผงลอยจำหนายอาหาร ตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1) และตลาดนัด (ตลาดประเภทที่ 2)
สำหรับวิธีการใชงานสามารถศึกษารายละเอียดไดในบทที่ 3 และ 4
2. ระบบการบันทึก แกไข/ปรับปรุง ลบ แสดงผล และพิมพรายงานขอมูล (Back Office) โดยทำงาน
ผาน Computer network
การทำงานสวนนี้ เปนบันทึก แกไข/ปรับปรุง ลบ แสดงผล และพิมพรายงานขอมูลบน Network
Computer ซึ่งสามารถใชงานระบบในที่ทำงานได โดยระบบฯ ในสวนนี้สามารถที่จะบันทึกขอมูลสถาน
ประกอบการดานอาหาร ไดแกรานอาหาร แผงลอยจำหนายอาหาร ตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1) ตลาดนัด
(ตลาดประเภทที่ 2) และน้ำประปาดื่มได ทั้งที่เปนผลการสำรวจทางกายภาพ และชีวภาพ รวมถึงการ
ปรับปรุง/แกไขและลบขอมูลที่มีขอผิดพลาด และการแสดงผลขอมูลทางจอภาพหรือพิมพเปนรายงาน
ซึ่งวิธีการใชงานสามารถศึกษารายละเอียดไดในบทที่ 5 และ 6

คุณลักษณะของอุปกรณคอมพิวเตอรสำหรับใชในการดำเนินงาน
เครื่องคอมพิวเตอร (Network Computer)
1. เครื่องคอมพิวเตอรทั่วไป (PC Computer) ที่ตอเชื่อมกับระบบเครือขาย (Network) ไดแก Lan
หรือ Wi-Fi
2. ระบบปฏิบัติการ (OS: Operation System) ตั้งแต Windows 98 ขึ้นไป
3. ไดติดตั้ง Software โปรแกรม Google Chrome ไวแลว
เครื่องพิมพ (Printer) สามารถใชไดกับเครื่องพิมพ (Printer) ทุกรุน และทุกยี่หอเชน
1.เครื่องพิมพ (Printer) ประเภท Laser Printer
2.เครื่องพิมพ (Printer) ประเภท Ink Jet
Smart Phone หรือ Tablet
- Smart Phone หรือ Tablet ที่สามารถใช Web Application บน Android Version 4.1
ขึ้นไป

3
บทที ่ 2
การกำหนดสิท ธิ ์ และลำดั บ ขั ้ นการเข าถึ งข อ มู ล
การกำหนดสิทธิ์การใชงานระบบขอมูลสารสนเทศและการเขาถึงขอมูล เปนขั้นตอนสำคัญที่จะสราง
ความมั่นใหแกเจาหนาที่ผูปฏิบัติในการปองกันการแกไข/ลบขอมูลจากบุคคลอื่นที่ไมเกี่ยวของ โดยระบบ
ขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ไดกำหนดสิทธิ์ในการเขาถึงขอมูลของเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ
ของหนวยงานแตละระดับ ดังนี้

ภาพที่ 2.1 โครงสรางการกำหนดสิทธิ์ในการเขาถึงขอมูลของเจาหนาที่ผูรับผิดชอบของหนวยงานแตละระดับ

จากภาพที่ 2.1 จะเห็นไดวา สิทธิ์ในการเขาถึงขอมูลของผูใชงานระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาล


อาหารและน้ำ แบงออกเปน 4 ระดับ ดังจะไดอธิบายตอไปนี้
ระดับที่ 1 สิทธิ์ของผูบริหารระบบฯ และผูใชงานของหนวยงานสวนกลาง (สำนักสุขาภิบาลอาหาร
และน้ำ)
- สิทธิ์การเขาถึงขอมูลในระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำของผูบริหารระบบฯ
(Admin) ประกอบดวย
1. เปนผูกำหนดสิทธิ์ในการใชงานระบบฯ (User name และ Password) ใหกับผูใชงานสวนกลาง
และ Admin ระดับศูนยอนามัย
2. บริหารฐานขอมูลผูใชงานในระบบฯ (Users) ทั้งระบบ
3. บริหารจัดการขอมูลทัง้ หมดในระบบ ทัง้ ในสวนของการบันทึก ปรับปรุง/แกไข ลบ และพิมพรายงาน
- สิทธิ์การเขาถึงขอมูลในระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ของผูใชงานระบบฯ
(Users) สวนกลาง คือการบริหารจัดการขอมูลทีต่ นเองเปนผูน ำเขาขอมูล ทัง้ ในสวนของการบันทึก ปรับปรุง/แกไข
ลบ และพิมพรายงาน
ระดับที่ 2 สิทธิ์ของผูใชงานในระดับศูนยอนามัย
- สิทธิ์การเขาถึงขอมูลในระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ของผูบริหารระบบฯ
(Admin) ในระดับศูนยอนามัย ประกอบดวย

5
1. เป น ผู  ก ำหนดสิ ท ธิ ์ ใ นการใช ง านระบบฯ (User name และ Password) ให ก ั บ ผู  ใช ง านของ
ศูนยอนามัย และ Admin ระดับสาธารณสุขจังหวัด
2. บริหารฐานขอมูลผูใชงานในระบบฯ (Users) ในพื้นที่รับผิดชอบ ไดแก สาธารณสุขจังหวัด
สาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล เทศบาลนคร เทศบาลเมือง
เทศบาลตำบล และ องคการบริหารสวนตำบล
3. บริหารจัดการขอมูลในสวนทีผ่ ใู ช (Users) ในพืน้ ทีเ่ ปนผูน ำเขาขอมูล ไดแก การบันทึก ปรับปรุง/แกไข
ลบ และพิมพรายงาน
- สิทธิ์การเขาถึงขอมูลในระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ของผูใชงานระบบฯ
(Users) ในระดับศูนยอนามัยคือการบริหารจัดการขอมูลที่ตนเองเปนผูนำเขาขอมูล ทั้งในสวนของการบันทึก
ปรับปรุง/แกไข ลบ และพิมพรายงาน
ระดับที่ 3 สิทธิ์ของผูใชงานในระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
- สิทธิ์การเขาถึงขอมูลในระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ของผูบริหารระบบฯ
(Admin) ในระดับสาธารณสุขจังหวัด ประกอบดวย
1. เป น ผู  ก ำหนดสิ ท ธิ ์ ใ นการใช ง านระบบฯ (User name และ Password) ให ก ั บ ผู  ใช ง านของ
สำนักสาธารณสุขจังหวัด สาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล
เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล และ องคการบริหารสวนตำบล
2. บริหารฐานขอมูลผูใชงานในระบบฯ (Users) ในพื้นที่รับผิดชอบ ไดแก สาธารณสุขจังหวัด
สาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล เทศบาลนคร เทศบาลเมือง
เทศบาลตำบล และ องคการบริหารสวนตำบล
3. บริหารจัดการขอมูลในสวนที่ผูใช (Users) ในพื้นที่เปนผูนำเขาขอมูล ไดแก การบันทึก ปรับปรุง/
แกไข ลบ และพิมพรายงาน
- สิทธิ์การเขาถึงขอมูลในระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ของผูใชงานระบบฯ
(Users) ในระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดคือการบริหารจัดการขอมูลทีต่ นเองเปนผูน ำเขาขอมูล ทัง้ ในสวนของ
การบันทึกปรับปรุง/แกไข ลบ และพิมพรายงาน
ระดับที่ 4 สิทธิ์ของผูใชงานในระดับพื้นที่ ประกอบดวย
1. หนวยงานดานสาธารณสุข ไดแก สาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลสงเสริม
สุขภาพตำบล
2. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล และ
องคการบริหารสวนตำบล (อบต.)
- สิทธิ์การเขาถึงขอมูลในระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ของผูใชงานระบบฯ
(Users) ในระดับพื้นที่คือการบริหารจัดการขอมูลที่ตนเองเปนผูนำเขาขอมูล ทั้งในสวนของการบันทึก
ปรับปรุง/แกไข ลบ และพิมพรายงาน

วิธีการกำหนดสิทธิ์ (User Name และ Password) สำหรับผูบริหารระบบฯ (Admin) แตละระดับ


ขั้นตอนหรือวิธีการกำหนดสิทธิ์ (User name และ Password) ใหแกผูใชงาน (User) ที่ผูบริหาร
ระบบฯ (Admin) แตละระดับควรตองดำเนินการในการกำหนดสิทธิ์ในการเขาถึงขอมูล (บันทึก แกไข/
ปรับปรุง ลบ แสดงผล และพิมพรายงานขอมูลสถานการณดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ดังรายละเอียด
ตอไปนี้
1. เปดเครื่องคอมพิวเตอร (PC Computer หรื อ Notebook) ที ่ เชื ่ อ มต อ กั บระบบ Network
แลวเลือกที่ Icon Google Chrome ดังภาพที่ 2.2

6
ภาพที ่ 2.2
2. เป ด URL Link : http://www.hpcnet.dusit.ac.th/moph/ แล ว กด Enter เพื ่ อ ใช ง าน
ระบบฯ ดั ง ภาพที ่ 2.3 และ ภาพที ่ 2.4

ภาพที ่ 2.3

ภาพที ่ 2.4

3. ใส User Name และ Password เพื ่ อ ใช ง านระบบฯ ดั ง ภาพที ่ 2.5

7
ภาพที ่ 2.5
4. เขาสูจอภาพการใชงานระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ แลวเลือกที่เมนู
ปรับปรุงฐานขอมูล แลวเลือกที่เมนูยอย เจาหนาที่ ดังภาพที่ 2.6
หมายเหตุ : สำหรับเมนูการปรับปรุงขอมูลเจาหนาที่ จะแสดงใหใชงานไดเฉพาะผูใชงาน (User
ที่เปนผูบริหารระบบฯ (Admin) ของแตละระดับหนวยงานเทานั้น

ภาพที ่ 2.6
5. เขาสูเมนูการปรับปรุงขอมูลเจาหนาที่ ประกอบดวย เมนูยอย 3 เมนู ดังภาพที่ 2.7 คือ
5.1 แกไขขอมูลสวนตัว คือแกไขขอมูลสวนตัวของผูบริหารระบบฯ (Admin)
5.2 แกไขขอมูลสมาชิก คือการแกไขขอมูลสมาชิก (User) ทีต่ นเองเปนผูก ำหนด User name
และ Password ให
5.3 เพิ่มสมาชิก คือการเพิ่มขอมูลสมาชิก (User) ใหม ที่อยูในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ

8
ภาพที ่ 2.7
6. การแกไขขอมูลสวนตัว คือการแกไขขอมูลสวนตัวที่อาจมีขอมูลสวนตัวที่พิมพผิดในขั้นตอน
การกำหนดสิทธิ์ จากผูบริหารระบบฯ (Admin) ในระดับที่สูงกวา ประกอบดวย E-mail Address รหัสผาน
และการยืนยันรหัสผาน เมื่อดำเนินการแกไขขอมูลเสร็จเรียบรอยแลวใหยืนยันการแกไขขอมูลและบันทึก
ขอมูลที่ถูกตองในระบบ โดยการกดปุม ยืนยัน ดังภาพที่ 2.8

ภาพที ่ 2.8
7. การแกไขขอมูลสมาชิก คือการแกไขขอมูลของผูใช (User) ที่ไดกำหนด ที่อาจมีขอมูลบางสวน
ทีผ่ บู ริหารระบบฯ (Admin) อาจพิมพผดิ ในขัน้ ตอนการกำหนดสิทธิ์ เชน คำนำหนา ชือ่ -นามสกุล E-mail Address
ตำแหนง User Name หรือ Password ดังภาพที่ 2.9 โดยเลือกชื่อสมาชิกที่ตองการแกไข และทำการแกไข
ขอมูลสมาชิก (User) อาจมีขอมูลสวนตัวที่พิมพผิดในขั้นตอนการกำหนดสิทธิ์ ประกอบดวย E-mail Address
รหัสผาน และการยืนยันรหัสผาน เมื่อดำเนินการแกไขขอมูลเสร็จเรียบรอยแลวใหยืนยันการแกไขขอมูล
และบันทึกขอมูลที่ถูกตองในระบบ โดยการกด ยืนยัน ดังปรากฎดานลางของภาพที่ 2.9

9
ภาพที ่ 2.9
8. การเพิ ่ ม สมาชิ ก คื อ การเพิ ่ ม ข อ มู ล สมาชิ ก (User) ใหม ที ่ อ ยู  ใ นเขตพื ้ น ที ่ ท ี ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ โดย
ผู  บ ริ ห ารระบบฯ (Admin) สามารถบันทึ ก ข อ มู ล เพื ่ อ เพิ ่ ม สมาชิ ก ใหม (User) ในระบบ ดั ง ภาพที ่ 2.10
เมื่อดำเนินการแกไขขอมูลเสร็จเรียบรอยแลวใหยืนยันการเพิ่มขอมูลสมาชิก (User) โดยกดที่ปุม ยืนยัน
ดังภาพที่ 2.10

ภาพที ่ 2.10

10
บทที่ 3
การขอใชงาน และการติดตั้งระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
บน Smart Phone หรือ Tablet
1. การขอ User Name และ Password เพื่อเขาใชงานระบบ
การขอ User Name และ Password เพื่อใชงานระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ของผูใชงาน (User) จากหนวยงานแตละระดับ ตองดำเนินการ ดังนี้
1.1 ผูใชงาน (User) ในระดับสวนกลาง (กรมอนามัย) ประสานขอ User name และ Password
ไดที่สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย โทร 02-5904184
1.2 ผู  บ ริ ห ารระบบฯ (Admin) ระดั บ ศู น ย อ นามั ย ประสานขอ User name และ Password
ไดที่ผูรับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำของสวนกลาง (สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ) ที่ไดรับสิทธิ์
ใหเปนผูบริหารระบบฯ (Admin)
1.3 ผูใชงาน (User) ระดับศูนยอนามัยประสานขอ User name และ Password ไดที่ผูรับผิดชอบ
งานสุขาภิบาลอาหารและน้ำของศูนยอนามัย ที่ไดรับสิทธิ์ใหเปนผูบริหารระบบฯ ระดับศูนยอนามัย (Admin)
1.4 ผูบริหารระบบฯ ระดับสาธารณสุขจังหวัด ประสานขอ User name และ Password ไดที่
ผูร บั ผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำของศูนยอนามัย ทีไ่ ดรบั สิทธิใ์ หเปนผูบ ริหารระบบฯ ระดับศูนยอนามัย
(Admin)
1.5 ผูใชงาน (User) ระดับสาธารณสุ ข จั ง หวั ด ประสานขอ User name และ Password ได ท ี ่
ผูรับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ที่ไดรับสิทธิ์ใหเปนผูบริหารระบบฯ
ระดับสาธารณสุขจังหวัด (Admin)
1.6 ผูใ ชงาน (User) ระดับพืน้ ที่ ไดแก สาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล
(รพ.สต.) เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล และ องคการบริหารสวนตำบล ประสานขอ User name
และ Password ไดที่ผูรับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำของสาธารณสุขจังหวัด ที่ไดรับสิทธิ์ใหเปน
ผูบริหารระบบฯ ระดับจังหวัด (Admin)
ทั้งนี้ ผูขอ User name และ Password สำหรับใชงานระบบฯ ตองใหขอมูลสวนบุคคลเพื่อประกอบการ
กำหนดสิทธิ์ ดังนี้
- ชื่อ-สกุล
- ตำแหนง
- หนวยงานที่สังกัด
- E-mail Address
- เบอรโทรศัพทที่ติดตอได
หมายเหตุ : ในชวงการอบรมการใชงานระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ติดตอขอ
User Name และ Password ไดที่ กลุมพัฒนาระบบเฝาระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ สำนักสุขาภิบาลอาหาร
และน้ำ กรมอนามัย เบอรโทร 02-5904184 E-mail : pasana.c@anamai.mail.go.th

2. การ Download Application


การ Download Application ระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ เพื่อใชงาน
ระบบฯ บนเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet สามารถดำเนินการได 2 วิธี คือ

11
2.1 Download Application โดยใช Barcode Scanner ดังวิธีการตอไปนี้
1. เป ด Application สำหรั บ ใช อ  า น QR Code จากเครื ่ อ ง Smart Phone หรื อ Tablet
(ในที่นี่ใช Barcode Scanner) ดังภาพที่ 3.1

ภาพที ่ 3.1
2. เมื่อเปดใช Application Barcode Scanner แลวระบบจะทำงานและแสดงผลดังภาพที่ 3.2

ภาพที ่ 3.2
3. นำ Smart Phone หรื อ Tablet ไปอ า น (Scan) QR Code จากเครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร
(PC Computer หรื อ Notebook) ที ่ เ ป ด ใช ง านระบบข อ มู ล สารสนเทศด า นสุ ข าภิ บ าลอาหารและน้ ำ
เมนู ดาวน โ หลด และเลื อ กอ า น (Scan) เมนู CFGT(MOPH) ดั ง ภาพที ่ 3.3 หรื อ อ า น (Scan) เมนู
CFGT(MOPH) จาก QR Code ในภาพที ่ 3.4

12
ภาพที ่ 3.3

ภาพที ่ 3.4
4. เมื่อระบบทำการอาน (Scan) QR Code เรียบรอยแลว จะแสดง URL link เพื่อใหทำการ
Download Application (ระบบข อ มู ล สารสนเทศด า นสุ ข าภิ บ าลอาหารและน้ ำ ) ดั ง ภาพที ่ 3.3
http://hpcnet.dusit.ac.th/moph/apk/moph.apk จากนั ้ น ให ก ด Double Click ที ่ URL Link
ดั ง กล า วฯ
5. รอจนเครื ่ อ ง Download Application เสร็ จ สิ ้ น
6. เลือก Icon ดาวนโหลด เพื่อติดตั้งระบบฯ ในเครื่องSmart PhoneหรือTablet ดังภาพ
ที ่ 3.5

ภาพที ่ 3.5
7. เมื่อ Icon ดาวนโหลด จะแสดงชื่อ File ที่ไดมีการดาวนโหลดไวในเครื่องทั้งหมด ใหเลือก
File ชื่อ moph.apk เพื่อติดตั้งระบบฯ ดังภาพที่ 3.6

13
ภาพที ่ 3.6
8. เมื่อติดตั้งระบบเสร็จเรียบรอย ให เลือกIcon โปรแกรมติดตั้งแพคเกจ และ Icon เฉพาะ
ครั้งนี้ ดังภาพที่ 3.7

ภาพที ่ 3.7
9. จอภาพจะแสดงผลดั ง ภาพที ่ 3.8 และให เ ลื อ กปุ  ม ติ ด ตั ้ ง

ภาพที ่ 3.8

14
10. รอจนติ ด ตั ้ ง เสร็ จ สิ ้ น ระบบการทำงานของเครื ่ อ งจะกลั บ สู  จ อภาพปกติ
2.2 Download Application ผ า นระบบข อ มู ล สารสนเทศด า นสุ ข าภิ บ าลอาหารและน้ ำ จาก
PC Computer หรื อ Notebook ดั ง วิ ธ ี ก ารต อ ไปนี ้
1. เปดเครื่องคอมพิวเตอร (PC Computer หรือ Notebook) ที่เชื่อมตอกับระบบ Network
เลื อ กที ่ Icon Google Chrome
2. เปด URL Link : http://www.hpcnet.dusit.ac.th/moph/ แลวกด Enter เพือ่ ใชงานระบบฯ
3. ใส User Name และ Password เพื ่ อ ใช ง านระบบฯ
4. เข า สู  ก ารใช ง านระบบข อ มู ล สารสนเทศด า นสุ ข าภิ บ าลอาหารและน้ ำ ดั ง ภาพที ่ 3.9
5. เลื อ กเมนู ดาวน โ หลด

ภาพที ่ 3.9
6. ระบบจะแสดงหนาตางที่แสดงเมนู OR Code เพื่อใหเลือกอาน (Scan) สำหรับติดตั้งระบบฯ
(Application) บนเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet (Android) ดังภาพที่ 3.10

ภาพที ่ 3.10

15
7. จากภาพที่ 3.10 นำเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet ไปอาน (Scan) QR Code จาก
เมนู ดาวน โ หลด และเลื อ กอ า น (Scan) เมนู CFGT(MOPH) ดั ง ภาพที ่ 3.10
8. เมื ่ อ ระบบทำการอ า น (Scan) QR Code เรี ย บร อ ยแล ว ให ด ำเนิ น การติ ด ตั ้ ง ระบบฯ
เช น เดี ย วกั บ การ Download Application โดยใช Barcode Scanner ตั ้ ง แต ข  อ 4-10

16
บทที่ 4
การใชงานระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
จาก Smart Phone หรือ Tablet
การใชงานระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ จาก Smart Phone หรือ Tablet
เปนเครื่องมือที่ชวยลดขั้นตอนการตรวจแนะนำสถานประกอบการดานสุขาภิบาลอาหาร ไดแก รานอาหาร
แผงลอยจำหนายอาหาร ตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1) และตลาดนัด (ตลาดประเภทที่ 2) ในพื้นที่แทนการ
ใชแบบตรวจสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัยในลักษณะที่เปนแบบฟอรมกระดาษ โดยมีขอดีของระบบฯ คือ
- สามารถระบุตำแหนงที่ตั้ง(คาพิกัดทางภูมิศาสตร)ของสถานประกอบการและแสดงบนแผนที่ได
- สามารถเก็บภาพถายลักษณะทางกายภาพของสถานประกอบการไดจำนวน 9 ภาพ เพื่อประโยชน
ในการแสดงหลักฐานเชิงประจักษในการตรวจสถานประกอบการแตละครั้ง

1. การเตรียมและขอแนะนำการใชงานระบบฯ บน Smart Phone หรือ Tablet ในการเก็บขอมูลในพื้นที่


1. เครื่อง Smart Phone หรือ Tablet ตองเชื่อมตอระบบเครื่องขาย (Network) หรือเชื่อมตอ
Wi-Fi และสามารถคาหาคาพิกัดทางภูมิศาสตรได (พิกัด GPS)
2. การตั้งคาพักหนาจอ ในเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet ที่ใชสำหรับเก็บขอมูล ใหตั้งคาเปน
ไมพักหนาจอ เนื่องจากหากยังเก็บขอมูลไมเสร็จเรียบรอย และถึงชวงเวลาการพักหนาจอ จะทำใหขอมูล
ที่กำลังเก็บอยูนั้นไมถูกบันทึกในระบบฯ (ขอมูลหาย) จะทำใหเสียเวลาเริ่มเก็บขอมูลใหม
3. เปดใชงาน GPS ในเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet เนื่องจากระบบฯ มีการเก็บขอมูลคาพิกัด
ภูมิศาสตร (GPS) ของสถานประกอบการ เพื่อการกำหนดจุดที่ตั้งสถานประกอบการบนแผนที่ (Google Map)
ไดอยางแมนยำ
ขอแนะนำการเก็บขอมูลคาพิกัดทางภูมิศาสตร (GPS)
- การเก็บคาพิกัดทางภูมิศาสตร จุดที่ผูใชจะดำเนินการเก็บขอมูล (จับพิกัด) ตองเปนพื้นที่โลง
ไมมีสิ่งกีดขวางดานบน เชน หลังคา เพดาน เนื่องจากในการเก็บคาพิกัดทางภูมิศาสตรตองทำงานผาน
โครงขายสัญญาณดาวเทียม
- การเก็บคาพิกัดทางภูมิศาสตร (จับพิกัด) ในสถานประกอบการแตละแหง เปนกิจกรรมแรกที่ตอง
ทำในการเก็บขอมูลสถานประกอบการ
- จุดที่ผูใช (User) จะดำเนินการเก็บคาพิกัดทางภูมิศาสตร (จับพิกัด) ควรเปนดานหนาของสถาน
ประกอบการ หรือบริเวณใกลเคียงและผูใช (User) ตองยืนนิ่งๆ ไมควรเคลื่อนไหว
- การเก็บคาพิกัดทางภูมิศาสตร (จับพิกัด) ครั้งแรกเมื่อผูใช (User) เปดใชงานระบบฯ อาจใชเวลานาน
- การเก็บขอมูลสถานประกอบการ ประเภทศูนยอาหาร หางสรรพสินคา โรงอาหาร หรือ สถาน
ประกอบการอื่นที่มีผูประกอบการคาอาหารมาตั้งแผงจำหนายอาหารมากกวา 1 ราย ใหใชคาพิกัดเดียวกันได
(ไมจำเปนตองเก็บคาพิกัดทางภูมิศาสตรใหม) โดยสามารถเรียกใชพิกัดเดิม จากปุม ใชตำแหนงลาสุด
จากระบบฯ

2. การลงชื่อ (Login) เพื่อเขาใชงานระบบฯ จาก Smart Phone หรือ Tablet


1. จากจอภาพปกติของ Smart Phone หรือ Tablet ทีไ่ ดตดิ ตัง้ ระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาล
อาหารและน้ำ เรียบรอยแลว

17
2. เลือกใช Application จาก Icon CFGT(MOPH) ดังภาพที่ 4.1

ภาพที่ 4.1
3. เขาสูระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ดังภาพที่ 4.2 และ 4.3

ภาพที่ 4.2

ภาพที่ 4.3
4. ใส User Name และ Password ในชองชื่อผูใช (User name) และรหัสผาน (Password)
แล ว เลื อ ก เข า สู  ร ะบบ ดั ง ภาพที ่ 4.4 เพื ่ อ เป น การยื น ยั น การเข า ใช ง านในระบบฯ (การใช ง านระบบฯ
เฉพาะครั้งแรก เครื่อง Smart Phone หรือ Tablet จะตองเชื่อมตอสัญญาณเครือขาย Internet หรือ Wi-Fi)

18
ภาพที่ 4.4
5. เมื่อดำเนินการตามขอ 4 เรียบรอยแลวจะเขาสูเมนูการใชงานระบบฯ ดังปรากฏในภาพที่ 4.5

ภาพที่ 4.5
6. จากภาพที่ 4.5 ระบบฯ จะแสดงชื่อผูใชงานอยูดานซายมือของจอภาพ และแสดงเมนูแบบสำรวจ
สถานประกอบการดานอาหารอยูกลางจอภาพ เพื่อใหเลือกนำเขาขอมูลสถานประกอบการ และ ปุม Refresh
สำหรับการเปลี่ยนผูใชงานดานขวามือของจอภาพ
ขอควรระวัง กอนการเปลี่ยนผูใชงาน (Refresh) ควรทำการสงขอมูลที่นำเขาจากผูใชงานกอนหนา
ใหเรียบรอยกอน

3. การปอนและบันทึกขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร
1. เมนูสำคัญของการปอนขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร บน Smart Phone หรือ Tablet
ประกอบดวย
1) แบบสำรวจรานอาหาร
2) แบบสำรวจแผงลอยจำหนายอาหาร
3) แบบสำรวจตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1)
4) แบบสำรวจตลาดนัด (ตลาดประเภทที่ 2)
5) คนหาขอมูลจาก QR Code
6) สงขอมูลแบบสำรวจ

19
หมายเหตุ : เนื ่ อ งจากวิ ธ ี ก ารป อ นข อ มู ล สถานประกอบการประเภทร า นอาหาร และแผงลอย
จำหนายอาหาร มีลักษณะการทำงานเหมือนกัน ดังนั้น ในคูมือฉบับนี้จึงอธิบายวิธีการปอนขอมูลสถาน
ประกอบการประเภทรานอาหาร และแผงลอยจำหนายอาหาร จากตัวอยาง แบบสำรวจรานอาหาร
3. เมื่อตองการปอนขอมูลสถานประกอบการประเภทรานอาหารหรือแผงลอยจำหนายอาหาร เชน
ใหเลือกที่เมนูแบบสำรวจรานอาหาร ดังภาพที่ 4.6
4. การปอนขอมูลรานอาหารหรือแผงลอยจำหนายอาหาร จะประกอบดวยเมนูการทำงาน 4 เมนูยอย
ประกอบดวย 1)รายละเอียดรานอาหาร 2) ขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหาร 3) ปายรับรอง/ประกาศนียบัตร
ที่เคยไดรับและแสดงอยูปจจุบัน 4) ภาพถายรานอาหาร

ภาพที่ 4.6
5. จากภาพที่ 4.6 ระบบฯ จะแสดงลำดับที่ (ในระบบฯ) ของรานอาหาร หรือแผงลอยจำหนายอาหาร
ไวดานบนซายมือของจอภาพ เชน รานอาหารเลขที่ 00210254 (เลขที่สถานประกอบการมีจำนวน 8 หลัก
แบงเปน เลข 4 ตัวแรก คือลำดับที่ของผูใชงานระบบฯ เชน 0021 และเลข 4 ตัวหลัง คือลำดับของขอมูล
สถานประกอบการประเภทนั้นๆ ที่ไดบันทึกในระบบฯ เชน 0254 โดยเลขที่รานอาหาร (สถานประกอบการ)
จะมีความสำคัญในการนำไปใชปอนขอมูลแบคทีเรีย (ปรับปรุงและแกไขขอมูลแบคทีเรีย) ซึ่งจะอธิบายใน
บทที่ 5
6. จากภาพที่ 4.6 ผูใช (User) สามารถปอนขอมูลสถานประกอบการในระบบตามรายละเอียด
โดยเริ่มจากการคนหาตำแหนงที่อยูปจจุบัน ซึ่งหมายถึง คาละติจูดและลองติจูด (พิกัด GPS บอกตำแหนง
สถานที่ที่กำลังบันทึก บน Google map เปนลักษณะรหัสพิกัดทางภูมิศาสตรแบบ Geographic ซึ่งแสดง
ในรูปแบบ ละติจูด และลองจิจูด การจับคาพิกัดใหเชื่อมตออินเตอรเน็ต เปด GPS ไว ในขณะที่จับคาพิกัด
ผูใชควรยืน ณ ตำแหนงที่เปนที่โลงบริเวณดานหนาของสถานประกอบการ) เลือก คนหาตำแหนงปจจุบัน
กรณีที่สถานประกอบการที่ทำการปอนขอมูลอยูในบริเวณเดียวกันหรือใกลกัน สามารถใชพิกัดเดียวกันได
โดยเลือก ใชตำแหนงลาสุด
7. บันทึกรายละเอียดขอมูลสถานประกอบการใหครบถวน (ชองที่ระบบแสดงเครื่องหมาย *****
หมายถึงตองบันทึกรายละเอียดขอมูลสวนนี้ในระบบฯ)
8. เมื่อปอนขอมูลรายละเอียดสถานประกอบการเสร็จเรียบรอย ใหผูใช (User) เลือกบันทึกขอมูล
ขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหาร ทั้งนี้ผูใช (User) สามารถบันทึกหมายเหตุหรือขอสังเกตตามรายขอกำหนด
และคำแนะนำภาพรวมได ดังภาพที่ 4.7 และ 4.8

20
ภาพที่ 4.7

ภาพที่ 4.8
9. เมื่อปอนขอมูลขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหารเสร็จเรียบรอย ใหผูใช (User) เลือกเมนูปาย
รับรอง/ประกาศนียบัตรที่เคยไดรับและแสดงอยูปจจุบันและเลือกรายการปายรับรองฯ ที่สถานประกอบการ
ไดรับ ดังภาพที่ 4.9

ภาพที่ 4.9

21
10. เมื่อปอนขอมูลปายรับรอง/ประกาศนียบัตรที่เคยไดรับและแสดงอยูปจจุบัน ใหผูใช (User)
เลือกเมนูภาพถาย แลวถายภาพสถานประกอบการตามคำอธิบายใตภาพทั้ง 9 ภาพ ดังภาพที่ 4.10 และ 4.11

ภาพที่ 4.10

ภาพที่ 4.11
11. เมื่อเพิ่มภาพถายเสร็จเรียบรอย ใหผูใช (User) เลือกบันทึกแบบสำรวจ เพื่อเปนการยืนยัน
การบันทึกขอมูลในระบบฯ ดังภาพที่ 4.11
12. การป อ นข อ มู ล สถานประกอบการด า นอาหารประเภทตลาดสด (ตลาดประเภทที ่ 1) และ
ตลาดนัด (ตลาดประเภทที่ 2) ในระบบฯ จะมีวิธีการทำงานเชนเดียวกับตัวอยางการบันทึกขอมูลรานอาหาร
ตั้งแตขอ 1-11 เพียงแตจะมีขอมูลรายละเอียดบางสวนที่แตกตางจากรานอาหารและแผงลอยจำหนาย
อาหาร ดังนี้
- ตลาดสด (ตลาดประเภทที ่ 1) ประกอบด ว ยเมนู ย  อ ย 7 เมนู ค ื อ 1) รายละเอี ย ดตลาด
2) รายละเอียดเจาของ/ผูบริหาร 3) แบบประเมินการพัฒนาและยกระดับตลาดสด นาซื้อ ดานสุขาภิบาล
สิ่งแวดลอม 4) คำแนะนำดานสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม 5) แบบประเมินการพัฒนาและยกระดับตลาดสด
นาซื้อ ดานความปลอดภัยอาหาร 6) ปายรับรองหรือประกาศนียบัตรที่เคยไดรับและแสดงอยูปจจุบัน
และ 7) ภาพถาย
- ตลาดนัด (ตลาดประเภทที่ 2) ประกอบดวยเมนูยอย 5 เมนูคือ 1) รายละเอียดตลาดนัด
2) รายละเอียดผูรับใบอนุญาต/ผูรับผิดชอบดูแล 3) แบบประเมินการพัฒนาและยกระดับตลาดนัด นาซื้อ
4) ปายรับรองหรือประกาศนียบัตรที่เคยไดรับและแสดงอยูปจจุบัน และ5) ภาพถาย

22
13. การบั น ทึ ก ข อ มู ล สถานประกอบการ (นำเข า ข อ มู ล ) ผู  ใช (User) สามารถบั น ทึ ก ข อ มู ล ได
มากกวา 1 รายการหรือสามารถบันทึกขอมูลไดตามแผนการเก็บขอมูลที่กำหนดไวใน 1 ครั้งหรือ 1 วัน
โดยขอมูลดังกลาวฯ จะถูกเก็บไวในหนวยความจำสำรองของเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet

4. การสงขอมูล
การสงขอมูลสถานประกบการดานอาหาร จากเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet ไปยังเครื่อง
แมขาย (Server) ซึ่งเปนฐานขอมูลกลาง (Database) ของระบบฯ เปนขั้นตอนที่เครื่อง Smart Phone
หรือ Tablet ตองตอเชื่อมสัญญาณเครือขาย (Network) ดังขั้นตอนการสงขอมูลตอไปนี้
1. เลือกเมนู สงขอมูลแบบสำรวจ ดังภาพที่ 4.12

ภาพที่ 4.12
2. จากภาพที่ 4.12 ระบบฯ ประมวลผลขอมูลและทำการสงขอมูลไปยังฐานขอมูลกลาง ตามคำสั่ง
ที่เลือก ทั้งนี้เพื่อเปนการยืนยันการสงขอมูล ระบบฯ จะสงรหัสยืนยันตัวตนผูใชงาน (User) ไปทางอีเมล
(E-Mail Address) ซึ่งเรียกวา OTP (One Time Password) ดังภาพที่ 4.13 และ 4.14
หมายเหตุ : E-Mail Address ที่ระบบฯ จะสงรหัส OTP ใหนั้น คือ E-Mail Address ที่ผูใช (User)
สงใหผูบริหารระบบฯ (Admin) ในขั้นตอนการขอ User Name และ Password

ภาพที่ 4.13

23
ภาพที่ 4.14
3. จากภาพที่ 4.14 ระบบจะทำการสงรหัส OTP ไปยัง E-Mail Address ของผูใช (User) ใหเปด
E-mail เพื่อเรียกดูรหัส OTP ที่ระบบฯ สงมาให (รหัส OTP เปนตัวเลข 4 ตัว ซึ่งในการสงขอมูลแตละครั้ง
รหัส OTP จะไมเหมือนกัน)
4. นำรหัส OTP มาบันทึกในระบบฯ ตามภาพที่ 4.14 แลวเลือก สงขอมูล ขอมูลทั้งหมดที่ผูใช (User)
บันทึกไวในเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet จะถูสงไปเก็บในฐานขอมูลกลาง (Database) และระบบฯ
จะลางขอมูล (Clear) ออกจากหนวยความจำสำรองในเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet ถืเปนการเสร็จสิ้น
การบันทึกและสงขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร

24
บทที่ 5
การใชงานระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
บน PC Computer
การใชงานระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารบนเครื่อง PC Computer กำหนดใหผูใช
(User) สามารถดำเนินการไดดังนี้คือ
- บันทึก/เพิ่มขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร และผลตรวจทางชีวภาพ (แบคทีเรีย)
- ปรับปรุง/แกไขขอมูล และรายงานขอมูล
ซึ่งเหมาะสำหรับใชงานกับหนวยงานที่มีขอมูลผลการตรวจสถานประกอบการดานอาหารตามแบบตรวจดาน
สุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย และยังไมไดบันทึกในฐานขอมูลหรือตารางขอมูลทางคอมพิวเตอร หรือผูใช
(User) ที่ไมมีเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet
นอกเหนือจากรายละเอียดขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร ตามแบบตรวจดานสุขาภิบาลอาหาร
ของกรมอนามัยแลว รายละเอียดขอมูลที่สำคัญในการบันทึก/เพิ่มขอมูลในระบบฯ ไดแกคาพิกัดทางภูมิศาสตร
(GPS) ของสถานประกอบการดานอาหารแตละแหงหมายถึง คาละติจูด และคาลองติจูด เปนขอมูลที่จำเปน
ในการกำหนดจุดที่ตั้งของสถานประกอบการบนแผนที่ (Mapping) ในระบบฯ หากขอมูลที่เก็บรวบรวมไว
ยังไมมีคาพิกัดทางภูมิศาสตร (GPS) ผูใช (User) สามารถสืบคนขอมูลดังกลาว (จุดที่ตั้งสถานประกอบการ
หรือสถานที่ใกลเคียง) ไดจาก Google Map ซึ่งเปนวิธีการที่งายที่สุดในการหาคาพิกัดทางภูมิศาสตร โดยผูใช
สามารถสืบคนได 2 วิธีการ คือการสืบคนขอมูลผาน Application บนเครื่องโทรศัพทมือถือ (Google Apps)
และทาง PC Computer ที่เชื่อตอสัญญาณเครื่องขาย (Network)

1. การลงชื่อ (Login) เพื่อเขาใชงานระบบฯ จาก PC Computer


1. จากจอภาพปกติของ PC Computer ที่เชื่อตอกับสัญญาฯเครือขาย (Network) เลือก Icon
Google Chrome ดังภาพที่ 5.1

ภาพที่ 5.1
2. เปดใชงานระบบฯ โดยการใส URL Link www.hpcnet.dusit.ac.th/moph/ ดังภาพที่ 5.2

25
ภาพที่ 5.2
3. เขาสูระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ดังภาพที่ 5.3

ภาพที่ 5.3
4. จากภาพที่ 5.3 เลือก Sing in เพื่อเรียกใชงานระบบฯ ดังแสดงในภาพที่ 5.4

ภาพที่ 5.4

26
5. จากภาพที่ 5.4 ใส User Name และ Password ในชองชื่อผูใช (User name) และรหัสผาน
(Password) แลวเลือก ยืนยัน เพื่อเปนการยืนยันการเขาใชงานในระบบฯดังภาพที่ 5.5

ภาพที่ 5.5
6. เมื่อดำเนินการตามขอ 5 เรียบรอยแลวจะเขาสูเมนูการใชงานระบบฯ ดังภาพที่ 5.6

ภาพที่ 5.6
7. ระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ สำหรับใชงานบน PC Computer ประกอบดวย
เมนูการใชงาน 6 เมนู คือ
1) หนาหลัก
2) ผลตรวจแบคทีเรีย
3) นำเขาขอมูล
4) ปรับปรุงฐานขอมูล
5) รายงาน
6) ดาวนโหลด
7) ออกจากระบบ
ซึ่งจะไดอธิบายวิธีการใชงานระบบฯ แตละเมนูตามรายละเอียดตอไปนี้
2. หนาหลัก
หนาหลักเปนการแสดงโครงสรางและเมนูการทำงานตางๆ ของระบบฯ เพื่อใหผูใช (User) ทราบ
รายละเอียดขอมูลดานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ที่มีในระบบฯดังภาพที่ 5.6

27
3. การปอนขอมูลและแกไข/ปรับปรุงและบันทึกขอมูลผลตรวจทางแบคทีเรีย
เมนูแบบทดสอบแบคทีเรีย เปนเมนูทม่ี ไี วเพือ่ ใหผใู ช (User) ปอนขอมูลและแกไข/ปรับปรุงผลการตรวจ
ทางแบคทีเรีย (โดยใชชุดทดสอบการปนเปอนโคลิฟอรมแบคทีเรียขั้นตน (SI-2)) ของตัวอยางอาหาร ภาชนะ
สัมผัสอาหาร และมือผูสัมผัสอาหาร จากรานอาหารและแผงลอยจำหนายอาหาร ที่ไดจากการตรวจแนะนำ
สุขาภิบาลอาหารโดยใช Smart Phone หรือ Tablet และแบบตรวจแนะนำสุขาภิบาลอาหาร ของกรมอนามัย
โดยมีขั้นตอนการทำงานดังนี้คือ
1. จากจอภาพของระบบฯ ในภาพที่ 5.7 เลือกเมนูแบบทดสอบแบคทีเรีย ระบบฯ จะแสดงเมนูยอย
ใหเลือก 2 เมนูใหผูใช (User) เลือกปอนหรือแกไขขอมูลผลตรวจทางแบคทีเรียคือ รานอาหาร และแผงลอย
จำหนายอาหาร

ภาพที่ 5.7
2. เมือ่ เลือกเมนูยอ ย รานอาหารหรือแผงลอยจำหนายอาหารแลว จะปรากฏดังภาพที่ 5.8 ใหผใู ช (User)
ใสเลขที่สถานประกอบการ (เลขที่รานอาหาร) ที่ตองการปอนหรือแกไขขอมูลผลตรวจทางแบคทีเรีย ซึ่งเปน
ตัวเลข 8 หลัก (ตามคำอธิบายในบทที่ 4 หัวขอ การปอนและบันทึกขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร
ขอ 5) ดังภาพที่ 5.9

ภาพที่ 5.8

28
ภาพที่ 5.9
3. เมื่อดำเนินการตามภาพที่ 5.9 แลวกด Enter ระบบฯ จะแสดงรายละเอียดการทำงานสวนนี้
ดังภาพที่ 5.10 ซึ่งประกอบดวย
- รายละเอียดสถานประกอบการ (รานอาหาร)
- วันที่เก็บตัวอยาง (เก็บตัวอยางเมื่อ)
- ผลการตรวจสอบอาหาร
- ผลการตรวจสอบภาชนะ
- ผลการตรวจสอบมือ

ภาพที่ 5.10
4. ในสวนของรายละเอียดสถานประกอบการคือ สวนที่แสดงชื่อสถานประกอบการ และชื่อเจาของ
สถานประกอบการ เพื่อยืนยันความถูกตองของ เลขที่สถานประกอบการกับชื่อสถานประกอบการและ
เชื่อเจาของ และในสวนเก็บตัวอยางเมื่อ จะเปนสวนที่แสดงรายละเอียด วันที่และเวลาเก็บตัวอยาง เพื่อให
ผูใช (User) ปอนหรือแกไขขอมูล ดังภาพที่ 5.11

29
ภาพที่ 5.11
5. ในสวนของรายละเอียดสถานประกอบการคือ สวนที่แสดงชื่อสถานประกอบการ และชื่อเจาของ
สถานประกอบการ เพื่อยืนยันความถูกตองของ เลขที่สถานประกอบการกับชื่อสถานประกอบการและเชื่อ
เจาของ และในสวนเก็บตัวอยางจะเปนสวนที่แสดงรายละเอียด วันที่และเวลาเก็บตัวอยาง เพื่อใหผูใช (User)
ปอนหรือแกไขขอมูล ดังภาพที่ 5.11
6. เมื่อปอนขอมูล วันที่และเวลาที่เก็บตัวอยาง เสร็จเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปคือการปอนขอมูล
ผลตรวจทางแบคทีเรียตัวอยางอาหาร ซึ่งระบบฯ จะแสดงรายละเอียดใหผูใชสามารถบันทึกชื่อตัวอยางอาหาร
และผลตรวจทางแบคทีเรียได 5 ตัวอยาง โดยใหใสชื่อตัวอยางอาหาร ในชอง ตัวอยาง และเลือกผลตรวจ
ตัวอยางวาเปน บวก (Positive) หมายถึงพบการปนเปอนโคลิฟอรมแบคทีเรีย หรือลบ (Negative) หมายถึง
ไมพบการปนเปอนโคลิฟอรมแบคทีเรียดังภาพที่ 5.12 กรณีที่เก็บตัวอยางอาหารไดไมครบ 5 ตัวอยาง เชน
เก็บตัวอยางอาหารไดเพียง 3 ตัวอยาง ในชองตัวอยางอาหาร ลำดับที่ 4 และ 5 ใหใสคำวา None ซึ่งหมายถึง
ไมมีตัวอยางอาหาร และในชองที่เลือกผลตรวจตัวอยาง ใหเลือก ลบ

ภาพที่ 5.12
7. การปอนขอมูลผลตรวจตัวอยางภาชนะสัมผัสอาหารทางแบคทีเรีย ระบบฯ จะแสดงรายละเอียด
ใหผใู ชสามารถบันทึกตัวอยางภาชนะสัมผัสอาหารและผลตรวจทางแบคทีเรียได 3 ตัวอยาง โดยใหใสชอ่ื ตัวอยาง
ภาชนะ ในชอง ตัวอยาง และเลือกผลตรวจตัวอยางวาเปน บวก (Positive) หมายถึงพบการปนเปอน
โคลิฟอรมแบคทีเรีย หรือลบ (Negative) หมายถึงไมพบการปนเปอนโคลิฟอรมแบคทีเรียดังภาพที่ 5.13

30
ภาพที่ 5.13
8. การปอนขอมูลผลตรวจตัวอยางมือผูสัมผัสอาหารทางแบคทีเรีย ระบบฯ จะแสดงรายละเอียด
ใหผูใชสามารถบันทึกตัวอยางมือผูสัมผัสอาหารและผลตรวจทางแบคทีเรียได 2 ตัวอยาง โดยใหใสชื่อ
ตัวอยางมือผูสัมผัสอาหาร ในชอง ตัวอยาง เชน เรณู (ป) หมายถึง มือของผูปรุงอาหารชื่อเรณูและเลือก
ผลตรวจตัวอยางวาเปน บวก (Positive) หมายถึงพบการปนเปอนโคลิฟอรมแบคทีเรีย หรือลบ (Negative)
หมายถึงไมพบการปนเปอนโคลิฟอรมแบคทีเรียดังภาพที่ 5.14

ภาพที่ 5.14
9. เมื่อปอนขอมูลครบทุกขั้นตอนแลว ใหผูใช (User) เลือกปุมยืนยันผลการตรวจ เพื่อเปนการบันทึก
ขอมูลผลตรวจทางแบคทีเรียของสถานประกอบการ (รานอาหาร) ที่ดำเนินการในขณะนั้น ดังภาพที่ 5.14
หมายเหตุ : การคำนวณผลการตรวจตัวอยางทางแบคทีเรียของตัวอยางที่เก็บของสถานประกอบการ
แตละแหง ระบบฯ จะคำนวณจากจำนวนตัวอยางทั้งหมด ดังนั้น จึงจำเปนตองปอนขอมูลใหครบทุกชอง
(จำนวนตัวอยางทั้งสิ้น 10 ตัวอยาง ประกอบดวย ตัวอยางอาหาร 5 ตัวอยาง ภาชนะอุปกรณ 3 ตัวอยาง
และมือผูสัมผัสอาหาร 2 ตัวอยาง) โดยจะคำนวณการผานเกณฑการตรวจทางแบคทีเรียของสถานประกอบการ
แตละแหง รอยละ 90 จากจำนวนตัวอยางทั้งสิ้น)

31
4. การปอนและบันทึกขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร
การทำงานในเมนูการปอนขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร บน PC Computer ที่เชื่อมตอ
สัญญาณเครือขาย (Network) ประกอบดวยเมนูยอย (ภาพที่ 5.15) ดังนี้
- รานอาหาร
- แผงลอยจำหนายอาหาร
- ตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1)
- ตลาดนัด (ตลาดประเภทที่ 1)
- น้ำประปาดื่มได
หมายเหตุ : เนื่องจากเมนูน้ำประปาดื่มได เปนสวนที่อยูระหวางการพัฒนาระบบการปอน แกไข/
ปรับปรุง และการแสดงผลและพิมพรายงาน ดังนั้น จึงยังไมไดอธิบายวิธีการใชงานเมนูน้ำประปาดื่มได
ไวในคูมือการใชงานฯ ฉบับนี้และเนื่องจากวิธีการปอนขอมูลสถานประกอบการประเภทรานอาหาร และ
แผงลอยจำหนายอาหาร มีลักษณะการทำงานเหมือนกัน ดังนั้น ในคูมือฉบับนี้จึงอธิบายวิธีการปอนขอมูล
สถานประกอบการประเภทรานอาหาร และแผงลอยจำหนายอาหารจากตัวอยางแบบตรวจรานอาหาร

ภาพที่ 5.15
1. จากภาพที่ 5.15 เมื่อตองการปอนขอมูลสถานประกอบการประเภทรานอาหารหรือแผงลอย
จำหนายอาหาร เชน ใหเลือกที่เมนูแบบสำรวจรานอาหาร
2. การปอนขอมูลรานอาหารหรือแผงลอยจำหนายอาหาร จะประกอบดวยเมนูการทำงาน 4 เมนูยอย
ประกอบดวย 1) รายละเอียดรานอาหาร 2) ขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหาร 3) ปายรับรอง/ประกาศนียบัตร
ที่เคยไดรับและแสดงอยูปจจุบัน 4) ภาพถายรานอาหาร ดังภาพที่ 5.16

32
ภาพที่ 5.16
3. จากภาพที่ 5.16 ระบบฯ จะแสดงลำดับที่ (ในระบบฯ) ของรานอาหาร หรือแผงลอยจำหนาย
อาหารไวดานบนซายมือของจอภาพ เชน รานอาหารเลขที่ 00210254 (เลขที่สถานประกอบการมีจำนวน
8 หลัก แบงเปน เลข 4 ตัวแรก คือลำดับที่ของผูใชงานระบบฯ เชน 0021 และเลข 4 ตัวหลัง คือ ลำดับ
ของข อ มู ล สถานประกอบการประเภทนั ้ น ๆ ที ่ ไ ด บ ั น ทึ ก ในระบบฯ เช น 0254 โดยเลขที ่ ร  า นอาหาร
(สถานประกอบการ) จะมีความสำคัญในการนำไปใชปอนขอมูลแบคทีเรีย
4. จากภาพที่ 5.16 ผูใช (User) สามารถปอนขอมูลสถานประกอบการในระบบตามรายละเอียด
ที ่ แ สดงบนจอภาพโดยต อ งบั น ทึ ก รายละเอี ย ดข อ มู ล สถานประกอบการให ค รบถ ว น (ช อ งที ่ ร ะบบแสดง
เครื่องหมาย ***** หมายถึงตองบันทึกรายละเอียดขอมูลสวนนี้ในระบบฯ)
หมายเหตุ : คาพิกัดทางภูมิศาสตร (GPS) ที่แสดงตำแหนงที่อยูปจจุบันของสถานประกอบการ
ซึ่งหมายถึง คาละติจูดและลองติจูดเปนขอมูลที่จำเปนตองใชในการแสดงตำแหนงที่ตั้งสถานประกอบการ
บนแผนที ่ (Google map) หากขอมูลสถานประกอบการที ่ จะนำเข า ในระบบฯ ยั ง ไม ม ี ก ารเก็ บค า พิ กั ด
ทางภูมิศาสตร ผูใช (User) สามารถหาขอมูลดังกลาวฯ ไดตามวิธีการที่อธิบายไวในภาคผนวก ก และ ข
5. เมื่อปอนขอมูลรายละเอียดสถานประกอบการเสร็จเรียบรอย ใหผูใช (User) เลือกบันทึกขอมูล
ขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหาร ทั้งนี้ผูใช (User) สามารถบันทึกหมายเหตุหรือขอสังเกตตามรายขอกำหนด
และคำแนะนำภาพรวมได ดังภาพที่ 5.17และ 5.18

ภาพที่ 5.17

33
ภาพที่ 5.18
6. เมือ่ ปอนขอมูลขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหารเสร็จเรียบรอย ใหผใู ช (User) เลือกเมนู ปายรับรอง/
ประกาศนียบัตรที่เคยไดรับและแสดงอยูปจจุบันและเลือกรายการปายรับรองฯ ที่สถานประกอบการไดรับ
ดังภาพที่ 5.19

ภาพที่ 5.19
7. เมื่อปอนขอมูลปายรับรอง/ประกาศนียบัตรที่เคยไดรับและแสดงอยูปจจุบันใหผูใช (User) เลือก
เมนูภาพถายแลวถายภาพสถานประกอบการตามคำอธิบายใตภาพทั้ง 9 ภาพ ดังภาพที่ 5.20

ภาพที่ 5.20

34
8. เมื่อปอนขอมูลถายภาพสถานประกอบการตามคำอธิบายใตภาพทั้ง 9 ภาพ ผูใช (User) ตอง
เลือกภาพถายจาก Drive ที่เก็บภาพถายสถานประกอบการไว ดังตัวอยางตามภาพที่ 5.21

ภาพที่ 5.21
9. เมื่อเพิ่มภาพถายเสร็จเรียบรอย ใหผูใช (User) เลือกบันทึก เพื่อเปนการยืนยันการบันทึกขอมูล
ในระบบฯ ดังภาพที่ 5.22

ภาพที่ 5.22
10. การปอนขอมูลสถานประกอบการดานอาหารประเภทตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1) และตลาดนัด
(ตลาดประเภทที่ 2) ในระบบฯ จะมีวิธีการทำงานเชนเดียวกับตัวอยางการบันทึกขอมูลรานอาหาร ตั้งแต
ขอ 1-9 เพียงแตจะมีขอมูลรายละเอียดบางสวนที่แตกตางจากรานอาหารและแผงลอยจำหนายอาหาร
ดังนี้
- ตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1) ประกอบดวยเมนูยอ ย 7 เมนูคอื 1) รายละเอียดตลาด 2) รายละเอียด
เจาของ/ผูบริหาร 3) แบบประเมินการพัฒนาและยกระดับตลาดสด นาซื้อ ดานสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม
4) คำแนะนำดานสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม 5) แบบประเมินการพัฒนาและยกระดับตลาดสด นาซื้อ ดานความ
ปลอดภัยอาหาร 6) ปายรับรองหรือประกาศนียบัตรที่เคยไดรับและแสดงอยูปจจุบัน และ 7) ภาพถาย
ดังภาพที่ 5.23

35
- ตลาดนั ด (ตลาดประเภทที ่ 2) ประกอบด ว ยเมนู ย  อ ย 5 เมนู ค ื อ 1) รายละเอี ย ดตลาดนั ด
2) รายละเอียดผูรับใบอนุญาต/ผูรับผิดชอบดูแล 3) แบบประเมินการพัฒนาและยกระดับตลาดนัด นาซื้อ
4) ปายรับรองหรือประกาศนียบัตรที่เคยไดรับและแสดงอยูปจจุบัน และ5) ภาพถาย ดังภาพที่ 5.24

ภาพที่ 5.23

ภาพที่ 5.24
5. การปรับปรุง/แกไขขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร
การปรับปรุง/แกไขขอมูลสถานประกอบการ เปนเมนูสำหรับใหผูใช (User) ทำการปรับปรุง/แกไข
ขอมูลสถานประกอบการ ที่นำเขาในระบบฯ ทั้งจากเครื่อง Smart Phone หรือ Tablet และนำเขาใน
ระบบฯ จาก PC Computer ที่เชื่อมตอระบบเครือขาย (Network) ซึ่งประกอบดวยเมนูยอ (ดังภาพที่ 5.25)
ดังนี้
- รานอาหาร
- แผงลอยจำหนายอาหาร
- ตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1)
- ตลาดนัด (ตลาดประเภทที่ 2)
- น้ำประปาดื่มได
- ผูเชี่ยวชาญ

36
หมายเหตุ : วิธีปรับปรุง/แกไขขอมูลสถานประกอบการประเภทรานอาหาร แผงลอยจำหนายอาหาร
ตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1) และตลาดนัด (ตลาดประเภทที่ 2) มีลักษณะการทำงานเหมือนกัน ดังนั้น
ในคูมือฉบับนี้จึงอธิบายวิธีการปรับปรุง/แกไขขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร จากตัวอยางแบบสำรวจ
รานอาหาร

ภาพที่ 5.25
1. จากภาพที่ 5.25 เมื่อตองการปรับปรุง/แกไขขอมูลสถานประกอบการดานอาหารประเภทใด
ใหเลือกที่เมนูยอยนั้นๆ เชน รานอาหาร ดังภาพที่ 5.26

ภาพที่ 5.26
2. เมื ่ อ เลื อ กเมนู ย  อ ยประเภทสถานประกอบการด า นอาหาร จะปรากฏรายละเอี ย ด ดั ง ภาพที ่
5.27

37
ภาพที่ 5.27
3. ภาพที่ 5.27 จะแสดงขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร ซึ่งผูใช (User) เปนผูนำเขาขอมูลไวใน
ระบบฯ ตามประเภทสถานประกอบการดานอาหารที่เลือก หากตองการปรับปรุง/แกไขขอมูลเฉพาะบางพื้นที่
เชน บางจังหวัด อำเภอหรือ ตำบล สามารถเลือกเฉพาะพื้นที่ได จากนั้นใหกดที่ปุมคนหา ระบบฯ จะคนหา
ขอมูลตามที่ตองการและแสดงใหผูใช (User) เลือกปรับปรุง/แกไข ดังภาพที่ 5.28 5.29 และ 5.30

ภาพที่ 5.28

ภาพที่ 5.29

38
ภาพที่ 5.30
4. เมื ่ อ ต อ งการแก ไขข อ มู ล สถานประกอบการรายการใด ก็ ใ ห เ ลื อ กรายการข อ มู ล นั ้ น แล ว กด
Double Click ระบบฯ จะแสดงเมนูใหเลือกยืนยันความตองการ 2 เมนูคือ แกไขขอมูล และลบขอมูล ดังภาพ
ที่ 5.31 หากตองการปรับปรุง/แกไขขอมูลก็ใหเลือกที่เมนูแกไขขอมูล ระบบฯ จะแสดงรายละเอียดใหทำงาน
ตอดังภาพที่ 5.34 และหากตองการลบขอมูลออกจากระบบฯ ก็ใหเลือกที่เมนูลบขอมูล

ภาพที่ 5.31
5. จากภาพที่ 5.31 หากตองการลบขอมูลออกจากระบบฯ ก็ใหเลือกที่เมนูลบขอมูล ดังภาพที่ 5.32
แลวระบบฯ จะแสดงจอภาพใหยืนยันการลบขอมูล ดังภาพที่ 5.33 หากกดเลือกปุมตกลง ระบบฯ จะทำการ
ลบขอมูลรายการที่เลือกนั้นออกจากระบบทันที แตหากเลือกปุมยกเลิก ระบบฯ ก็จะกลับสูจอภาพการแกไข
ขอมูลดังภาพที่ 5.27

39
ภาพที่ 5.32

ภาพที่ 5.33
6. จากภาพที่ 5.31 หากตองการปรับปรุง/แกไขขอมูลก็ใหเลือกที่เมนูแกไขขอมูล ระบบฯ จะแสดง
รายละเอียดใหทำงานตอดังภาพที่ 5.34

ภาพที่ 5.34
หมายเหตุ : เนื่องจากวิธีการปรับปรุง/แกไขขอมูลสถานประกอบการประเภทรานอาหาร และแผงลอย
จำหนายอาหาร มีลักษณะการทำงานเหมือนกัน ดังนั้น ในคูมือฉบับนี้จึงอธิบายวิธีการปรับปรุง/แกไขขอมูล
สถานประกอบการประเภทรานอาหาร และแผงลอยจำหนายอาหารจากตัวอยางรานอาหาร

40
7. จากภาพที่ 5.34 จะพบเมนูยอยของรายการขอมูลที่ผูใชสามารถปรับปรุง/แกไขได 4 เมนูคือ
- รายละเอียดรานอาหาร (สถานประกอบการ)
- ขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหาร
- ประกาศนียบัตรที่ไดรับ
- ภาพถายรานอาหาร (สถานประกอบการ)
ในการนี้ ผูใช (User) สามารถปรับปรุง/แกไขรายละเอียดขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร
(รานอาหาร) ที่เลือกไดทุกรายการขอมูล และมีวิธีการทำงานเชนเดียวกับการปอนขอมูลสถานประกอบการ
ดานอาหาร ในระบบฯ ดังภาพที่ 5.35 ถึงภาพที่ 5.38

ภาพที่ 5.35

ภาพที่ 5.36

41
ภาพที่ 5.37

ภาพที่ 5.38
8. เมื่อดำเนินการปรับปรุง/แกไขข อ มู ล เสร็ จเรี ย บร อ ยแล ว ให ย ื นยั นกั นปรั บปรุ ง /แก ไขข อ มู ล
โดยการบันทึกขอมูลในระบบฯ โดยกดปุมบันทึก ดังภาพที่ 5.39 ทั้งนี้ หากเลือกกดปุมยกเลิก ระบบฯ
จะไมบันทึกขอมูลที่ปรับปรุง/แกไข และจะทำใหขอมูลที่ผูใช (User) เรียกใชงานในครั้งตอไปยังมีรายละเอียด
เชนเดิม

ภาพที่ 5.39

42
บทที่ 6
การแสดงผลและการพิมพรายงาน
ขอมูลสถานประกอบการดานอาหาร
การแสดงผล และการพิมพรายงาน เปนเมนูที่มีไวเพื่อใชในการเรียกดูรายงานขอมูลสถานประกอบการ
ดานอาหารที่มีในระบบฯ ซึ่งสามารถดูไดทั้งการแสดงผลบนจอภาพ และการพิมพรายงานขอมูล โดยผูใช
สามารถเรี ย กใช ง านได จ ากเมนู ร ายงาน ซึ ่ ง จะประกอบด ว ยเมนู น ย อ ย 4 เมนู ค ื อ ร า นอาหาร แผงลอย
จำหนายอาหาร ตลาดสด (ตลาดประเภทที่ 1) และตลาดนัด (ตลาดประเภทที่ 2) ดังภาพที่ 6.1
1. การแสดงผลและพิมพรายงานขอมูลสถานประกอบการ
1. จากเมนูหลักการทำงานของระบบฯ เมื่อผูใช (User) ตองการจะใหระบบฯ แสดงผลหรือพิมพ
รายงานขอมูล ใหเลือกที่เมนูรายงาน แลวเลือกเมนูยอยตามประเภทสถานประกอบการที่ตองใหใหระบบฯ
แสดงผล เชน รานอาหาร ดังภาพที่ 6.1

ภาพที่ 6.1
2. ระบบฯ จะแสดงเมนูรูปแบบการแสดงผลไว 3 รูปแบบ ประกอบดวย รายงานขอมูล รายงาน
แผนที่ และกราฟ ดังภาพที่ 6.2

ภาพที่ 6.2

43
3. จากภาพที่ 6.2 เมื่อตองการใหระบบแสดงรายงานขอมูล ใหเลือกที่เมนูยอยรายงานขอมูล
ระบบฯ จะแสดงเมนูการแสดงผลไว 3 เมนู ประกอบดวย รายงานขอมูล รายงานขอมูลที่ไมผานขอกำหนด
ดานสุขาภิบาลอาหาร และรายงานขอมูลผลตรวจทางแบคทีเรีย ดังภาพที่ 6.3

ภาพที่ 6.3
4. เมื่อตองการใหระบบฯ แสดงผล ขอมูลรายงานตามเมนูใด ก็ใหเลือกที่เมนูนั้น ดังภาพที่ 6.3
จากนั้นระบบฯ จะแสดงขอมูลรายละเอียดของสถานประกอบการตามที่เลือก ดังภาพที่ 6.4

ภาพที่ 6.4
5. จากภาพที่ 6.4 เมื่อเลื่อนไปดานลางสุดของจอภาพ จะพบเมนูใหเลือกพิมพรายงาน 2 เมนู คือ
พิมพรายงานทั้งหมด และพิมพ QR-Code ทั้งหมด ดังภาพที่ 6.5

44
ภาพที่ 6.5
6. จากภาพที่ 6.5 หากตองการพิมพรายงานทั้งหมด ใหเลือกพิมพรายงานทั้งหมด ระบบฯ จะ
ประมวลผลและแสดงขอมูลในรูปแบบเชนเดียวกับแบบตรวจสุขาภิบาลอาหารของขอมูลทั้งหมดที่ผูใช (User)
เลือก ดังภาพที่ 6.6

ภาพที่ 6.6
7. จากภาพที่ 6.6 ระบบจะแสดงรายการใหผูใช (User) สามารถเลือกใชงานไดดังนี้ การบันทึกขอมูล
(Save) ในรูปแบบของแฟมเอกสาร (PDF File) การพิมพรายงานออกทางเครื่องพิมพ การเลื่อนดูตัวอยาง
รายงานขึ้น-ลง การขยายและลดขนาดจอภาพ
8. ผูใ ช (User) สามารถเลือกทำรายการตามขอ 7 ได โดยหากเลือกบันทึกขอมูล (Save) ระบบฯ จะให
เลือก Drive ทีเ่ ก็บขอมูล และตัง้ ชือ่ File ดังแสดงในภาพที่ 6.7 หากเลือกพิมพรายงาน ระบบฯ จะพิมพรายงาน
ขอมูลดังกลาวฯ ออกทางเครื่องพิมพที่เชื่อมตอกับเครื่องพิมพ (Printer) ไว

45
ภาพที่ 6.7
9. หากตองการพิมพ QR-Code ทั้งหมด ใหเลือกพิมพ QR-Code ทั้งหมด ระบบฯ จะประมวลผล
และแสดงภาพ QR-Code ของขอมูลสถานประกอบการทั้งหมดที่ผูใช (User) เลือก ดังภาพที่ 6.8 และ
ภาพที่ 6.9

ภาพที่ 6.8

ภาพที่ 6.9

46
10. จากภาพที่ 6.9 ระบบจะแสดงรายการใหผูใช (User) สามารถเลือกใชงานไดดังนี้ การบันทึก
ขอมูล (Save) ในรูปแบบของแฟมเอกสาร (PDF File) การพิมพ QR-Code ออกทางเครื่องพิมพ การเลื่อนดู
ตัวอยางรายงานขึ้น-ลง การขยายและลดขนาดจอภาพ
11. ผูใช (User) สามารถเลือกทำรายการตามขอ 11 ได โดยหากเลือกบันทึกขอมูล (Save) ระบบฯ
จะใหเลือก Drive ที่เก็บขอมูล และตั้งชื่อ File หากเลือกพิมพรายงาน ระบบฯ จะพิมพ QR-Code ขอมูล
ดังกลาวฯ ออกทางเครื่องพิมพที่เชื่อมตอกับเครื่องพิมพ (Printer) ไว
13. หากตองการรายงานขอมูลเฉพาะรายการทีเ่ ลือก ใหเลือ่ นไปเลือกรายการขอมูลสถานประกอบการ
ที่ตองการพิมพรายงาน แลวกด Double Click ดังภาพที่ 6.10

ภาพที่ 6.10
14. จากขอ 10 ระบบฯ จะประมวลผลและแสดงเมนูใหเลือกแสดงผลและพิมพรายงาน 2 เมนู คือ
รายงาน และ QR-Code ดังภาพที่ 6.11

ภาพที่ 6.11
15. จากภาพที่ 6.11 หากตองการพิมพรายงาน ระบบฯ จะประมวลผลและแสดงขอมูลในรูปแบบ
เชนเดียวกับแบบตรวจสุขาภิบาลอาหารของขอมูลสถานประกอบการที่ผูใช (User) เลือก ดังภาพที่ 6.12

47
ภาพที่ 6.12
16. จากภาพที่ 6.12 ระบบจะแสดงรายการใหผูใช (User) สามารถเลือกใชงานไดดังนี้ การบันทึก
ขอมูล (Save) ในรูปแบบของแฟมเอกสาร (PDF File) การพิมพรายงานออกทางเครื่องพิมพ การเลื่อนดู
ตัวอยางรายงานขึ้น-ลง การขยายและลดขนาดจอภาพ
17. ผูใช (User) สามารถเลือกทำรายการตามขอ 13 ได โดยหากเลือกบันทึกขอมูล (Save) ระบบฯ
จะใหเลือก Drive ที่เก็บขอมูล และตั้งชื่อ File ดังแสดงในภาพที่ 6.13 หากเลือกพิมพรายงาน ระบบฯ
จะพิมพรายงานขอมูลดังกลาวฯ ออกทางเครื่องพิมพที่เชื่อมตอกับเครื่องพิมพ (Printer) ไว

ภาพที่ 6.13
18. หากผูใช (User) ตองการพิมพ QR-Codeของขอมูลสถานประกอบการ ใหเลือกเมนู QR-Code
ดังภาพที่ 6.14

48
ภาพที่ 6.14
19. จากภาพที่ 6.14 ระบบฯ จะประมวลผลและแสดง QR-Code ของขอมูลสถานประกอบการที่
ผูใช (User) เลือก ดังภาพที่ 6.15

ภาพที่ 6.15
20. จากภาพที่ 6.15 ระบบจะแสดงรายการใหผูใช (User) สามารถเลือกใชงานไดดังนี้ การบันทึก
ขอมูล (Save) ในรูปแบบของแฟมเอกสาร (PDF File) การพิมพ QR-Code ออกทางเครื่องพิมพ การเลื่อนดู
ตัวอยางรายงานขึ้น-ลง การขยายและลดขนาดจอภาพ
21. ผูใช (User) สามารถเลือกทำรายการตามขอ 11 ได โดยหากเลือกบันทึกขอมูล (Save) ระบบฯ
จะใหเลือก Drive ที่เก็บขอมูล และตั้งชื่อ File หากเลือกพิมพรายงาน ระบบฯ จะพิมพ QR-Codeขอมูล
ดังกลาวฯ ออกทางเครื่องพิมพที่เชื่อมตอกับเครื่องพิมพ (Printer) ไว
22. เมื่อตองการใหระบบแสดงรายงานขอมูลสถานประกอบการที่ไมผานขอกำหนดดานสุขาภิบาล
อาหาร ใหเลือกที่เมนูยอยรายงานขอมูลสถานประกอบการที่ไมผานขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหาร
ดังภาพที่ 6.16

49
ภาพที่ 6.16
23. จากภาพที่ 6.16 ระบบฯ จะประมวลผล และแสดงขอมูลสถานประกอบการที่ไมผานขอกำหนด
ดานสุขาภิบาลอาหาร ตามที่เลือก ดังภาพที่ 6.17

ภาพที่ 6.17
24. จากภาพที่ 6.17 หากตองการพิมพรายงาน ใหเลือกที่ปุม พิมพรายงาน ระบบฯ จะประมวลผล และแสดง
ขอมูล ดังภาพที่ 6.18

50
ภาพที่ 6.18
25. จากภาพที่ 6.18 ระบบจะแสดงรายการใหผูใช (User) สามารถเลือกใชงานไดดังนี้ การบันทึก
ขอมูล (Save) ในรูปแบบของแฟมเอกสาร (PDF File) การพิมพขอมูลออกทางเครื่องพิมพ การเลื่อนดูตัวอยาง
รายงานขึ้น-ลง การขยายและลดขนาดจอภาพ
26. ผูใช (User) สามารถเลือกทำรายการตามขอ 25 ได โดยหากเลือกบันทึกขอมูล (Save) ระบบฯ
จะใหเลือก Drive ทีเ่ ก็บขอมูล และตัง้ ชือ่ File หากเลือกพิมพรายงาน ระบบฯ จะพิมพขอ มูลสถานประกอบการ
ที่ไมผานขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหารดังกลาวฯ ออกทางเครื่องพิมพที่เชื่อมตอกับเครื่องพิมพ (Printer) ไว
27. เมื่อตองการใหระบบแสดงรายงานขอมูลผลตรวจทางแบคทีเรีย ใหเลือกที่เมนูยอยรายงานขอมูล
ผลตรวจทางแบคทีเรีย ดังภาพที่ 6.19

ภาพที่ 6.19
28. จากภาพที่ 6.19 ระบบฯ จะประมวลผล และแสดงขอมูลผลตรวจทางแบคทีเรีย ตามที่เลือก
ดังภาพที่ 6.20

51
ภาพที่ 6.20
29. จากภาพที่ 6.20 หากตองการพิมพรายงาน ใหเลือกที่ปุม พิมพรายงาน ระบบฯจะประมวลผล
และแสดงขอมูล ดังภาพที่ 6.21

ภาพที่ 6.21
30. จากภาพที่ 6.21 ระบบจะแสดงรายการใหผูใช (User) สามารถเลือกใชงานไดดังนี้ การบันทึก
ขอมูล (Save) ในรูปแบบของแฟมเอกสาร (PDF File) การพิมพขอมูลออกทางเครื่องพิมพ การเลื่อนดูตัวอยาง
รายงานขึ้น-ลง การขยายและลดขนาดจอภาพ
31. ผูใช (User) สามารถเลือกทำรายการตามขอ 25 ได โดยหากเลือกบันทึกขอมูล (Save) ระบบฯ
จะใหเลือก Drive ที่เก็บขอมูล และตั้งชื่อ File หากเลือกพิมพรายงาน ระบบฯ จะพิมพขอมูลผลตรวจทาง
แบคทีเรียดังกลาวฯ ออกทางเครื่องพิมพที่เชื่อมตอกับเครื่องพิมพ (Printer) ไว

2. การแสดงผลและพิมพรายงานแผนที่สถานประกอบการ
การแสดงผลและพิมพรายงานแผนที่สถานประกอบการ คือการแสดงจุดที่ตั้งของสถานประกอบการ
บนแผนที่ทางภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS) เพื่อประโยชนตอการสืบคนขอมูลที่ตั้ง
และภาพเชิงประจักษของสถานประกอบการ โดยวิธีการใชงานระบบฯ ดังรายละเอียดตอไปนี้

52
1. เมื่อเขาใชงานระบบฯ เรียบรอยแลว ใหเลือกที่เมนูรายงาน ระบบฯ จะแสดงเมนูการแสดง ผลไว
3 เมนู ประกอบดวย รายงานขอมูล รายงานแผนที่ และรายงานกราฟ ใหเลือกรายงานแผนที่ ดังภาพที่
6.22

ภาพที่ 6.22
2. จากภาพที่ 6.22 ระบบฯ จะแสดงแผนที่ประเทศไทย ดังภาพที่ 6.23 จากนั้นใหผูใช (User)
สามารถเลือกคนหาขอมูลจากเมนูตางๆ ที่มีให ไดแก คนหาขอมูลทั้งหมด หรือขอมูลรายจังหวัด รายอำเภอ
รายตำบล จากนั้นใหเลือกคนหา ระบบฯ จะประเมินผลและแสดงขอมูลที่ตั้งสถานประกอบการดังภาพ

ภาพที่ 6.23
3. จากภาพที่ 6.23 เมื่อตองการใหระบบฯ แสดงรายละเอียดของขอมูลสถานประกอบการใด ก็ให
เลือกที่ Icon ที่แสดงสัญลักษณสถานประกอบการบนแผนที่ แลวกด Double Click ระบบฯ จะแสดง
รายละเอียดขอมูลดังภาพที่ 6.24

53
ภาพที่ 6.24
4. ปจจุบันการแสดงขอมูลสถานประกอบการบนแผนที่ทางภูมิศาสตรของระบบฯ จะแสดงเฉพาะ
ขอมูลของจุดที่ตั้ง ชื่อ และภาพถายสถานประกอบการ โดยในอนาคตจะไดพัฒนาตอในสวนของการแสดง
ขอมูลสรุปผลตรวจแนะนำสถานประกอบการตอไป

3. การแสดงผลและพิมพรายงานกราฟสถานประกอบการ
การแสดงผลและพิมพรายงานกราฟสถานประกอบการ คือการแสดงขอมูลสถานประกอบการดาน
อาหาร ในรูปแบบของกราฟ ดังรายละเอียดตอไปนี้
1. เมื่อเขาใชงานระบบฯ เรียบรอยแลว ใหเลือกที่เมนูรายงาน ระบบฯ จะแสดงเมนูการแสดง ผลไว 3
เมนู ประกอบดวย รายงานขอมูล รายงานแผนที่ และรายงานกราฟ ใหเลือกรายงานกราฟ ดังภาพที่ 6.25

ภาพที่ 6.25
2. จากภาพที ่ 6.25 ระบบฯ จะแสดงเมนู ย  อ ยเพื ่ อ แสดงผลข อ มู ล ในรู ป แบบของกราฟ 4 เมนู
ประกอบดวย คนหาสถานประกอบการ สรุปขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหารโดยรวม สรุปขอกำหนดดาน
สุขาภิบาลอาหารสำหรับสถานประกอบการรายขอ และสรุปผลสำรวจทางแบคทีเรีย ดังภาพที่ 6.26

54
ภาพที่ 6.26
3. จากภาพที่ 6.26 เมนูยอยคนหาสถานประกอบการ คือเมนูที่ใหผูใช (User) เลือกคนหาขอมูล
จากเมนูตางๆ ที่มีให ไดแก คนหาขอมูลทั้งหมด หรือขอมูลรายจังหวัด รายอำเภอ รายตำบล จากนั้นให
เลือกคนหา
4. เมื่อตองการใหระบบแสดงรายงานสรุปขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหารโดยรวม ใหเลือกที่เมนู
สรุปขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหารโดยรวม ดังภาพที่ 2.26 ระบบฯ จะประมวลผลและแสดงรายละเอียด
ขอมูลออกมาในรูปแบบของกราฟ ทั้งที่เปนกราฟแทง และกราฟวงกลม ดังภาพที่ 6.27

ภาพที่ 6.27
5. เมื่อตองการใหระบบแสดงรายงานสรุปขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหารรายขอ ใหเลือกที่เมนู
สรุปขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหารรายขอ ดังภาพที่ 2.26 ระบบฯ จะประมวลผลและแสดงรายละเอียด
ขอมูลออกมาในรูปแบบของกราฟแทง จำแนกตามรายขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหาร ดังภาพที่ 6.28

55
ภาพที่ 6.28
6. เมื่อตองการใหระบบแสดงรายงานสรุปผลสำรวจทางแบคทีเรีย ใหเลือกที่เมนูสรุปผลตรวจทาง
แบคทีเรีย ดังภาพที่ 2.26 ระบบฯ จะประมวลผลและแสดงรายละเอียดขอมูลออกมาในรูปแบบของกราฟ
วงกลมที่แสดงผลตรวจอาหาร ภาชนะสัมผัสอาหาร และมือผูสัมผัสอาหาร ดังภาพที่ 6.29

ภาพที่ 6.29
4. การออกจากระบบ
การออกจากระบบ หมายถึง การที่ผูใช (User) ตองการเลิกการใชงานระบบฯ เพื่อไปปฏิบัติงาน
อยางอื่นหรือจบการทำงาน จากหนาจอหลักของระบบฯ ใหเลือกที่เมนูออกจากระบบ ดังภาพที่ 6.30

56
ภาพที่ 6.30

57
เอกสารอางอิง
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, คูมือการใชงานโปรแกรม FSMIS V.3,
พ.ศ. 2548
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, ระบบคลังขอมูลสถานประกอบกิจการ
ดานอาหารที่ถูกหลักสุขาภิบาลอาหารของประเทศไทย ปงบประมาณ 2556, พ.ศ.2556
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย. ขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหาร สำหรับรานอาหาร. กรุงทพฯ :
โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด. 2555.
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย. ขอกำหนดดานสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหนาย
อาหาร. กรุงทพฯ : โรงพิมพชุมนุนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด. 2556.
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย. โครงการตลาดสด นาซื้อ แบบประเมินการพัฒนาและยกระดับ
ตลาดสด นาซื้อ (ตล.1).
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย. โครงการตลาดนัด นาซื้อ แบบประเมินการพัฒนาและยกระดับ
ตลาดนัด นาซื้อ (ตล.2).

59
ภาคผนวก

รายนามที่ปรึกษาและคณะผูจัดทำ

ที่ปรึกษา

นางนันทกา หนูเทพ ผูอำนวยการสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ


ดร.ศิริลักษณ หลอพันธมณี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
นายชัยเลิศ กิ่งแกวเจริญชัย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
นางสาวนัยนา ใชเทียมวงศ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
นางจิรพรรณ พรหมลิขิตชัย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

คณะผูจัดทำ

นางสาวพาสนา ชมกลิ่น นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการ


นายพลาวัตร พุทธรักษ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
นายสมชาย สุวะไกร นักวิชาการสาธารณสุข

สถานที่ติดตอ
กลุมพัฒนาระบบเฝาระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
โทร 0 2590 4184
โทรสาร 0 590 4188

61

You might also like