You are on page 1of 20

บทที่ 3

วิ ธีการพิ สจู น์

ในบทที่ 1 ได้กล่าวถึงธรรมชาติของคณิตศาสตร์จะแตกต่างจากวิชาการด้าน
อื่น ๆ นักคณิตศาสตร์จะสมมุตสิ งิ่ ทีเ่ รียกว่า อนิยาม และเรียกคาต่าง ๆ ทีก่ าหนดขึน้ ว่า
นิยาม แล้วอาจมีขอ้ ความจานวนหนึ่งทีเ่ ชื่อว่าเป็นจริงโดยไม่ตอ้ งพิสจู น์ เรียกว่า สัจพจน์
ซึง่ เป็นข้อตกลงเบือ้ งต้น และใช้เครือ่ งมือเหล่านี้คน้ หาความจริงต่าง ๆ ภายใต้
สมมุตฐิ านทีก่ าหนด ความจริงเหล่านี้เรียกว่า ทฤษฎีบท และเพื่อให้เชื่อได้ว่าทฤษฎีบท
นัน้ ถูกต้อง นักคณิตศาสตร์จงึ ต้องมีการพิสจู น์ หรืออ้างเหตุผล โดยใช้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ
จากตรรกศาสตร์
ในบทนี้จะกล่าวถึง วิธกี ารพิสจู น์ (Proof) ซึง่ เป็นวิธกี ารแสดงเหตุผลในลักษณะ
การอ้างเหตุผลทีส่ มเหตุสมผล เป็นวิธกี ารสนับสนุนข้อความทีต่ อ้ งการพิสจู น์ โดยปกติ
จะเป็นทฤษฎี และสามารถแยกรูปแบบวิธพี สิ จู น์ได้ดงั ต่อไปนี้

3.1 การพิ สจู น์ ข้อความ PQ


ทาได้ 3 วิธ ี คือ การพิสจู น์ขอ้ ความโดยวิธตี รง วิธแี ย้งสลับที่ และวิธขี ดั แย้ง
3.1.1 การพิ สจู น์ ข้อความโดยวิ ธีตรง (Direct Proof)
ข้อความ PQ ซึง่ จะต้องพิสจู น์ว่า PQ เป็นจริง
นันคื
่ อ ให้ P เป็นจริง แล้วจะต้องแสดงว่า Q เป็นจริง
ก่อนอื่นจะขอนิยามคาบางคาก่อนดังนี้
บทนิ ยาม 3.1.1 สาหรับจานวนเต็ม n ใด ๆ จะกล่าวว่า n เป็นจานวนคู่ ก็ต่อเมือ่ มี
จานวนเต็ม k ทีท่ าให้ n = 2k และจะกล่าวว่า n เป็นจานวนคี่ ก็ต่อเมือ่ มีจานวนเต็ม k
ทีท่ าให้ n = 2k+1
ข้อสังเกต จากบทนิยามนี้ จะเห็นว่า สาหรับจานวนเต็ม n ใด ๆ เราจะได้ว่า n เป็น
จานวนเต็มคู่ ก็ต่อเมือ่ n ไม่เป็นจานวนเต็มคี่

บทนิ ยาม 3.1.2 สาหรับ a , b I , a  0 จะกล่าวได้ว่า a หาร b ได้ลงตัว จะเขียน


แทนด้วย a b ก็ต่อเมือ่ มี kI ทีท่ าให้ b = ak และถ้า a หาร b ไม่ลงตัว จะเขียน
แทนด้วย a b
ตัวอย่าง 3.1.1 จงพิสจู น์ว่า ถ้า m และ n เป็นจานวนเต็มคู่ แล้ว m+n เป็นจานวน
เต็มคู่
68 หลักการคณิตศาสตร์

พิ สจู น์ ให้ m และ n เป็นจานวนเต็มใด ๆ


สมมุตวิ ่า m และ n เป็นจานวนคู่ (การพิสจู น์ทางตรงสมมุติ เหตุ เป็นจริง)
ต่อไปจะแสดงว่า m + n เป็นจานวนเต็มคู่
จากทีก่ าหนดให้และบทนิยาม 3.1.1
จะได้ว่า มีจานวนเต็ม k1 และ k2 ทีท่ าให้ m = 2k1 และ n = 2k2
ดังนัน้ m+n = 2 k1+2 k2 I (สมบัตปิ ิดของจานวนเต็ม)
= 2(k1+k2) , k1+k2 I
จะได้ว่า m + n เป็นจานวนคู่
ดังนัน้ m + n เป็นจานวนเต็มคู่

ตัวอย่าง 3.1.2 จงพิสจู น์ว่า สาหรับจานวนเต็ม a , b และ c ใด ๆ ซึง่ a  0
ถ้า a b และ a c แล้ว a (3b + 4c)
พิ สจู น์ ให้ a , b และ c เป็นจานวนเต็มใด ๆ ซึง่ a b และ a c
จะได้ว่า โดยบทนิยาม 3.1.2 มีจานวนเต็ม x และ y ทีท่ าให้ b = ax และ c = ay
ดังนัน้ 3b + 4c = 3(ax) + 4(ay)
= a(3x + 4y) เป็นจานวนเต็ม
ดังนัน้ โดยบทนิยาม 3.1.2 จะได้ว่า a (3b +4c)

3
ตัวอย่าง 3.1.3 จงพิสจู น์ว่า ถ้า a เป็นจานวนคู่แล้ว a เป็นจานวนคู่
พิ สจู น์ ให้ a เป็นจานวนคู่
จะได้ว่า จากบทนิยาม 3.1.1 มีจานวนเต็ม n ทีท่ าให้ a = 2n
ดังนัน้ a3 = (2n)3 = 8n3 = 2(4n3)
= 2m , m I , m = 4n3
จากบทนิยาม 3.1.1 จะได้ว่า a3 เป็นจานวนคู่

ตัวอย่าง 3.1.4 ให้ขอ้ ความต่อไปนี้เป็นจริง
(1) ไม่ว่า a, b และ m จะเป็นจานวนจริงใด ๆ ก็ตาม ซึง่ a, b และ m ไม่เป็น
ศูนย์พร้อมกัน จะได้ว่า (ab)m = ambm
(2) ผลคูณของจานวนตรรกยะเป็นจานวนตรรกยะ
จงพิสจู น์ว่า ถ้า 2e เป็นจานวนตรรกยะ แล้ว 4e เป็นจานวนตรรกยะ
พิ สจู น์ ให้ 2e เป็นจานวนตรรรกยะ
ดังนัน้ จาก (2) จะได้ว่า 2e2e เป็นจานวนตรรกยะ
บทที่ 3 วิธกี ารพิสจู น์ 69

แต่จาก (1) ทาให้ได้ว่า 2e2e = ((2)(2))e


= (4)e
่ อ 4e เป็นจานวนตรรกยะ
นันคื

e
จากตัวอย่างนี้จะเห็นว่า ในการพิสจู น์ ไม่จาเป็นต้องทราบ ความหมาย 2 และ
2e Q หรือไม่ แต่ถา้ 2e Q แล้ว จะต้องได้ว่า 4e Q เสมอ
3.1.2 การพิ สจู น์ ข้อความโดยวิ ธีการแย้งสลับที่ (Proof by Contrapositive)
จากบทที่ 2 ข้อความ P  Q  ~ Q  ~ P
ดังนัน้ การพิสจู น์ P  Q อาจจะแสดง ~ Q ~ P แทนได้
ตัวอย่าง 3.1.5 จงพิสจู น์ว่า ถ้า n2 เป็นจานวนเต็มคู่ แล้ว n เป็นจานวนเต็มคู่
พิ สจู น์ จะพิสจู น์โดยใช้วธิ กี ารแย้งสลับที่ นันคื
่ อจะแสดงว่า ถ้า n ไม่เป็น
จานวนเต็มคู่ แล้ว n2 ไม่เป็นจานวนเต็มคู่
ให้ n เป็นจานวนเต็มใด ๆ ซึง่ ไม่เป็นจานวนคู่
จากบทนิยาม 3.1.1 จะได้ว่า n เป็นจานวนคี่
และโดยบทนิยาม 3.1.1 จะได้ว่า มีจานวนเต็ม k ทีท่ าให้ n = 2k + 1
ดังนัน้ n2 = (2k+1)2
= 4k2+4k+1
= 2(2k2+2k)+1 , 2k2+2k I
ดังนัน้ โดยบทนิยาม 3.1.1 จะได้ว่า n2 เป็นจานวนคี่
่ อ n2 ไม่เป็นจานวนคู่
นันคื

3
ตัวอย่าง 3.1.6 จงพิสจู น์ว่า ถ้า a เป็นจานวนคี่ แล้ว a จะเป็นจานวนคี่
พิ สจู น์ เนื่องจาก ถ้า a3 เป็นจานวนคี่ แล้ว a จะเป็นจานวนคี่ สมมูลกับ
ถ้า a เป็นจานวนคู่ แล้ว a3 เป็นจานวนคู่
ดังนัน้ จะพิสจู น์ขอ้ ความ ถ้า a เป็นจานวนคู่ แล้ว a3 จะเป็นจานวนคู่
จากตัวอย่าง 3.1.3 จะได้ขอ้ ความดังกล่าวเป็นจริง
่ อ ถ้า a3 เป็นจานวนคี่ แล้ว a จะเป็นจานวนคี่
นันคื

3.1.3 การพิ สจู น์ ข้อความโดยวิ ธีขดั แย้ง(Proof by Contradiction)
จากบทที่ 2 ข้อความ P  Q  P  ~ Q  C เมือ่ C ข้อความขัดแย้ง
ดังนัน้ การพิสจู น์ P  Q อาจจะแสดง P  ~ Q  C แทนได้
โดย ให้ P และ ~Q เป็นจริง แล้วแสดงให้ได้ว่า เกิดข้อความขัดแย้ง C
70 หลักการคณิตศาสตร์

ตัวอย่าง 3.1.7 จงพิสจู น์ว่า ถ้า 2 + 3 a แล้ว 7(2 + 3)  7a


พิ สจู น์ โดยวิธขี ดั แย้ง แสดงได้ดงั นี้
สมมุตวิ ่า 2 + 3  a และ 7(2 + 3) = 7a
เนื่องจาก 7(2 + 3) = 7a
7a
จะได้ว่า 2+3= =a
7
จะเห็นได้ว่า เกิดข้อความข้อความขัดแย้งคือ (2 +3 = a) (2 + 3  a)
่ อ ถ้า 2 + 3 a แล้ว 7(2 + 3)  7a เป็นจริง
นันคื

3.2 การพิ สจู น์ ข้อความ P  Q
จากบทที่ 2 ข้อความ P  Q  (P  Q)  (Q  P)
การพิสจู น์ P  Q เป็นจริง จะต้องพิสจู น์ว่า P  Q เป็นจริง
และ Q  P เป็นจริง
ตัวอย่าง 3.2.1 จงพิสจู น์ว่า จานวนเต็มใด ๆ จะเป็นจานวนคู่กต็ ่อเมือ่ จานวนนัน้ บวก
ด้วย 2 จะเป็นจานวนคู่
พิ สจู น์ ให้ a เป็นจานวนเต็มใด ๆ
จะต้องพิสจู น์ว่า a เป็นจานวนคู่ ก็ต่อเมือ่ a + 2 เป็นจานวนคู่
() ให้ a เป็นจานวนคู่
จากบทนิยาม 3.1.1 จะได้ว่า a = 2m , บางค่า m  I
ดังนัน้ a + 2 = 2m + 2
= 2(m + 1)
นันคื
่ อ a + 2 เป็นจานวนคู่
() ให้ a + 2 เป็นจานวนคู่
จากบทนิยาม 3.1.1 จะได้ว่า a + 2 = 2n , บางค่า n  I
ดังนัน้ a = 2n - 2
= 2(n - 1)
นันคื
่ อ a เป็นจานวนคู่

บทที่ 3 วิธกี ารพิสจู น์ 71

ตัวอย่าง 3.2.2 จงพิสจู น์ว่า a3 เป็นจานวนคี่ ก็ต่อเมือ่ a เป็นจานวนคี่


พิ สจู น์ () จะพิสจู น์ ถ้า a3 เป็นจานวนคี่แล้ว a เป็นจานวนคี่ โดยวิธกี าร
แย้งสลับทีค่ อื จะพิสจู น์ว่า ถ้า a เป็นจานวนคู่ แล้ว a3 เป็นจานวนคู่ ซึง่ ได้พสิ จู น์แล้ว
ในตัวอย่าง 3.1.6
() จะพิสจู น์ว่า ถ้า a เป็นจานวนคี่แล้ว a3 เป็นจานวนคี่
ให้ a เป็นจานวนคี่
จะได้ว่า a = 2m+1 บางค่า m I
ดังนัน้ a = (2m+1)3 = 8m3+12m2+6m+1
3

= 2(4m3+6m2+3m)+1
= 2n+1 บางค่า n I , n = 4m3+6m2+3m
่ อ a3 เป็นจานวนคี่
นันคื

ตัวอย่าง 3.2.3 จงพิสจู น์ว่าข้อความต่อไปนี้สมมูลกัน
(1) a เป็นจานวนเต็มคู่
(2) a2 หารด้วย 4 ลงตัว
(3) a2 เป็นจานวนเต็มคู่
พิ สจู น์
(1)(2)
ให้ a เป็นจานวนเต็มคู่ใด ๆ
ดังนัน้ ดังนัน้ บทนิยาม 3.1.1 จะได้ว่า มีจานวนเต็ม k ทีท่ าให้ a = 2k
จะได้ว่า a2 = (2k)2 = 4k2 , k2  I
่ อ a2 หารด้วย 4 ลงตัว
นันคื
(2)(3)
ให้ a เป็นจานวนเต็มคู่ใด ๆ ซึง่ 4a2
ดังนัน้ บทนิยาม 3.1.2 จะได้ว่า มีจานวนเต็ม k ทีท่ าให้ a2 = 4k = 2(2k) ,
2k  I
นันคื่ อ a2 เป็นจานวนเต็มคู่
(3)(1)
คือจะต้องแสดงว่า ถ้า a2 เป็นจานวนเต็มคู่ แล้ว a เป็นจานวนเต็มคู่
ซึง่ สามารถพิสจู น์ขอ้ ความนี้ได้ โดยใช้วธิ กี ารแย้งสลับที่ (ดูตวั อย่าง 3.1.5)

72 หลักการคณิตศาสตร์

3.3 การพิ สจู น์ ข้อความ P  Q  R


จากบทที่ 2 ข้อความ P  Q  R  P  ~Q  R
ดังนัน้ การพิสจู น์ P  Q  R เป็นจริง จะต้องพิสจู น์ว่า
P  ~Q  R เป็นจริง หรือ P  ~ R  Q ก็ได้

ตัวอย่าง 3.3.1 จงพิสจู น์ว่า ถ้า (a + b)2 เป็นจานวนคีแ่ ล้ว a หรือ b เป็นจานวนคู่
พิ สจู น์ ให้ (a + b)2 เป็นจานวนคี่ และ a เป็นจานวนคี่
จะได้ว่า a = 2m + 1 , บางค่า m I
จะแสดงว่า b เป็นจานวนคู่
เนื่องจาก (a + b)2 เป็นจานวนคี่ สามารถแสดงได้ว่า a + b เป็นจานวนคี่
ดังนัน้ a + b = 2n + 1 , บางค่า n I
b = 2n + 1 – a
= 2n + 1 – (2m +1)
= 2(n – m) , n – m I
นันคื
่ อ b เป็นจานวนคู่

ตัวอย่าง 3.3.2 จงพิสจู น์ขอ้ ความในตัวอย่าง 3.1.1 ทีว่ ่า
ถ้า m และ n เป็นจานวนเต็มคู่ แล้ว m + n เป็นจานวนเต็มคู่
พิ สจู น์ โดยวิธกี ารแย้งสลับที่ คือ จะพิสจู น์ว่า ถ้า m + n เป็นจานวนเต็มคี่ แล้ว m
เป็นจานวนเต็มคี่ หรือ n เป็นจานวนเต็มคี่
ให้ m และ n เป็นจานวนเต็มใด ๆ ที่ m + n เป็นจานวนเต็มคี่ และสมมุตวิ ่า m
ไม่เป็นจานวนคี่ จะต้องแสดงว่า n เป็นจานวนคี่
เนื่องจาก m ไม่เป็นจานวนคี่ จะได้ว่า m เป็นจานวนคู่
ดังนัน้ มีจานวนเต็ม j และ k ทีท่ าให้ m + n = 2j + 1 และ m = 2k
จะได้ว่า n = (2j + 1) – m
= 2j + 1 – 2k
= 2(j – k) + 1 , j – k  I
นันคื
่ อ n เป็นจานวนเต็มคี่

หมายเหตุ 3.1 อาจเขียนสิง่ ทีก่ าหนดให้เป็น
ให้ m และ n เป็นจานวนเต็มใดๆ โดยที่ m+n เป็นจานวนคี่ แต่ n เป็นจานวนคู่
บทที่ 3 วิธกี ารพิสจู น์ 73

3.4 การพิ สจู น์ ข้อความ P  Q  R หรือ การพิ สจู น์ แบบแจกแจงกรณี


จากบทที่ 2 ข้อความ (P  R)  (Q  R)  P  Q  R
ดังนัน้ การพิสจู น์ P  Q  R เป็นจริง จะต้องแสดงว่า
(P  R) เป็นจริง
และ (Q  R) เป็นจริง

ตัวอย่าง 3.4.1 ให้ a และ b เป็นจานวนจริงใด ๆ


จงพิสจู น์ว่า ถ้า a = 0 หรือ b = 0 แล้ว ab =0
พิ สจู น์ ให้ a และ b เป็นจานวนจริงใดๆ ซึง่ a = 0 หรือ b = 0
กรณี a = 0 จะแสดงว่า ab = 0
เนื่องจาก a = 0 จะได้ว่า ab = (0)b = 0
กรณี b = 0 จะแสดงว่า ab = 0
เนื่องจาก b = 0 จะได้ว่า ab = a(0) = 0
นันคื
่ อ ถ้า a = 0 หรือ b = 0 แล้ว ab =0

ตัวอย่าง 3.4.2 จงพิสจู น์ขอ้ ความต่อไปนี้
ถ้า x เป็นจานวนจริงลบ หรือ x = 0 หรือ x เป็นจานวนจริงบวกแล้ว x  | x |
พิ สจู น์ ให้ x เป็นจานวนจริงลบ หรือ x = 0 หรือ x เป็นจานวนจริงบวก
ดังนัน้ x < 0 หรือ x = 0 หรือ x > 0 ตามลาดับ
กรณี x < 0 จะได้ว่า | x | = - x
เนื่องจาก x < 0 ดังนัน้ - x > 0
ซึง่ จาก x < 0 และ 0 < - x จะได้ว่า x < - x = | x |
ดังนัน้ | x |  x
กรณี x = 0 จะได้ว่า | x | = | 0 | = 0
ดังนัน้ x = | x | แล้วจะได้ว่า x  |x |
กรณี x > 0 จะได้ว่า | x | = x ดังนัน้ x  | x |
จากทัง้ สามกรณี สรุปได้ว่า
ถ้า x เป็นจานวนจริงลบ หรือ x = 0 หรือ x เป็นจานวนจริงบวกแล้ว x  | x |
เป็นจริง

74 หลักการคณิตศาสตร์

ตัวอย่าง 3.4.3 จงพิสจู น์ว่า ถ้า a เป็นจานวนเต็มแล้ว a2 + a เป็นจานวนคู่


พิ สจู น์ ให้ a เป็นจานวนเต็ม จะได้ว่า a เป็นจานวนคู่ หรือ a เป็นจานวนคี่
ถ้า a เป็นจานวนคู่ จะได้ว่า a = 2m , m  I
ดังนัน้ a2 + a = (2m)2 + (2m)
= 4m2 + 2m
= 2(2m2 + m) , m2  I , 2m2 + m  I
่ อ a2 + a เป็นจานวนคู่
นันคื
ถ้า a เป็นจานวนคี่ จะได้ว่า a = 2n + 1 , n  I
ดังนัน้ a2 + a = (2n + 1)2 + (2n + 1)
= (4n2 + 4n + 1) + (2n + 1)
= 2(2n2 +3n + 1) , 2n2 + 3n + 1  I
่ อ a2 + a เป็นจานวนคู่
นันคื

ตัวอย่าง 3.4.4 จงพิสจู น์ว่า ไม่ว่า x จะเป็นจานวนจริงใดก็ตาม จะได้ว่า |x|  0
พิ สจู น์ ให้ x เป็นจานวนจริงใดๆ จะได้ว่า x < 0 หรือ x  0
จะแสดงว่า 1. ถ้า x < 0 แล้ว | x |  0
และ 2. ถ้า x  0 แล้ว | x |  0
กรณี x < 0 จะได้ว่า | x | = - x
เนื่องจาก x < 0 จะได้ว่า - x > 0
ดังนัน้ | x | > 0 นันคื
่ อ |x|  0
กรณี x  0 จะได้ว่า | x | = x  0
จากทัง้ สองกรณีจะได้ว่า  x  R , | x |  0

หมายเหตุ 3.2 ในการพิสจู น์แบบแจกแจงกรณี อาจแบ่งการพิจารณาเป็นกรณี
ต่างๆได้ตามความเหมาะสม เช่น
ถ้า x เป็นจานวนจริงใดๆ อาจแบ่งกรณีเป็น
1. x < 0 หรือ x = 0 หรือ x > 0
2. x > 1 หรือ x  1
3. x < -2 หรือ x  -2
ถ้า x เป็นจานวนเต็มใดๆ อาจแบ่งกรณีเป็น x เป็นจานวนคู่ หรือ x เป็นจานวนคี่
บทที่ 3 วิธกี ารพิสจู น์ 75

3.5 การพิ สจู น์ ข้อความ P  Q  R


จากบทที่ 2 ข้อความ (P  Q)  (P  R)  P  Q  R
ดังนัน้ การพิสจู น์ P  Q  R เป็นจริง จะต้องแสดงว่า
(P  Q) เป็นจริงและ (P  R) เป็นจริง
ตัวอย่าง 3.5.1 ให้ a เป็นจานวนเต็มใด ๆ จงพิสจู น์ว่า ถ้า a เป็นจานวนเต็มคู่แล้ว
a2 หารด้วย 4 ลงตัว และ a2 เป็นจานวนเต็มคู่
พิ สจู น์ ให้ a เป็นจานวนเต็มใดๆ จะต้องแสดงว่า
1. ถ้า a เป็นจานวนเต็มคู่แล้ว a2 หารด้วย 4 ลงตัว
2. ถ้า a เป็นจานวนเต็มคู่แล้ว a2 เป็นจานวนเต็มคู่
ซึง่ ข้อความทัง้ สองได้เคยพิสจู น์แล้วในตัวอย่าง 3.2.3

3.6 การพิ สูจน์ ข้อความโดยวิ ธีขดั แย้ง
เนื่องจาก P  ~ P มีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ ดังนัน้ การพิสจู น์ขอ้ ความใด
ข้อความหนึ่ง (P) เป็นจริงนัน้ จะสมมุตใิ ห้นิเสธของข้อความดังกล่าว(~P) เป็นจริง แล้ว
แสดงให้เห็นว่าเป็นไปไม่ได้ (~P ไม่เป็นจริง) ก็จะได้ว่าข้อความ (P) เป็นจริง
ตัวอย่าง 3.6.1 จงพิสจู น์ว่า ถ้า a3 เป็นจานวนคู่ แล้ว a เป็นจานวนคู่
พิ สจู น์ ให้ ถ้า a3 เป็นจานวนคู่ แล้ว a เป็นจานวนคู่ เป็นเท็จ
ดังนัน้ นิเสธของข้อความ ถ้า a3 เป็นจานวนคู่ แล้ว a เป็นจานวนคู่ เป็นจริง
่ อ a3 เป็นจานวนคู่ และ a ไม่เป็นจานวนคู่ เป็นจริง
นันคื
จะได้ว่า a เป็นจานวนคี่
จากบทนิยามจานวนคี่ จะได้ว่า a = 2m+1 , m  I
ดังนัน้ a3 = (2m+1)3 = 8m3+12m2+6m+1
= 2(4m3+6m2+3m)+1
= 2n+1 , n  I ซึง่ n = 4m3+6m2+3m
จะได้ว่า a3 เป็นจานวนคี่
่ อ a3 ไม่เป็นจานวนคู่
นันคื
เกิดข้อขัดแย้งกับทีใ่ ห้ a3 เป็นจานวนคู่
ดังนัน้ ถ้า a3 เป็นจานวนคู่ แล้ว a เป็นจานวนคู่ เป็นเท็จ จึงเป็นไปไม่ได้
เพราะฉะนัน้ ถ้า a3 เป็นจานวนคู่ แล้ว a เป็นจานวนคู่ เป็นจริง

76 หลักการคณิตศาสตร์

ตัวอย่าง 3.6.2 จงพิสจู น์ว่า 3 2 เป็นจานวนอตรรกยะ


พิ สจู น์ ให้ 3 2 เป็นจานวนอตรรกยะ เป็นเท็จ ดังนัน้ 3 2 เป็นจานวน
ตรรกยะ เป็นจริง จากนิยามจานวนตรรกยะ จะได้ว่า
3 2 = a , a, b  I และ b  0 ซึง่ ห.ร.ม.ของ a และ b เท่ากับ 1
b
a3
หรือ 2 = 3
b
a = 2b3
3

จากบทนิยามของจานวนคู่ จะได้ว่า a3 เป็นจานวนคู่


จากตัวอย่าง 3.6.1 จะได้ว่า a เป็นจานวนคู่
จะได้ว่า a = 2m , m  I
ดังนัน้ (2m)3 = 2b3
b3 = 4m3 = 2(2m3)
จะได้ว่า b3 เป็นจานวนคู่ ดังนัน้ b เป็นจานวนคู่
นัน้ คือ ห.ร.ม. ของ a และ b ไม่เท่ากับ 1
เกิดข้อขัดแย้ง
ดังนัน้ 3 2 เป็นจานวนอตรรกยะ เป็นเท็จ จึงเป็นไปไม่ได้
่ อ 3 2 เป็นจานวนอตรรกยะ เป็นจริง
นันคื

+
ตัวอย่าง 3.6.3 ให้ n  I , n เป็นจานวนเฉพาะ ถ้า n  1 และจานวนทีห่ าร n ได้
ลงตัวมีเพียง 1 และ n เท่านัน้ (เช่น n = 2,3,5,7,11, …) จงพิสจู น์ว่า ไม่มจี านวน
เฉพาะ a , b และ c ใด ทีท่ าให้ a3 + b3 = c3
พิ สจู น์ สมมุตวิ ่า มีจานวนเฉพาะ a , b และ c ทีท่ าให้ a3 + b3 = c3
ถ้า a เป็นจานวนคู่ จะได้ว่า a = 2 (จานวนเฉพาะทีเ่ ป็นจานวนคู่มเี พียงจานวน
เดียวคือ 2)
ดังนัน้ 8 = c3 - b3
= (c - b)(c2 + cb + b2)
เนื่องจาก แต่ละค่า a , b และ c มากกว่าหรือเท่ากับ 2
ดังนัน้ c2+cb+ b2  4+4+4 = 12 ซึง่ เป็นจานวนบวก
จะได้ว่า c - b > 0 และ 8  (c – b)(12) > 12 ซึง่ เป็นเท็จ
ดังนัน้ ทีส่ มมุตวิ ่า a เป็นจานวนคู่ จึงเป็นเท็จ แสดงว่า a ต้องเป็นจานวนคี่
ในทานองเดียวกัน สามารถแสดงได้ว่า b เป็นจานวนคี่
บทที่ 3 วิธกี ารพิสจู น์ 77

จากตัวอย่าง 3.2.2 จะได้ว่า a3 และ b3 เป็นจานวนคี่


ดังนัน้ a 3 + b3 = c3 เป็นจานวนคู่ แล้วจะได้ว่า c ต้องเป็นจานวนคู่
แต่เนื่องจาก c เป็นจานวนเฉพาะ ดังนัน้ c = 2
และเนื่องจาก a และ b มีค่ามากกว่า 2 ดังนัน้ a 3 + b3 > 23 = c3
ซึง่ ขัดแย้งกับทีก่ าหนดให้ว่า a 3 + b3 = c3
ดังนัน้ มีจานวนเฉพาะ a , b และ c ทีท่ าให้ a3 + b3 = c3 จึงเป็นไปไม่ได้
่ อ ไม่มจี านวนเฉพาะ a , b และ c ทีท่ าให้ a3 + b3 = c3 เป็นจริง
นันคื

หมายเหตุ 3.3 จะเห็นว่า การพิสจู น์ขอ้ ความ P  Q โดยวิธขี ดั แย้งในหัวข้อ 3.1
นัน้ เป็นกรณีพเิ ศษของวิธกี ารพิสจู น์โดยวิธขี ดั แย้งในหัวข้อนี้ คือ เป็นกรณีทข่ี อ้ ความ P
ทีจ่ ะพิสจู น์อยูใ่ นแบบ P  Q
3.7 การพิ สจู น์ ข้อความซึ่งเป็ นไปได้อย่างเดียว
ข้อความซึง่ เป็นไปได้อย่างเดียว(Uniqueness)เท่านัน้ จะเขียนแทนด้วย
! x  A , P(x)
หมายความว่า มี x ใน A เพียงตัวเดียวเท่านัน้ ทีม่ สี มบัติ P(x)
ในการพิสจู น์  ! x  A , p (x) จะต้องแสดง 2 ตอน คือ
1.  x  A , P(x)
คือแสดงว่า มี x อย่างน้อยทีส่ ุดตัวหนึ่งใน A ซึง่ มีสมบัติ P(x)
และ 2.  x  A ,  y A , P(x)  P(y)  x = y
คือแสดงว่า มี x อย่างมากทีส่ ุดเพียงตัวเดียวใน A ซึง่ มีสมบัติ P(x)
ตัวอย่าง 3.7.1 จงพิสจู น์ว่า มีจานวนจริง x เพียงจานวนเดียวเท่านัน้ ทีท่ าให้ x3+1 = 0
พิ สจู น์ เขียนข้อความได้เป็น  ! x R , x3 +1 = 0
1. จะแสดงว่า  x R , x3 +1 = 0
เลือก x = -1 ดังนัน้ x เป็นจานวนจริง และ x3+1 = (-1)3 +1 = -1 +1 = 0
2. จะแสดงว่า  x R ,  y R , x 3 + 1 = 0  y3 +1 = 0  x = y
ให้ x , y R ซึง่ x3 +1 = 0 และ y 3+1 = 0
ดังนัน้ x3 +1 = y 3+1
หรือ x3 = y3 ซึง่ โดยสมบัตขิ องจานวนจริง จะได้ว่า x = y

78 หลักการคณิตศาสตร์

ตัวอย่าง 3.7.2 ให้ x เป็นจานวนเต็มใด ๆ จงพิสจู น์ว่า จะมีจานวนเต็ม y เพียง


จานวนเดียวเท่านัน้ ทีท่ าให้ x - y = 3
พิ สจู น์ ให้ x เป็นจานวนเต็มใดๆ ต่อไปจะต้องแสดงว่า  ! y I , x – y = 3
1. จะแสดงว่า  y I , x – y = 3
เลือก y = x – 3
ดังนัน้ y เป็นจานวนเต็ม และ x – y = x – ( x – 3 ) = 3
2. จะแสดงว่า  yI ,  w I , x – y = 3  x – w = 3  y = w
ให้ y , w I ซึง่ x – y = 3 และ x – w = 3
ดังนัน้ x – y = x – w หรือ – y = – w จะได้ว่า y = w

3.8 การพิ สจู น์ ข้อความโดยยกตัวอย่างค้าน
ถ้าต้องการพิสจู น์ขอ้ ความ x P(x) เป็นเท็จ จะต้องแสดงว่า ~x P(x) เป็น
จริง เนื่องจาก ~x P(x) x ~P(x)
่ อ จะต้องแสดงว่า x ~P(x) เป็นจริง คือ มีค่า x ทีท่ าให้ ~P(x) เป็นจริง
นันคื
ตัวอย่าง 3.8.1 จงพิสจู น์ว่า ถ้า x เป็นจานวนเต็มใด ๆ แล้ว x + 5 = x เป็นเท็จ
พิ สจู น์ จะต้องแสดงว่า x  I และ x + 5  x เป็นจริง
ให้ x = 1
จะได้ว่า x + 5 = 1 + 5 = 6 และ 6  1
นันคื
่ อ ถ้า x เป็นจานวนเต็มใด ๆ แล้ว x + 5 = x เป็นเท็จ

ตัวอย่าง 3.8.2 จงแสดงว่า ถ้า a เป็นจานวนจริงและ b เป็นจานวนจริงบวก แล้ว
a2 b > 0 เป็นเท็จ
พิ สจู น์ จะต้องแสดงว่า a  R หรือ b  R+ และ a2 b ≯ 0 เป็นจริง
ให้ a = 0 จะได้ว่า a 2b = (0)b = 0 และ 0 ≯ 0
่ อ ถ้า a เป็นจานวนจริง และ b > 0 แล้ว a2b > 0 ” เป็นเท็จ
นันคื

บทที่ 3 วิธกี ารพิสจู น์ 79

3.9 การพิ สจู น์ ข้อความการมีจริ ง


ข้อความ x P(x) อาจต้องพิสจู น์เพื่อยืนยันว่า เป็นจริง ก่อนจะศึกษากันต่อไป
โดยการพิสจู น์ว่า มี x อย่างน้อยหนึ่งตัว ทีท่ าให้ P(x) เป็นจริง ซึง่ เป็นการพิสจู น์
ข้อความการมีจริง (Proof of Existency)

ตัวอย่าง 3.9.1 จงแสดงว่า มี a อย่างน้อยหนึ่งตัว ที่ a R ซึง่ an = a+a+a+. . .+a


พิ สจู น์ n ตัว
ให้ a = 0
n
จะได้ว่า 0 = (0)(0)(0) . . . (0) = 0 = 0 + 0 + 0 + . . . + 0
n ตัว n ตัว

3.10 การพิ สจู น์ โดยหลักอุปนัยเชิ งคณิ ตศาสตร์ (Proof by Mathematical
Induction)
หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ กล่าวว่า ถ้า S  N ซึง่ มีสมบัตวิ ่า
1. 1 S
และ 2. k N , k S  k + 1 S แล้ว
จะได้ว่า S = N
หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์น้ี ได้นาไปพิสจู น์ขอ้ ความแบบ nN , P(n)
ซึง่ ต้องแสดง 2 ขัน้ ตอน คือ
(1) แสดงว่า P(1) เป็นจริง เรียกว่า ขัน้ ตอนฐานหลัก (Basis Step)
และ (2) ให้ P(k) เป็นจริง แล้วต้องแสดงว่า P(k+1) เป็นจริง เรียกว่า ขัน้ ตอน
อุปนัย (Induction Step)
ตัวอย่าง 3.10.1 จงพิสจู น์ 1 + 2 + 3 + … + n = n2 (n  1) ทุกจานวนนับ n
พิ สจู น์ ให้ P( n ) แทน 1 + 2 + … + n = n2 (n  1)
1. จะแสดงว่า P(1) เป็นจริง
ให้ n = 1
จะได้ว่า 1 = 21 (1  1)  1
ดังนัน้ P(1) เป็นจริง
2. ให้ P( k ) เป็นจริง คือ n = k เป็นจริง จะแสดงว่า P( k + 1 ) เป็นจริง
เนื่องจาก 1+2+ …+k = k2 (k  1)
นา k + 1 บวกทัง้ สองข้าง จะได้ว่า
80 หลักการคณิตศาสตร์

1 + 2 + … + k + ( k + 1 ) = k2 (k  1) + ( k + 1 )
= ( k + 1 ) ( k2  1)
= ( k + 1 ) ( k 2 2 )
= (k 2
1) (k  1)  1
จะได้ว่า n = k + 1 เป็นจริง
ดังนัน้ P( k + 1 ) เป็นจริง
จาก 1. และ 2. จะได้ว่า 1 + 2 + 3 + … + n = n2 (n  1) ทุกค่าจานวนนับ n

n n  1 n  2 
ตัวอย่าง 3.10.2 จงพิสจู น์ว่า 1(2)+ 2(3)+ 3(4)+ . . .+ n(n+1) = 3
ทุกจานวนนับ n
n n  1 n  2 
พิ สจู น์ ให้ P(n) แทน 1(2) +2(3) +3(4) +. . .+n(n+1)  3
1. จะแสดงว่า P(1) เป็นจริง
1(11)(1 2)
ให้ n = 1 จะได้ว่า 1(1+1) = 3
2 = 2
ดังนัน้ P(1) เป็นจริง

k k  1 k  2 
2. ให้ P(k) เป็นจริง นันคื
่ อ 1(2) +2(3) +... +k(k+1) = 3
เป็นจริง จะต้องแสดงว่า P(k+1) เป็นจริง
พิจารณา P(k + 1) จะได้ ว่า
1(2) + 2(3) + 3(4) + ...+ k(k + 1) + (k + 1)(k + 2)
k(k +1)(k +2)
= 3 + (k + 1)(k +2)
k(k + 1)(k + 2) + 3(k + 1)(k + 2)
= 3
(k +1)(k +2)(k +3)
= 3
(k + 1) (k + 1) + 1(k + 1) + 2

= 3
ดังนัน้ ถ้า P(k) เป็นจริง ทาให้ P(k+1) เป็นจริง
นันคื
่ อ P(n) เป็นจริง ทุกจานวนนับ n

บทที่ 3 วิธกี ารพิสจู น์ 81

ตัวอย่าง 3.10.3 จงพิสจู น์ว่า 2 n > n ; n N


พิ สจู น์ ให้ P( n ) แทน 2 n > n ; n N
1. จะแสดงว่า P( 1 ) เป็นจริง
ให้ n = 1 จะได้ว่า (21 = 2) > 1
ดังนัน้ P( 1 ) เป็นจริง
2. ให้ P( k ) เป็นจริง จะแสดงว่า P( k + 1) เป็นจริง
ให้ P( k ) เป็นจริง
จะได้ว่า 2k > k ; k  N
ดังนัน้ 2k  2 > k  2
2 k 1 > 2k
เนื่องจาก 2k = k + k และ k  N ดังนัน้ k  1
จะได้ว่า k+k  k+1
2k  k + 1
ดังนัน้ 2 k 1 > k + 1
นันคื
่ อ P( k + 1) เป็นจริง
จาก 1. และ 2. จะได้ว่า
2n > n , n N

3
ตัวอย่าง 3.10.4 จงพิสจู น์ว่า n – n หารด้วย 3 ลงตัว ทุกค่าจานวนนับ n
พิ สจู น์ ให้ P( n ) แทน n3 – n หารด้วย 3 ลงตัว หรือ 3(n3 – n)
1. จะแสดงว่า P( 1 ) เป็นจริง
ให้ n = 1 จะได้ว่า 3(13 – 1) = 30
ดังนัน้ P( 1 ) เป็นจริง
2. ให้ P( k ) เป็นจริง จะแสดงว่า P( k + 1) เป็นจริง
่ อ 3(k3 – k)
ให้ P( k ) เป็นจริง นันคื
จากบทนิยาม 3.1.2 จะได้ว่า มี cI ทีท่ าให้ k3 – k = 3c
เนื่องจาก (k + 1)3 – (k + 1) = (k3 + 3k2 +3k + 1) – (k + 1)
= k3 + 3k2 +3k – k
= (k3 – k) + 3(k2 + k)
ดังนัน้ (k + 1)3 – (k + 1) = 3c + 3(k2 + k)
= 3(c + k2 + k)
82 หลักการคณิตศาสตร์

จะได้ว่า 3(k + 1)3 – (k + 1) นันคื


่ อ P( k + 1) เป็นจริง
จาก 1. และ 2. จะได้ว่า
n3 – n หารด้วย 3 ลงตัว ทุกค่าจานวนนับ n
หรือ 3(n3 – n) , n N

หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ สามารถขยายให้อยูใ่ นรูปทัวไปได้
่ ดังนี้
ถ้า S  N ซึง่ มีสมบัตวิ ่า
1. n0 S
และ 2. n N , n  n0  n S  n + 1 S แล้ว
จะได้ว่า S = { n N n  n0 }
ซึง่ ต้องแสดง 2 ขัน้ ตอน คือ
(1) แสดงว่า P(n0) เป็นจริง
และ (2) ให้ P(k) เป็นจริง แล้วต้องแสดงว่า P(k+1) เป็นจริง k N , k  n0
จะเห็นได้ว่า ถ้า n0 = 1 ก็คอื หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ทก่ี ล่าวมาแล้วในตอนต้น

ตัวอย่าง 3.10.5   n , nN , n  13


จงพิสจู น์ว่า n2  32

พิ สจู น์ ให้ P( n ) แทน n2  32  n , nN , n  13


1. จะแสดงว่า P( 13 ) เป็นจริง
ให้ n = 13

13
เนื่องจาก (13)2 = 169 และ 32 = 1,594,323
8,192 = 194.61
ดังนัน้ (13)2  32
13

นันคื
่ อ P(13 ) เป็นจริง
2. ให้ P( k ) เป็นจริง จะแสดงว่า P( k + 1) เป็นจริง
k
่ อ k2  32 , k  N และ k  13
ให้ P( k ) เป็นจริง นันคื

จะได้ว่า  
2
(k + 1)2 = 1 k1 k2
และเนื่องจาก k  13 ดังนัน้ k1  13 1

จะได้ว่า  
(k + 1)2  1 131 2 k2

 32 k2 1 131 2  3
2
บทที่ 3 วิธกี ารพิสจู น์ 83

 32 32
k

ดังนัน้ (k + 1)2  32 
k 1

นันคื
่ อ P( k + 1) เป็นจริง
จาก 1. และ 2. จะได้ว่า
n

n2  32 , n N , n  13

บทสรุป
การพิสจู น์หรืออ้างเหตุผล โดยใช้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ จากตรรกศาสตร์ เป็นสิง่ จา
เป็น เพื่อทีจ่ ะเชื่อได้ว่ากฎหรือทฤษฎีบททีไ่ ด้มานัน้ ถูกต้อง ซึง่ แยกรูปแบบวิธพี สิ จู น์ได้
ดังนี้
(1) การพิสจู น์ขอ้ ความ PQ โดยวิธตี รง คือให้ P เป็นจริงแล้วแสดงว่า Q
เป็นจริง โดยวิธกี ารแย้งสลับทีโ่ ดยใช้ ~ Q ~ P และโดยวิธขี ดั แย้งโดยใช้
P  ~ Q  C คือให้ P และ ~Q เป็ นจริง แล้วแสดงให้ได้ว่าเกิดข้อความขัดแย้ง C
(2) การพิสจู น์ขอ้ ความ P  Q ซึง่ สมมูลกับ(P  Q)  (Q  P) นัน้
จะต้องว่า P  Q เป็นจริงและ Q  P เป็นจริง
(3) การพิสจู น์ขอ้ ความ P  Q  R ซึง่ สมมูลกับ P ~Q  R ดังนัน้ จะต้อง
พิสจู น์ว่า P  ~Q  R เป็นจริง หรือ P  ~ R  Q
(4) การพิสจู น์ขอ้ ความ P  Q  R หรือ การพิสจู น์แบบแจกแจงกรณี ซึง่
สมมูลกับ(P  R)  (Q  R) ดังนัน้ จะต้องแสดงว่า (P  R) เป็นจริง
และ (Q  R) เป็นจริง
(5) การพิสจู น์ขอ้ ความ P  Q  R ซึง่ สมมูลกับ (P  Q)  (P  R)
ดังนัน้ จะต้องแสดงว่า (P  Q) เป็นจริงและ (P  R) เป็นจริง
(6) การพิสจู น์ขอ้ ความโดยวิธขี ดั แย้ง ในการพิสจู น์ขอ้ ความ P ว่าเป็นจริงนัน้
จะสมมุตใิ ห้นิเสธของ P คือ ~P เป็นจริงแล้วแสดงให้เห็นว่า เป็นไปไม่ได้ (~P ไม่เป็น
จริง) ก็จะได้ว่า P เป็นจริง
(7) การพิสจู น์ขอ้ ความทีเ่ ป็นไปได้อย่างเดียวทีอ่ ยูใ่ นรูป  ! x  A, P(x)
จะต้องแสดงว่า  x  A, P(x) คือมี x อย่างน้อยทีส่ ุดตัวหนึ่งใน A ซึง่ มีสมบัติ P(x)
และ  x  A ,  y A , P(x)  P(y)  x = y คือมี x อย่างมากทีส่ ุดเพียงตัวเดียว
ใน A ซึง่ มีสมบัติ P(x)
84 หลักการคณิตศาสตร์

(8) การพิสจู น์ขอ้ ความโดยยกตัวอย่างค้าน ในการพิสจู น์ขอ้ ความ x P(x)


เป็นเท็จ จะต้องแสดงว่า ~x P(x) เป็นจริง และเนื่องจาก ~x P(x)  x ~P(x)
ดังนัน้ จะต้องแสดงว่า x ~P(x) เป็นจริง คือมีค่า x ทีท่ าให้ ~P(x) เป็นจริง
(9) การพิสูจน์ขอ้ ความการมีจริง ข้อความ x P(x) อาจต้องพิสจู น์เพื่อยืนยัน
ว่า เป็นจริง โดยการพิสจู น์ว่ามี x อย่างน้อยหนึ่งตัว ทีท่ าให้ P(x) เป็นจริง
และ (10) การพิสจู น์โดยหลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ คือถ้า S  N ซึง่ มี
สมบัตวิ ่า n0S และ n N, n  n0  n S  n+1 S แล้วจะได้ว่า S = { n
Nn  n0 }ซึง่ ต้องแสดงว่า P(n0) เป็นจริง และให้ P(k) เป็นจริงแล้ว ต้องแสดงว่า
P(k+1) เป็นจริง kN,k n0
บทที่ 3 วิธกี ารพิสจู น์ 85

แบบฝึ กหัดบทที่ 3

1. จงพิสจู น์ขอ้ ความแต่ละข้อต่อไปนี้


1.1 กาลังสามของจานวนคีเ่ ป็นจานวนคี่
1.2 a เป็นจานวนคู่ ก็ต่อเมือ่ a+2 เป็นจานวนคู่
1.3 2 เป็นจานวนอตรรกยะ
1.4 3 เป็นจานวนอตรรกยะ
1.5 ถ้า m และ n เป็นจานวนคีแ่ ล้ว m+n เป็นจานวนคู่
1.6 ถ้า a3 เป็นจานวนคู่แล้ว a เป็นจานวนคู่
2. จงพิสจู น์ว่าข้อความต่อไปนี้สมมูลกัน
(1) a4 เป็นจานวนเต็มคี่
(2) a เป็นจานวนเต็มคี่
(3) a+3 เป็นจานวนเต็มคู่
3. สาหรับจานวนจริง x ใดๆ จงพิสจู น์ว่า - x  | x |
4. สาหรับจานวนจริง x ใดๆ จงพิสจู น์ว่า | x |2 = | x2 |
5. จงพิสจู น์ว่าข้อความต่อไปนี้เป็นเท็จ โดยการยกตัวอย่างค้าน
5.1  x  ,  y  , x < y  x2 = y2
5.2  x  ,  y  , x < y  |x| < |y|
5.3 สาหรับจานวนเต็มบวก a ใด ๆ จะได้ว่า a2 + a + 11 เป็นจานวนเฉพาะ
6. จงใช้หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ พิสจู น์ขอ้ ความต่อไปนี้ สาหรับทุก n N
6.1 1  3  5  ...   2n  1  n 2
6.2 3  6  6  9  9 12  ...  3n(3n  3)  3n(n  1)(n  2)
6.3 6  12  6  2 2  6  23  ...  6  n2  n(n  1)( 2n  1)
6.4 a+(a+d)+(a+2d)+ … +(a+(n–1)d) = n2 ( 2a  (n  1) d)
6.5 ถ้า 1  a  0 แล้ว 1  a n  1  na

6.6 2
a  ar  ar  ...  ar n  1 
 
a 1- rn
; r 1
1- r
6.7 n3   n  1 3   n  2 3 หารด้วย 9 ลงตัว
6.8 10n1  3  10n  5 หารด้วย 9 ลงตัว
6.9 102n1  1 หารด้วย 11 ลงตัว
86 หลักการคณิตศาสตร์

7. บทนิยาม ( 1 ) a1  a
( 2 ) ak 1  ak  a , k N
จงใช้หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ พิสจู น์ว่าประโยคต่อไปนี้เป็นจริง สาหรับ nN
7.1 ( ab) n  anb n
7.2 am an  am  n
8. จงพิจารณาว่าการพิสจู น์ต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่ ถ้าการพิสจู น์ในข้อใดถูกต้อง
ให้บอกวิธที ใ่ี ช้พสิ จู น์ แต่ถา้ การพิสจู น์ในข้อใดไม่ถูกต้อง ให้บอกว่าไม่ถูกต้องเพราะเหตุ
ใด
ต้องการพิสจู น์ “ ถ้า x และ y เป็นจานวนเต็มคู่ แล้ว x - y เป็นจานวนเต็มคู่ ”
8.1 สมมุตวิ ่า x- y เป็นจานวนเต็มคี่ ดังนัน้ จะมีจานวนเต็ม j ทีท่ าให้
x-y =2j+1 ถ้า y เป็นจานวนเต็มคู่ ก็จบการพิสจู น์ ดังนัน้ สมมุติ y เป็นจานวนคี่
ให้ y = 2k +1 สาหรับจานวนเต็ม k บางจานวน จะได้ว่า x= (x-y)+y = (2j+1) –(2k+1)
= 2(j-k) ดังนัน้ x เป็นจานวนเต็มคู่
8.2 สมมุตวิ ่า x และ y เป็นจานวนเต็มคู่ แต่ x-y เป็นจานวนเต็มคี่ ดังนัน้ จะมี
จานวนเต็ม j และ k ทีท่ าให้ x = 2j และ y = 2k จะได้ว่า x- y = 2j –2k = 2(j-k) ดังนัน้
x-y เป็นจานวนเต็มคู่ ซึง่ ขัดแย้งกับทีส่ มมุตไิ ว้ว่า x-y เป็นจานวนเต็มคี่ ดังนัน้ จึงได้สงิ่
ทีต่ อ้ งการ
8.3 สมมุตวิ ่า x-y เป็นจานวนเต็มคี่ ให้ x-y = 2j +1 สาหรับจานวนเต็ม j บาง
จานวน ถ้า x เป็นจานวนคี่ ก็จบการพิสจู น์ ดังนัน้ สมมุติ x เป็นจานวนคู่ ให้ x = 2k
สาหรับจานวนเต็ม k บางจานวน ดังนัน้ y= x –(x-y) = 2k –(2j +1) =2(k – j) +1
ดังนัน้ y เป็นจานวนเต็มคี่
8.4 สมมุตวิ ่า x และ y เป็นจานวนเต็มคู่ ดังนัน้ จะมีจานวนเต็ม j และ k ที่
ทาให้ x = 2j และ y = 2k จึงได้ว่า x-y =2j -2k = 2(j –k) ดังนัน้ x-y เป็นจานวนเต็มคู่

……………………

You might also like