You are on page 1of 3

บทความวิชาการแบ่งออกเป็ นทัง้ หมด 6 ส่วน ดังนี้

(ส่วนที่ 1) ประกอบด้วย
ชือ
่ บทความ ใช้ภาษาทีเ่ ป็ นทางการ ชือ ่ เรือ
่ งชัดเจนตรงไปตรงมา
และครอบคลุมประเด็นของเรือ ่ ง
ชือ่ เจ้าของบทความ ต้องใช้ชือ
่ จริง ไม่ใช้นามแฝง และไม่ตอ ้ งใส่คานาหน้านาม

(ส่วนที่ 2) ประกอบด้วย
บ ท คั ด ย่ อ (Abstract) บ ท คั ด ย่ อ ใ น บ ท ค ว า ม วิ ช า ก า ร
เป็ น ก า ร ส รุ ป ป ร ะ เด็ น เนื้ อ ห า ที่ เป็ น แ ก่ น ส า คั ญ เน้ น ป ร ะ เด็ น ส า คั ญ ข อ ง ง า น
ที่ต้อ งการน าเสนอจริงๆ ควรเขี ย นให้สน ้ ั กระชับ มีค วามยาวไม่เกิน 10 ถึง 15 บรรทัด
โดยบทคัด ย่อ มัก จะประกอบด้ว ยเนื้ อ หาสามส่ว น คือ เกริ่น น า สิ่งที่ทา สรุ ปผลสาคัญ ที่ไ ด้
ซึง่ อ่านแล้วต้องเห็นภาพรวมทัง้ หมดของงาน
คาสาคัญ (Keyword) เป็ นศัพท์เฉพาะทางทีเ่ ห็นแล้วเข้าใจได้ทน ั ทีวา่ งานชิน
้ นี้ เกีย่ วกับอะไร
จานวนไม่เกิน 5 -8 คา

( ส่ ว น ที่ 3 ) บ ท น า ( Introduction)
ส่ ว น น าจ ะ เป็ น ส่ ว น ที่ ผู้ เขี ย น จู งใจ ให้ ผู้ อ่ า น เกิ ด ค ว าม ส น ใจ ใน เรื่ อ งนั้ น ๆ
ซึ่ ง ส า ม า ร ถ ใ ช้ วิ ธี ก า ร แ ล ะ เท ค นิ ค ต่ า ง ๆ ต า ม แ ต่ ผู้ เขี ย น จ ะ เห็ น ส ม ค ว ร เช่ น
อ า จ ใ ช้ ภ า ษ า ที่ ก ร ะ ตุ้ น จู ง ใ จ
ผู้ เ ขี ย น อ า จ ห รื อ ย ก ปั ญ ห า ที่ ก า ลั ง เ ป็ น ที่ ส น ใ จ ข ณ ะ นั้ น ขึ้ น ม า อ ภิ ป ร า ย
ห รื อ อ า จ จ ะ ก ล่ า ว ถึ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ ผู้ อ่ า น จ ะ ไ ด้ รั บ จ า ก ก า ร อ่ า น
น อ ก จ า ก จ ะ เ ป็ น ส่ ว น ที่ ใ ช้ จู ง ใ จ ผู้ อ่ า น แ ล้ ว
ส่ ว น น าเป็ นส่ ว น ที่ ผู้ เ ขี ย นสามารถกล่ า วถึ ง วัต ถุ ป ระสงค์ ของการเขี ย น บทความนั้ น
หรื อ ให้ ค าชี้ แ จงที่ ม าของการเขี ย นบทความนั้ น ๆ รวมทั้ง ขอบเขตของบทความนั้ น
เพือ ่ ช่วยให้ผูอ ้ า่ นไม่คาดหวังเกินขอบเขตทีก ่ าหนด ประกอบด้วย
( 1 ) ห ลั ก ก า ร แ ล ะ เห ตุ ผ ล ( rationale) ห รื อ ค ว า ม เป็ น ม า ห รื อ ภู มิ ห ลั ง
( Background) ห รื อ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง เ รื่ อ ง ที่ เ ขี ย น ( justification)
หัวข้อนี้ จะทาให้ผูอ ้ า่ นได้ทราบเป็ นพื้นฐานไว้กอ ่ นว่าเรือ
่ งทีเ่ ลือกมาเขียนมีความสาคัญหรือ มี
ค ว าม เป็ น ม าอ ย่ า งไ ร เห ตุ ผ ล ใด ผู้ เขี ย น จึ ง เลื อ ก เรื่ อ งดั ง ก ล่ า ว ขึ้ น ม าเขี ย น
ในการเขี ย นบทน าในย่อ หน้ าแรกซึ่งถื อ ว่าเป็ นการเปิ ดตัว บทความทางวิช าการ
และเป็ นย่อหน้าทีด ่ งึ ดูดความสนใจของผูอ ้ า่ น
( 2 ) วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์
เป็ นการเขี ย นว่า ในการเขี ย นบทความในครั้ง นี้ ต้ อ งการให้ผู้ อ่า นได้ท ราบเรื่อ งอะไรบ้า ง
โดยจานวนวัตถุประสงค์แต่ละข้อไม่ควรมีมากเกินไปและวัตถุประสงค์แต่ละหัวข้อจะต้องสอ
ดคล้องกับเรือ ่ งหรือเนื้อหาของบทความ
(3) ขอบเขตของเรือ ่ ง ทีผ่ ูเ้ ขียนต้องการจะบอกกล่าวให้ผูอ ้ า่ นทราบและเข้าใจตรงกัน
เพือ ่ เป็ นกรอบในการอ่าน โดยการเขียนขอบเขตนั้น อาจขึน ้ อยูก ่ บ
ั ปัจจัยในการเขียน
ไ ด้ แ ก่ ค ว า ม ย า ว ข อ ง ง า น ที่ เขี ย น ห า ก มี ค ว า ม ย า ว ไ ม่ ม า ก ก็ ค ว ร ก า ห น ด
ขอบเขตการเขียนให้แคบลงไม่เช่นนัน ้ ผูเ้ ขียนจะไม่สามารถนาเสนอเรือ ่ งได้ครบถ้วนสมบูรณ์
และระยะเวลาที่ ต้ อ งรวบรวมข้ อ มู ล การก าหนดเรื่ อ งที่ จ ะเขี ย นที่ ลึ ก ซึ้ ง สลับ ซับ ซ้ อ น
ห รื อ เป็ น เรื่ อ งเชิ ง เทคนิ คอาจจะยากต่ อ การรวบรวมข้ อ มู ล และเรี ย บเรี ย งเนื้ อเรื่ อ ง
ดังนัน ้ หากมีเวลาน้อยก็ควรพิจารณาเขียนเรือ ่ งทีม่ ข
ี อบเขตไม่กว้างหรือสลับซับซ้อนมากนัก

1
( 4 ) ค า จ า กั ด ค ว า ม ห รื อ นิ ย า ม ต่ า ง ๆ
ที่ ผู้ เขี ย น เห็ น ว่ าค ว ร ร ะ บุ ไ ว้ เพื่ อ เป็ น ป ร ะ โย ช น์ ต่ อ ผู้ อ่ าน ใน ก ร ณี ที่ ค าเห ล่ านั้ น
ผูเ้ ขียนใช้ในความหมายทีแ ่ ตกต่างจากความหมายทั่วไปหรือเป็ นคาทีผ ่ ู้อา่ นอาจจะไม่เข้าใจ
ความหมายถือเป็ นการทาความเข้าใจและการสือ่ ความหมายให้ผูเ้ ขียนบทความและผูอ ้ า่ นบท
ความเข้าใจตรงกัน รวมทัง้ เป็ นการขยายความหมายให้สามารถตรวจสอบหรือสังเกตได้ดว้ ย

( ส่ ว น ที่ 4 ) เ นื้ อ เ รื่ อ ง (Body)


การเขียนส่วนเนื้ อเรือ ่ งจะต้องใช้ทง้ ั ศาสตร์และศิลป์ประกอบกัน กล่าวคือ ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้อ ง
กับ ศาสตร์ (sciences) นั้น คื อ หลัก วิช าการที่ผู้เขี ย นจะต้ อ งค านึ ง ถึง ในการเขี ย น ได้แ ก่
ก ร อ บ แ น ว ค ว า ม คิ ด ( conceptual framework)
ที่ผู้เขี ยนใช้ในการเขีย นจะต้องแสดงให้เห็ น ความเชื่อ มโยงของเหตุ ที่น าไปสู่ผล ( causal
relationship) ก า ร อ้ า ง อิ ง ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ใ น ส่ ว น ศิ ล ป์ ( art) ไ ด้ แ ก่
ศิลป์ในการใช้ภ าษาเพื่อ น าเสนอเรื่อ งที่เขี ย น การลาดับความ การบรรยาย วิธีก ารอ้างอิง
ส ถิ ติ แ ล ะ ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ เ รื่ อ ง ที่ เ ขี ย น
เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ อ่ า น เ กิ ด ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ป ร ะ ทั บ ใ จ ม า ก ที่ สุ ด
ในส่วนเนื้อหาสาระผูเ้ ขียนควรคานึงถึงประเด็นสาคัญๆ ดังต่อไปนี้
(1) ก า ร จั ด ล า ดั บ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ
ผู้ เ ขี ย น ค ว ร มี ก า ร ว า ง แ ผ น จั ด โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ที่ จ ะ น า เส น อ
แ ล ะ จั ด ล า ดั บ เนื้ อ ห า ส า ร ะ ใ ห้ เห ม า ะ ส ม ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง เนื้ อ ห า ส า ร ะ นั้ น
การนาเสนอเนื้อหาสาระควรมีความต่อเนื่องกัน เพือ ่ ช่วยให้ผูอ ้ า่ นเข้าใจสาระนัน
้ ได้โดยง่าย
(2) ก า ร เ รี ย บ เ รี ย ง เ นื้ อ ห า
ในส่ ว นนี้ ต้ อ งอาศัย ความสามารถของผู้ เขี ย นในหลายด้ า นนอกเหนื อ จากความเข้ า ใจ
ใ น เนื้ อ ห า ส า ร ะ เช่ น ด้ า น ภ า ษ า ด้ า น ส ไ ต ล์ ก า ร เขี ย น ด้ า น วิ ธี ก า ร น า เส น อ
ก า ร น า เ ส น อ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ใ ห้ ผู้ อ่ า น เ ข้ า ใ จ ไ ด้ ง่ า ย
ไ ด้ อ ย่ าง ร ว ด เร็ ว นั้ น จ า เป็ น ต้ อ ง ใ ช้ เท ค นิ ค ต่ าง ๆ ใ น ก า ร น าเส น อ เข้ า ช่ ว ย เช่ น
การใช้สอ ื่ ประเภทภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ เป็ นต้น
(3) ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ วิ พ า ก ษ์ วิ จ า ร ณ์ ต้ อ ง เป็ น ไ ป อ ย่ างมี ห ลัก ก าร ท ฤ ษ ฎี
หรือมีหลักฐานอ้างอิงอย่างถูกต้องตาม หลักวิชาการ มีความเป็ นเหตุเป็ นผลทีน ่ ่ าเชื่อถือ
มี ก ารอ้ า งอิ ง ข้ อ มู ล ที่ เชื่ อ ถื อ ได้ เพื่ อ น าไปสู่ ข้ อ สรุ ป ด้ ว ยทรรศนะของกลุ่ ม และมุ ม มอง
ของผูเ้ ขียน โดยมีการเรียบเรียงเรือ ่ งราวต่อเนื่องกันตามลาดับอย่างชัดเจนเพือ ่ ให้ผูอ
้ า่ นหรื อ
ผูอ้ า่ นสามารถนาเรือ ่ งนัน ้ ๆ ไปปรับใช้ในการปฏิบตั ห ิ น้าทีไ่ ด้อกี ทางหนึ่ง
(4) ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า ก า ร เ ขี ย น บ ท ค ว า ม ท า ง วิ ช า ก า ร
จ ะ ต้ อ ง ใ ช้ ค า ใ น ภ า ษ า ไ ท ย ห า ก ค า ไ ท ย นั้ น ยั ง ไ ม่ เ ป็ น ที่ เ ผ ย แ พ ร่ ห ล า ย
ค ว ร ใ ส่ ค า ภ า ษ า ต่ า ง ป ร ะ เท ศ ไ ว้ ใ น ว ง เล็ บ ใ น ก ร ณี ที่ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ห า ค า ไ ท ย ไ ด้
จ ะ เ ป็ น ต้ อ ง ทั บ ศั พ ท์ ก็ ค ว ร เ ขี ย น ค า นั้ น ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง
ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ข อ ง ร า ช บั ณ ฑิ ต ย ส ถ า น
ไม่ ค วรเขี ย นภาษาไทยและภาษาต่ า งประเทศปะปนกัน เพราะจะท าให้ ง านเขี ย นนั้น
มี ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ค ว า ม เ ป็ น ท า ง ก า ร ( formal) ล ด ล ง
ผู้เขี ย นบทความทางวิช าการจ าเป็ นต้อ งพิ ถี พิ ถ น ั ในเรื่อ งการเขี ย นตัว สะกดการัน ต์ ต่า งๆ
ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ต า ม พ จ น า นุ ก ร ม ฉ บั บ ร า ช บั ณ ฑิ ต ย ส ถ า น
แ ล ะ ค ว ร ต ร ว จ ท า น ง า น ข อ ง ต น ไ ม่ ใ ห้ ผิ ด พ ล า ด เ พ ร า ะ ง า น นั้ น จ ะ เ ป็ น
แหล่งอ้างอิงทางวิชาการต่อไป

2
(5) วิ ธี ก า ร น า เ ส น อ
การน าเสนอเนื้ อ หาสาระให้ผู้ อ่านเข้าใจได้ง่ายและรวดเร็ วนั้น จาเป็ นต้อ งใช้เทคนิ ค ต่างๆ
ในการน าเสนอเข้ า ช่ ว ย เช่ น การใช้ สื่ อ ประเภทภาพ แผนภู มิ ตาราง กราฟ เป็ นต้ น
ผูเ้ ขียนควรมีการนาเสนอสือ่ ต่างๆ อย่างเหมาะสม และถูกต้องตามหลักวิชาการ

( ส่ ว น ที่ 5 ) ส่ ว น ส รุ ป (Conclusions)
บทความทางวิ ช าการที่ ดี ค วรมี ก ารสรุ ป ประเด็ น ส าคัญ ๆ ของบทความนั้น ๆ ซึ่ ง อาจท า
ใน ลัก ษ ณ ะ ที่ เป็ น ก าร ย่ อ คื อ ก าร เลื อ ก เก็ บ ป ร ะเด็ น ส าคั ญ ๆ ข อ ง บ ท ค ว าม นั้ น ๆ
ม า เ ขี ย น ร ว ม กั น ไ ว้ อ ย่ า ง สั้ น ๆ ท้ า ย บ ท ห รื อ
อาจใช้วธิ ีการบอกผลลัพธ์วา่ สิง่ ทีก ่ ล่าวมามีความสาคัญอย่างไร สามารถนาไปใช้อะไรได้บา้ ง
ห รื อ จ ะ ท า ใ ห้ เ กิ ด อ ะ ไ ร ต่ อ ไ ป ห รื อ อ า จ ใ ช้
วิ ธี ก ารตั้ง ค าถามหรื อ ให้ ป ระเด็ น ทิ้ ง ท้ า ยกระตุ้ น ให้ ผู้ อ่ า นไปสื บ เสาะแสวงหาความรู ้
ห รื อ คิ ด ค้ น พั ฒ น า เ รื่ อ ง นั้ น ต่ อ ไ ป ง า น เ ขี ย น
ทีด่ ีควรมีการสรุปในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเสมอ

(ส่วนที่ 6) ประกอบด้วย
กิ ต ติ ก ร ร ม ป ร ะ ก า ศ (Acknowledgements)
หากต้องเขียนกิตติกรรมประกาศเพือ ่ ขอบคุณบุคคลหรือหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
สามารถเขียนได้ โดยให้อยูห ่ ลังเนื้อหาของบทความและก่อนเอกสารอ้างอิง
การพิมพ์เอกสารอ้างอิงท้ายบทความ (References)
1) เอกสารอ้างอิงทุกลาดับจะต้องมีการอ้างอิงหรือกล่าวถึงในบทความ
2 )
ต้องพิมพ์เรียงลาดับการอ้างอิงตามหมายเลขทีก ่ าหนดไว้ทีไ่ ด้อา้ งอิงถึงในบทความ
โดยไม่ตอ ้ งแยกภาษาและ
ประเภทของเอกสารอ้างอิง
3) ห ม า ย เล ข ล า ดั บ ก า ร อ้ า ง อิ ง ใ ห้ พิ ม พ์ ชิ ด ข อ บ ก ร ะ ด า ษ ด้ า น ซ้ า ย
ถ้ารายละเอียดของเอกสารอ้างอิงมีความยาว
มากกว่า หนึ่ ง บรรทัด ให้ พิ ม พ์ ต่ อ บรรทัด ถัด ไปโดยย่ อ หน้ า (โดยเว้ น ระยะ 7
ช่วงตัวอักษรหรือเริม ่ พิมพ์ชว่ ง
ตั ว อั ก ษ ร ที่ 8
การจัดพิมพ์เอกสารอ้างอิงท้ายบทความจะแตกต่างกันตามชนิดของเอกสารทีน ่ ามาอ้างอิง
ให้จดั พิมพ์ตามข้อแนะนาดังนี้
- ถ้ า เป็ นรู ป แบบการอ้ า งอิ ง ทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ใ ห้ เป็ นระบบ
Vancouver
- ถ้ า เป็ น รู ป แบบการอ้ า งอิ ง ทางสัง คมศาสตร์ ใ ห้ เ ป็ น ระบบ American
Psychological Association

ประวัติผู้เขี ยนและผู้ร่วมเขีย น ประกอบด้วย ชื่อ-สกุล ,ประวัติทางการศึกษา, การทางาน,


ผลงานทางวิชาการทีย่ อมรับ, ตาแหน่ ง
หน้าที,่ การทางานปัจจุบน ั

You might also like