You are on page 1of 33

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั

อ.เกษมสันต์ ร ุทธิ์อมร
วท.บ. (คณิตศาสตร์) ม.ธรรมศาสตร์,
วท.ม. (คณิตศาสตร์) ม.ธรรมศาสตร์.

2013
Relation & Function 1 Kasemsun Rutamorn

ความสั มพันธ์ และฟังก์ ชัน

1.คู่อนั ดับ
ในวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ การจับ คู่ ร ะหว่ า งสิ่ ง สองสิ่ ง ที่ มี ค วามสั ม พัน ธ์ ก ัน จะใช้ คู่ อั น ดั บ
เป็ นสัญลักษณ์แทนสิ่ งสองสิ่ งที่มีความสัมพันธ์กนั เช่น (2,4) หมายถึง 2 มีความสัมพันธ์กบั 4
ในกรณี ทวั่ ไป เราจะเขียนคู่อนั ดับในรู ป (a, b) เรี ยก a ว่าสมาชิกตัวแรกของคู่อนั ดับ หรื อ
สมาชิกตัวหน้า และเรี ยก b ว่าสมาชิกตัวที่สองของคู่อนั ดับ หรื อสมาชิกตัวหลัง
นอกจากนี้ยงั ได้วา่ (a, b)  (c, d ) ก็ต่อเมื่อ a  c และ b  d

ตัวอย่าง 1.1 (2,0)  (0,2)


( x,4)  (3, y) เมื่อ x  3, y  4

ตัวอย่าง 1.2 กาหนดให้ (2x, y  2)  ( x  3,1) จงหา ( x  y, x  y)


วิธีทา จาก (2x, y  2)  ( x  3,1) จะได้ 2x  x  3 และ y  2  1
ดังนั้น 2x  x  3 และ y  1 2
นัน่ คือ x  3 และ y  3
จะได้ ( x  y, x  y)  (3  3,3  3)  (6,0)

2.ผลคูณคาร์ ทเี ชียน


ถ้ากาหนดเซตสองเซตใดๆ เราสามารถเขียนเซตของคู่อนั ดับโดยที่สมาชิ กตัวหน้ามาจาก
เซตแรกและสมาชิกตัวหลังมาจากเซตหลังได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ให้ A  {1,2,3} และ B  {3,4} โดยกาหนดให้สมาชิ กตัวหน้ามาจากเซต A และสมาชิ ก
ตัวหลังมาจากเซต B จะได้เซตของคู่อนั ดับทั้งหมดคือ {(1,3), (1,4), (2,3), (2,4), (3,3), (3,4)}
เราเรี ยกเซตของคู่อนั ดับทั้งหมดนี้วา่ ผลคูณคาร์ ทีเชียน โดยมีบทนิยามดังนี้

บทนิยาม ผลคูณคาร์ ทีเชียนของเซต A และ B คือ เซตของคู่อนั ดับ ( x, y) ทั้งหมดที่ x  A และ


y  B แทนด้วย A  B  {( x, y) | x  A  y  B}
หรื อ ( x, y)  A  B  x  A  y  B

ตัวอย่าง 2.1 ให้ A  {2, 4, 8} และ B  {a, c}


A  B  {(2, a),(2, c),(4, a),(4, c),(8, a),(8, c)}
B  A  {(a,2),(a,4),(a,8),(c,2),(c,4),(c,8)}
ข้ อสั งเกต จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า A B ไม่จาเป็ นต้องเท่ากับ B A เสมอไป

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 2 Kasemsun Rutamorn

ถ้า A และ B เป็ นเซตจากัด แล้ว A  B จะมีจานวนสมาชิ กเท่ากับจานวนสมาชิ กของ A


คูณกับจานวนสมาชิกของ B หรื อ n( A  B)  n( A)  n( B)

ตัวอย่าง 2.2 กาหนดให้ A  {1,2,3} และ B  {2,4,6,8}


จะได้ n( A  B)  n( A)  n( B)  3  4  12 และ n( B  A)  n( B)  n( A)  4  3  12
ตัวอย่าง 2.3 กาหนดให้ n( A  B)  15 และ A  {3,5,7} จงหา n(B)
วิธีทา จาก n( A  B)  n( A)  n( B) โดย n( A  B)  15 และ n( A)  3
จะได้ n( B)  n( A  B)  15  5
n( A) 3

ข้ อควรระวัง ถ้า n( A  B)  n( B  A) แล้ว A B ไม่จาเป็ นต้องเท่ากับ B A เสมอไป


โดยทัว่ ไป ผลคูณคาร์ ทีเชียนไม่มีกฎการตัดออก ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง 2.4 ให้ A  {1} และ B  {2} และ C  


จะได้ A  C   และ B  C  
ดังนั้น A  C  B  C แต่ A  B

3.ความสั มพันธ์
ดังที่ได้กล่าวไว้ว่า เราใช้คู่อนั ดับ (a, b) แทนความสัมพันธ์ระหว่าง a และ b จึงกล่าวว่า
ความสัมพันธ์ คือ เซตของคู่อนั ดับที่เป็ นสับเซตของผลคูณคาร์ ทีเชียน

บทนิยาม ให้ A และ B เป็ นเซต ความสัมพันธ์จาก A ไป B คือ สับเซตของ A  B แทนด้วย r


(นัน่ คือ r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r  A  B )
จากนิ ยามข้างต้น ถ้า r เป็ นความสัมพันธ์แล้ว เราอาจเขีย นแทน ( x, y)  r ด้วย xry
(เอกซ์ มีความสัมพันธ์อาร์ กบั วาย) และเขียนแทน ( x, y) r ด้วย xry  (เอกซ์ ไม่มีค วามสัมพันธ์
อาร์ กบั วาย)
ตัวอย่าง 3.1 ให้ A  {1,2,3} และ B  {2,3,4}
ความสัมพันธ์ “เท่ากับ” คือ {(2,2), (3,3)}
ถ้าให้ r แทนความสัมพันธ์ “เท่ากับ” จาก A ไป B จะได้วา่ (2,2)  r หรื อ 2r 2
ในการเขี ย นเซตของความสั มพันธ์ อาจเขี ย นแบบแจกแจงสมาชิ ก หรื อเขี ย นแบบบอก
เงื่อนไขก็ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง 3.2 A  {2, 4, 8} และ B  {1, 3, 5}


ให้ r1 คือ ความสัมพันธ์ “มากกว่า” จาก A ไป B จะได้ r1  {(2,1),(4,3),(8,5)}

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 3 Kasemsun Rutamorn

ตัวอย่าง 3.3 A  {x | x  0} และ B  {x | x  0}


ให้ r2 คือ ความสัมพันธ์ “เป็ นรากที่สองที่ไม่เป็ นลบ” จาก A ไป B จะได้
r2  {( x, y)  A  B | y  x}

ข้ อสั งเกต ให้ A และ B เป็ นเซตใดๆ


1.เนื่องจาก   A B ดังนั้น  เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B
2.เนื่องจาก A  B  A  B ดังนั้น A B เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B
3.เนื่องจากความสัมพันธ์ r เป็ นสับเซตของ A B ดังนั้น ถ้า A และ B เป็ นเซตจากัด มี
สมาชิก n ตัว และ m ตัวตามลาดับแล้ว n( A  B)  n  m
จะได้ จานวนความสัมพันธ์ r  จานวนสับเซตของ A B  2 nm
ตัวอย่าง 3.4 กาหนดให้ A  {1, 2} และ B  {2, 3} จงหาความสัมพันธ์ท้ งั หมดจาก A ไป B
วิธีทา ให้ r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B จะได้ A  B  {(1,2), (1,3), (2,2), (2,3)}
จานวนความสัมพันธ์ r ทั้งหมด คือ 2 22  2 4  16 จะได้ความสัมพันธ์จาก A ไป B ดังนี้
1. r1   2. r2  {(1,2)}
3. r3  {(1,3)} 4. r4  {(2,2)}
5. r5  {(2,3)} 6. r6  {(1,2), (1,3)}
7. r7  {(1,2), (2,2)} 8. r8  {(1,2), (2,3)}
9. r9  {(1,3), (2,2)} 10. r10  {(1,3), (2,3)}
11. r11  {(2,2), (2,3)} 12. r12  {(1,2), (1,3), (2,3)}
13. r13  {(1,2), (2,2), (2,3)} 14. r14  {(1,3), (2,2), (2,3)}
15. r15  {(1,2), (1,3), (2,2)} 16. r16  {(1,2), (1,3), (2,2) , (2,3)}
ในกรณี เป็ นความสัมพันธ์ภายในระหว่างเซตเดียวกัน เราจะให้นิยามดังนี้

บทนิยาม ถ้า r  A  A แล้ว จะกล่าวว่า r เป็ นความสัมพันธ์ใน A

ตัวอย่าง 1.3.3 ให้ A  {1,2,3}


ให้ r แทนความสัมพันธ์ “เท่ากับ” ใน A จะได้ r  {(1,1), (2,2), (3,3)}

หมายเหตุ ในกรณี ที่ความสัมพันธ์เป็ นสับเซตของจานวนจริ ง ( r  R  R ) สามารถละการเขียน


( x, y)  R  R ได้ โดยเป็ นที่เข้าใจร่ วมกันว่า ความสัมพันธ์ดงั กล่าวเป็ นความสัมพันธ์ในเซตของ
จานวนจริ ง และในบางครั้ง อาจเขี ยนเฉพาะสมการหรื ออสมการในเงื่ อนไขของเซตเพื่อบรรยาย
ลักษณะของความสัมพันธ์ก็ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 4 Kasemsun Rutamorn

ตัวอย่าง 3.5
ความสัมพันธ์ r  {( x, y)  R  R | y  x 2  2 x} สามารถเขียนได้อีกรู ปแบบหนึ่งดังนี้
r  {( x, y) | y  x 2  2 x} หรื อเขียนในอีกรู ปแบบหนึ่งเฉพาะสมการที่บรรยายลักษณะ
ของความสัมพันธ์ คือ y  x 2  2x

4.โดเมนและเรนจ์
เนื่ องจากความสัมพันธ์เป็ นเซตของคู่อนั ดับที่ประกอบด้วยสมาชิ กตัวหน้าและสมาชิ กตัว
หลัง เราจะเรี ยกเซตของสมาชิ กตัวหน้าของคู่อนั ดับในความสัมพันธ์ว่า โดเมนของความสั มพันธ์
และเรี ยกเซตของสมาชิ กตัวหลังของคู่อนั ดับในความสัมพันธ์ ว่า เรนจ์ ของความสั มพันธ์ ดังบท
นิยามต่อไปนี้

นิยาม 4.1 ให้ r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B


โดเมนของ r (domain of r) คื อ เซตของสมาชิ ก ตัว หน้า ของคู่ อนั ดับ ทั้ง หมดใน
ความสัมพันธ์ r แทนด้วย Dr  {x | x  A  y  B, ( x, y)  r}
เรนจ์ของ r (range of r) คือ เซตของสมาชิ กตัวหลังของคู่อนั ดับทั้งหมดในความสัมพันธ์
r แทนด้วย Rr  { y | y  B  x  A, ( x, y)  r}

จากนิยามจะได้วา่ x  Dr  y  B,( x, y)  r
r  Rr  x  A,( x, y)  r

ข้ อสั งเกต Dr  A และ Rr  B

ตั ว อย่ า ง 4.1 ก าหนดให้ A  {1, 2, 3, 4, 5, 6} และ B  {2, 4, 6, 8,10,12} โดยที่ r เป็ น


ความสัมพันธ์จาก A ไป B คือ r  {( x, y)  A  B | y  2x} จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r
วิธีทา จะได้ r  {(1,2),(2,4),(3,6),(4,8),(510 , ),(6,12)}
ดังนั้น Dr  {1, 2, 3, 4, 5, 6} และ Rr  {2, 4, 6, 8,10,12}

ตัวอย่าง 4.2 จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r  {( x, y)  R  R | y  3x  4}


วิธีทา เนื่องจาก x เป็ นจานวนจริ งใดๆ สามารถหาค่า y ได้เสมอ ดังนั้น Dr R
ถ้า x เป็ นจานวนจริ งใดๆ แล้ว  3x  4 ยังคงเป็ นจานวนจริ ง
แต่ y  3x  4 ดังนั้น y เป็ นจานวนจริ งใดๆ
จึงได้วา่ Rr  R

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 5 Kasemsun Rutamorn

ตัวอย่าง 4.3 จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r  {( x, y)  R  R | y  x 2  2}


วิธีทา เนื่องจาก x เป็ นจานวนจริ งใดๆ สามารถหาค่า y ได้เสมอ ดังนั้น Dr R
ถ้า x เป็ นจานวนจริ งใดๆ แล้ว x 2  0 จะได้ x 2  2  2
แต่ y  x 2  2 ดังนั้น y  2 หรื อ Rt  [2, )
1
ตัวอย่าง 4.4 จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r  {( x, y)  R  R | y  }
2 x
1
วิธีทา พิจารณา y จะเห็นว่า x ที่เป็ นจานวนจริ งใดๆ จะมีค่า y เป็ นคาตอบเสมอ
2x
1
ยกเว้น x  2 ที่ทาให้ 2  x  0 จะได้ ซึ่ งไม่นิยาม ดังนั้น Dr  R  {2}
0
1
พิจารณา x 2
y
จะเห็นว่า ถ้า y0 แล้วจะมีค่า x เป็ นคาตอบเสมอ ดังนั้น Rr  R  {0}

ตัวอย่าง 4.5 จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r  {( x, y)  R  R | y  x  4}


วิธีทา จาก y  x  4 จะเห็นว่าค่า x ที่นามาแทนนั้นต้องไม่ทาให้ x  4 เป็ นลบ
เพราะรากที่สองของจานวนลบไม่เป็ นจานวนจริ ง
ดังนั้น x  4  0 หรื อ x  4 ดังนั้น Dr  [4, )
และเนื่องจาก x  4  0 จะได้ x  4  0 แต่ y  x  4
ดังนั้น y  0 หรื อ Rr  [0, )
ตัวอย่าง 4.6 จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r  {( x, y)  R  R | y  x  2 }
วิธีทา พิจารณา y  x  2
จะเห็นว่า x ที่เป็ นจานวนจริ งใดๆ จะมีค่า y เป็ นคาตอบเสมอ ดังนั้น Dr  R
เพราะว่า x  2  0 เสมอ ดังนั้น y  0 นัน่ คือ Rr  [0, )
x
ตัวอย่าง 4.7 จงหาโดเมนและเรนจ์ของ ของ r  {( x, y)  R  R | y  }
x2
x
วิธีทา จาก y
x2
จะเห็ นว่า x ที่เป็ นจานวนจริ งใดๆ จะมี ค่า y เป็ นคาตอบเสมอ ยกเว้น x  2 ที่ ทาให้
2
2  x  0 จะได้ ซึ่ งไม่นิยาม
0
ดังนั้น Dr  R  {2}
x
จาก y
x2
จะได้ yx  2 y  x

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 6 Kasemsun Rutamorn

yx  x  2 y
x( y  1)  2 y
2y
x
y 1
จะเห็ นว่า y ที่เป็ นจานวนจริ งใดๆ จะมี ค่า x เป็ นคาตอบเสมอ ยกเว้น y  1 ที่ ทาให้
2
y 1  0 จะได้ ซึ่ งไม่นิยาม ดังนั้น Rr  R  {1}
0
นอกจากนี้ เราสามารถพิจารณาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์จากกราฟที่กาหนดให้ดงั นี้

ตัวอย่าง 4.8 จงหาโดเมนและเรนจ์ โดยพิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้


1) Y
2) Y
r2
r1

X X

วิธีทา 1) จากกราฟ พบว่า x ซึ่งเป็ นสมาชิกในโดเมนของ r1 เป็ นจานวนจริ ง และ y ซึ่งเป็ นสมาชิก
ในเรนจ์ของ r1 เป็ นจานวนจริ ง
ดังนั้น Dr  R และ Rr  R 1

2) จากกราฟ พบว่า x ซึ่งเป็ นสมาชิกในโดเมนของ r1 เป็ นจานวนจริ ง และ y ซึ่งเป็ นสมาชิก


ในเรนจ์ของ r1 เป็ นจานวนจริ ง ซึ่ งมากกว่าหรื อเท่ากับ 0
ดังนั้น Dr  R และ Rr  [0, ) 1

5.ฟังก์ชัน
ในวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ฟั ง ก์ ชัน เป็ นความสั ม พัน ธ์ รู ป แบบหนึ่ งที่ เ ป็ นพื้ น ฐานส าคัญ ใน
การศึกษาเรื่ องอื่นๆ โดยมีบทนิยามดังนี้

บทนิ ยาม ฟั ง ก์ชัน คื อ ความสั ม พัน ธ์ ที่ ส มาชิ ก ในโดเมนแต่ ล ะตัว จับ คู่ ก ับ สมาชิ ก ในเรนจ์ข อง
ความสัมพันธ์เพียงตัวเดียวเท่านั้น

โดยนิ ยามของฟั งก์ชนั เราจะได้วา่ ฟั งก์ชนั เป็ นความสัมพันธ์ที่สมาชิ กตัวหน้าของคู่อนั ดับ


ทุกตัวจับคู่กบั สมาชิกตัวหลังเพียงตัวเดียวเท่านั้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 7 Kasemsun Rutamorn

ตัวอย่าง 5.1 จงพิจารณาว่าความสัมพันธ์ใดต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั


1) r1  {(1,3), (2,5), (3,7), (4,9)}
2) r2  {(1,1), (1,1), (2,4)}
3) r3  {(2,0), (4,0), (6,0)}
วิธีทา r1 และ r3 เป็ นฟังก์ชนั
แต่ r2 ไม่เป็ นฟังก์ชนั เนื่องจาก ถ้า x  1 จะได้ y  1 และ y  1
หรื อ x  1 จับคู่กบั ค่า y ได้สองค่า คือ y  1 และ y  1

ตัวอย่าง 5.2 จงพิจารณาว่าความสัมพันธ์ใดต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั


1) r1  {( x, y) | y  2}
2) r2  {( x, y) | x  3}
3) r3  {( x, y) | x  y 2  1}
4) r4  {( x, y) | x 2  y  1}
5) r5  {( x, y) | x  y }
6) r6  {( x, y) | y  x  1}
y 1
7) r7  {( x, y) | x  }
2
วิธีทา เป็ นฟังก์ชนั
r1 , r4 , r6 , r7
แต่ r2 , r3 , r5 ไม่เป็ นฟังก์ชนั
จาก r5  {( x, y) | x  y } จะพบว่า ถ้า x  1 จะได้ y  1 และ y  1
หรื อ x  1 จับคู่กบั ค่า y ได้สองค่า คือ y  1 และ y  1
ดังนั้น r5 จึงไม่เป็ นฟังก์ชนั
สาหรับ r2 , r3 ให้นกั เรี ยนตรวจสอบด้วยตนเอง

ตัวอย่าง 5.3 จงพิจารณาแผนภาพที่กาหนดให้ต่อไปนี้วา่ ความสัมพันธ์ใดเป็ นฟังก์ชนั


1) r1 2) r2
0 5 3 -3
1 5 4
2 6 7
9 6
วิธีทา จากแผนภาพจะได้วา่ r1 เป็ นฟังก์ชนั
แต่ r2 ไม่เป็ นฟังก์ชนั
เนื่องจาก x  3 จับคู่กบั ค่า y ได้สองค่า คือ y  3 และ y  4

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 8 Kasemsun Rutamorn

การตรวจสอบการเป็ นฟังก์ชันโดยใช้ กราฟ


เราสามารถใช้กราฟของความสัมพันธ์พิจารณาว่าความสัมพันธ์น้ นั เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่ โดย
ลากเส้นตรงขนานกับแกน Y ถ้าไม่มีเส้นตรงขนานกับแกน Y เส้นใดตัดกราฟของความสัมพันธ์ที่
กาหนดให้มากกว่าหนึ่งจุด ความสัมพันธ์น้ นั จะเป็ นฟั งก์ชนั แต่ถา้ มีเส้นตรงขนานกับแกน Y อย่าง
น้อยหนึ่งเส้น ตัดกราฟของความสัมพันธ์มากกว่าหนึ่งจุด แล้ว ความสัมพันธ์น้ นั จะไม่เป็ นฟังก์ชนั

ตัวอย่าง 5.4 จงพิจารณาว่า r  {( x, y)  R  R | y  5} เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่ โดยใช้กราฟ


วิธีทา Y

จากกราฟเราจะเห็ นว่าไม่มีเส้นขนานกับแกน Y เส้นใดตัดกราฟของความสัมพันธ์ f


มากกว่า 1 จุด ดังนั้น f เป็ นฟังก์ชนั

ตัวอย่าง 5.5 จงพิจารณาว่า r  {( x, y)  R  R | y 2  x} เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่ โดยใช้กราฟ


Y
วิธีทา

จากกราฟเราจะเห็นว่ามีเส้นขนานกับแกน Y ตัดกราฟของความสัมพันธ์ r มากกว่า 1 จุด


ดังนั้น r ไม่เป็ นฟังก์ชนั
สั ญลักษณ์ของฟังก์ชัน
การเขียนสัญลักษณ์แทนฟังก์ชนั นอกจากการเขียนในรู ปของเซตแบบบอกเงื่อนไขแล้ว ยัง
สามารถเขียนเฉพาะสมการหรื ออสมการที่บรรยายลักษณะของฟั งก์ชนั โดยการกาหนด y ในเทอม
ของ x หรื อถ้า f เป็ นฟั งก์ชนั แล้วจะเขียน y  f ( x) แทน ( x, y)  f และเรี ยก f (x) ว่า ค่ าของ
ฟังก์ชัน f ที่ x ( f (x) อ่านว่า เอฟของเอ็กซ์ หรื อ เอฟเอ็กซ์ )

ตัวอย่าง 5.6 กาหนดให้ f  {(x, y) | y  x  3}


เราสามารถเขียนแทนด้วย f ( x)  x  3 หรื อ y  x3

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 9 Kasemsun Rutamorn

หลังจากกาหนดฟั งก์ชันแล้ว จะสามารถหาค่าของฟั งก์ชันได้ เมื่ อกาหนดค่าของ x ใน


โดเมนของฟังก์ชนั ให้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง 2.1.5 กาหนดให้ f ( x)  3x  4 จงหาค่าของฟังก์ชนั f ที่ x  0 และ x  2


วิธีทา f (0)  3(0)  4  0  4  4
f (2)  3(2)  4  6  4  2

ตัวอย่าง 2.1.6 กาหนดให้ กาหนดให้ f ( x)  x 2  x  1 จงหาค่าของ f (1), f (5)


วิธีทา f (1)  (1) 2  (1)  1  1  1  1  1
f (5)  (5) 2  5  1  25  5  1  19

ในกรณี ที่ไม่ได้กาหนดโดเมนของฟั งก์ชนั มาให้ จะถื อว่า โดเมนของฟั งก์ชนั เป็ นเซตของ
จานวนจริ ง หรื อสับเซตของจานวนจริ ง และถ้ากล่าวว่า f เป็ นฟั งก์ชนั หมายถึง ฟั งก์ชนั ที่มีโดเมน
และเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริ ง

6.ฟังก์ชันเชิงเส้ น
ฟังก์ชนั เชิงเส้น คือ ฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ป f ( x)  ax  b เมื่อ a, b  R ตัวอย่างเช่น
f ( x)  3x  2 , f ( x)   x  1 , f ( x)  5x
กราฟของฟังก์ชนั เชิงเส้นจะเป็ นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน Y
จาก f ( x)  ax  b ถ้า a  0 แล้ว จะได้ว่า f ( x)  b เรี ยกว่า ฟั งก์ ชันคงตัว (constant
function) โดยกราฟของฟังก์ชนั คงตัวจะเป็ นเส้นตรงขนานกับแกน X

ตัวอย่าง 6.1 จงเขียนกราฟของ y  3x  2 และหาว่า จุด (1,2) อยูบ่ นกราฟหรื อไม่


วิธีทา หาจุดตัดแกน X ของ y  3x  2 Y
ให้ y  0 จะได้ 0  3x  2
2
ดังนั้น x
3
 2 
จุดตัดแกน X คือ   ,0 
 3  X
หาจุดตัดแกน Y ของ y  3x  2
ให้ x  0 จะได้ y  0  2  2
จุดตัดแกน Y คือ (0,2)
เขียนกราฟได้ดงั รู ป

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 10 Kasemsun Rutamorn

พิจารณาว่า จุด (1,2) อยูบ่ นกราฟหรื อไม่ ดังนี้


จาก y  3x  2
ให้ x  1 จะได้ y  3(1)  2  3  2  1
ดังนั้น ถ้า x  1 แล้ว y  1
นัน่ คือ (1,1) อยูบ่ นกราฟ แต่ (1,2) ไม่อยูบ่ นกราฟ

ตัวอย่ าง 6.2 บริ ษทั แห่ งหนึ่ งจ่ายเงิ นเดื อนพนักงานเดือนละ 10,000 บาท และให้ส่วนแบ่งจากการ
ขาย 10% ของยอดขายสิ นค้าที่พนักงานขายได้
1.จงเขียนฟังก์ชนั แสดงรายได้ในแต่ละเดือนของพนักงาน
2.ถ้าเดือนหนึ่งพนักงานขายสิ นค้าได้ 20,000 บาท เขาจะมีรายได้ท้ งั หมดกี่บาท
วิธีทา 1. ให้ x แทนยอดขายสิ นค้าที่พกั งานขายได้
f (x) แทนรายได้ของพนักงานที่ได้รับจากบริ ษท ั ทั้งหมด
10
ดังนั้น f ( x)  10,000  x
100
2. ถ้าพนักงานขายสิ นค้าได้ 20,000 บาท เขาจะมีรายได้ท้ งั หมด f (20,000) ดังนี้
10
f (20,000)  10,000  (20,000)
100
 10,000  2,000
 12,000
ดังนั้น พนักงานจะรายได้ 12,000 บาท

7.ฟังก์ชันกาลังสอง
ฟั ง ก์ ชัน ก าลัง สอง คื อ ฟั ง ก์ ชัน ที่ อ ยู่ใ นรู ป f ( x)  ax 2  bx  c เมื่ อ a, b, c  R และ
a  0 กราฟของฟังก์ชน ั กาลังสองจะขึ้นอยูก่ บั ค่าของ a, b, c ตัวอย่างเช่น
f ( x)  x 2  2 x  15 จะได้กราฟดังรู ป
Y

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 11 Kasemsun Rutamorn

f ( x )   x 2  6x  9 จะได้กราฟดังรู ป
Y

จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็ นว่า สาหรับ f ( x)  ax 2  bx  c ถ้า a  0 แล้วกราฟจะเป็ น


เส้นโค้งหงายขึ้น และถ้า a  0 แล้วกราฟจะเป็ นเส้นโค้งคว่าลง
กราฟของฟังก์ชนั กาลังสองเรี ยกว่า พาราโบลา
จุดวกกลับ คือ จุดยอดของพาราโบลา

จุดวกกลับของ f ( x)  ax 2  bx  c เมื่อ a  0 สามารถหาได้โดยใช้วิธีทาให้อยู่ในรู ป


กาลังสองสมบูรณ์ก่อน ดังนี้
 b 
ax 2  bx  c  a x 2  x  c
 a 
 2 b  b
2
 b 
2

 ax  x         c
 a  2a   2a  
 2 b  b 
2
 b
2

 a  x  x      a   c
 a  2a    2a 
2
 b b2
 a x    c
 2a  4a

และ k   b  4ac
2
b
ให้ h  
2a 4a
จะได้ ax  bx  c  ax  h  k
2 2

จุดวกกลับของกราฟพาราโบลาคือ (h, k )
ถ้า a  0 แล้ว (h, k ) จะเป็ นจุดต่าสุ ดของพาราโบลา และมีค่าต่าสุ ดเท่ากับ f (h)  k
ถ้า a  0 แล้ว (h, k ) จะเป็ นจุดสู งสุ ดของพาราโบลา และมีค่าสู งสุ ดเท่ากับ f (h)  k

ตัวอย่าง 7.1 จงหาจุดสู งสุ ด หรื อจุดต่าสุ ดของกราฟของ y  x 2  4 x  13


วิธีทา จาก y  x 2  4 x  13
จะได้ h    4  4  2
2 2
แทนค่า h  2 จะได้ y  2 2  4(2)  13  4  8  13  9

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 12 Kasemsun Rutamorn

จาก f ( x)  ax 2  bx  c
จะได้ a  1  0 ดังนั้น กราฟเป็ นรู ปพาราโบลาหงาย และมีจุด (h, k ) จะเป็ นจุดต่าสุ ด
ดังนั้น จุดต่าสุ ดคือ (2,9)

เราสามารถนาความรู ้เกี่ยวกับกราฟไปแก้ปัญหาสมการ หรื ออสมการได้ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง 7.2 จงแก้อสมการ x 2  2x  3  0 โดยใช้กราฟ


วิธีทา ให้ y  x 2  2 x  3 เนื่องจาก x 2  2x  3  ( x  1) 2  4
จะได้จุดวกกลับคือ (1,4) และกราฟเป็ นพาราโบลาแบบหงาย
หาจุดตัดแกน X โดยให้ x 2  2x  3  0 จะได้ x  3 และ x  1
ดังนั้น จุดตัดแกน X คือ (3,0) และ (1,0) เขียนกราฟพาราโบลาได้ดงั รู ป
Y

จากกราฟจะพบว่า y  0 หรื อ x 2  2x  3  0 เมื่อ x  (1,3)


ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการ x 2  2x  3  0 คือ (1,3)

ตัวอย่าง 7.3 จงแก้อสมการ x 2  2 x โดยใช้กราฟ


วิธีทา ให้ y1  x 2 และ y2  2 x เขียนกราฟได้ดงั รู ป
Y

หาจุดตัดของกราฟทั้งสอง จะได้วา่ กราฟทั้งสองตัดกันที่จุด (0,0) และ (2,4)


ดังนั้น y1  y 2 เมื่อ x  0 และ x  2
ถ้า x  2 จะได้วา่ y1  y 2
ถ้า x  0 จะได้วา่ y1  y 2
ดังนั้น x 2  2 x เมื่อ x  0 และ x  2
เซตคาตอบ คือ (,0)  (2, )

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 13 Kasemsun Rutamorn

8.ฟังก์ชันเอกซ์ โพเนนเชียล
ฟังก์ชนั เอ็กซ์โพเนนเชียล คือ ฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ป f ( x)  a x เมื่อ a  0 และ a  1
กราฟของฟังก์ชนั เอ็กซ์โพเนนเชียล
กรณี ที่ 1 เมื่อ a  1
Y

กรณี ที่ 2 เมื่อ 0  a  1


Y

ข้ อสั งเกต 1.สมบัติของเลขยกกาลังเป็ นจริ งสาหรับฟังก์ชนั เอ็กซ์โพเนนเชียลด้วย


2.โดเมนของฟังก์ชนั เอ็กโพเนนเชียลคือ R เรนจ์ของฟังก์ชนั เอ็กโพเนนเชียลคือ R

ตัวอย่าง 8.1 จงเขียนกราฟของฟังก์ชนั y  10 x


วิธีทา
x 2 1 0 1 2
y 0.01 0.1 1 10 100
Y
(2,100)

(1,10)

(0,1)
X
(2, 0.01) (1, 0.1)

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 14 Kasemsun Rutamorn

1 x
ตัวอย่าง 8.2 จงเขียนกราฟของ y( )
10
วิธีทา
x 2 1 0 1 2
y 100 10 1 0.1 0.01
Y

(2,100)

(1,10)

(0,1)
(1, 0.1) X
(2, 0.01)

สมการเอ็กซ์ โพเนนเชียล คือ สมการที่มีตวั แปรเป็ นเลขชี้ กาลัง ซึ่ งเราสามารถใช้สมบัติของ


เลขยกกาลังหาคาตอบของสมการได้

ตัวอย่าง 8.3 จงหาเซตคาตอบของ 2 2 x1  8


วิธีทา จาก 2 2 x1  8
2 2 x1  23
2x  1  3 ถ้า a x  ay แล้ว xy

2x  4
x2
ดังนั้น เซตคาตอบของสมการคือ {2}
1
ตัวอย่าง 8.4 จงหาเซตคาตอบของ  4x
8
1
วิธีทา จาก  4x
8
2 3  (2 2 ) x
2 3  2 2 x ถ้า a x  ay แล้ว xy

 3  2x
3
x
2
ดังนั้น เซตคาตอบของสมการคือ { 3}
2

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 15 Kasemsun Rutamorn

9.ฟังก์ชันค่ าสั มบูรณ์


ฟั งก์ชนั ค่าสัมบูรณ์ คือ ฟั งก์ชนั ที่อยู่ในรู ป f ( x)  x  a  c เมื่อ a, c  R และ a  0
กราฟของฟังก์ชนั ค่าสัมบูรณ์จะขึ้นอยูก่ บั ค่าของ a, c ตัวอย่างเช่น
f ( x)  x และ f ( x)  x  2 จะได้กราฟดังรู ป

Y
f ( x)  x
f ( x)  x  2

10.ฟังก์ชันขั้นบันได
ฟั งก์ชนั ขั้นบันได คือ ฟั งก์ชนั ที่มีโดเมนเป็ นสับเซตของจานวนจริ ง และมีค่าฟั งก์ชนั คงตัว
เป็ นช่วงๆ มากกว่า 2 ช่วง กราฟของฟังก์ชนั จะมีรูปคล้ายขั้นบันได ตัวอย่างเช่น
 20 ; 0  x  5

f ( x)   40 ;5  x  20
 75 ;20  x  35

ฟังก์ชนั ข้างต้นสามารถเขียนกราฟได้ดงั รู ป
Y

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 16 Kasemsun Rutamorn

11. ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปอีกเซตหนึ่ง
ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงฟั งก์ชนั ที่สาคัญซึ่ งประกอบด้วย ฟั งก์ชนั จากเซตหนึ่ งไปอีกเซตหนึ่ ง
ฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง ฟังก์ชนั ทัว่ ถึง ฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งแบบทัว่ ถึง ฟังก์ชนั เพิ่ม และฟังก์ชนั ลด

นิยาม 11.1 ฟังก์ชันจาก A ไป B


เมื่อ A, B เป็ นเซต f เป็ นฟังก์ชนั และมีสมบัติต่อไปนี้
x  A, y  B โดยที่ ( x, y)  f
จะเรี ยก f ว่า ฟังก์ชนั จาก A ไป B แทนด้วยสัญลักษณ์ f:A B

ตัวอย่าง 11.1 กาหนดให้ A  {1, 2, 3, 5} และ B  {0, 1, 2, 3, 4}


และ f  {(1,3),(2,0),(3,4),(5,3)} จะได้ f เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไป B หรื อ f : A  B

ตัวอย่าง 11.2 กาหนดให้ A  {1, 2, 3, 4} และ B  {1, 2, 3, 4}


, ), (4,4)} จะได้วา่ g ไม่เป็ นฟังก์ชน
และ g  {(1,2),(2,1),(3,4),(31 ั จาก A ไป B
เพราะ (31
, )  g และ (3,4)  g แต่ 1  4

เราสามารถตรวจสอบการเป็ นฟังก์ชนั จาก A ไป B ได้โดยใช้ทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท 11.1 ให้ และ B เป็ นเซต และ f เป็ นฟังก์ชนั


A
ั ก็ต่อเมื่อ D f  A
f : A  B เป็ นฟั งก์ชน

ตัวอย่าง 11.3 กาหนด A  {1, 2, 3, 4} และ B  {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8}


และ f  {(x, y) | y  x  3} จะได้วา่ f เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไป B

ตัวอย่าง 11.4 กาหนด A  {1, 2, 3, 4} และ B  {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8}


1
และ f  {( x, y ) | y  } จะได้วา่ f ไม่เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไป B
x 1
เนื่องจาก D f  {2, 3, 4}  A

ตั ว อย่ า ง 11.5 ก าหนด f  {( x, y) | y  x  1} จงหาเซต A โดย A  R ที่ ท าให้ f เป็ น


ฟังก์ชนั จาก A ไป R
วิธีทา จาก f  {( x, y) | y  x  1} จะได้ Dr  [1, )
ดังนั้น A  D f  [1, )

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 17 Kasemsun Rutamorn

สาหรับการตรวจสอบว่าฟังก์ชนั ใดเท่ากันหรื อไม่จะใช้ทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท 11.2 การเท่ากันของฟังก์ชัน


ให้ f : A  B และ g: A  B แล้ว f g ก็ต่อเมื่อ f ( x)  g( x), x  A

ข้ อสั งเกต จากทฤษฎีบท 11.2 เราจะได้วา่ D f  Dg  A


และ f  g ก็ต่อเมื่อ f ( x)  g( x), x  A
ดังนั้น f  g ก็ต่อเมื่อ f ( x)  g( x), x  A
x2  9
ตัวอย่าง 11.6 กาหนดให้ f ( x)  และ g( x)  x  3 จงพิจารณาว่า f  g หรื อไม่
x3
x2  9
วิธีทา จาก f ( x)  จะได้วา่ Df  R  {3}
x3
และจาก g( x)  x  3 จะได้วา่ Dg  R
เพราะว่า D f  Dg
ดังนั้น มี x  3 ที่ทาให้ f ( x)  g( x)
นัน่ คือ f  g

นิยาม 11.2 ฟังก์ชันหนึ่งต่ อหนึ่ง


ให้ A และ B เป็ นเซต f : A  B แล้ว f เรี ยกว่า ฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง (one to one)
11
ถ้า ( x1 , y)  f และ ( x2 , y)  f แล้ว x1  x2 แทนด้วย f : A B

ตัวอย่าง 11.7 จงพิจารณาว่า f ( x)  x เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งหรื อไม่


วิธีทา จาก f ( x)  x จะได้ f ( x1 )  x1 และ f ( x2 )  x2
สมมติ f ( x1 )  f ( x2 )
จะได้วา่ x1  x2
ดังนั้น x1  x2
นัน่ คือ f ( x)  x เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง

ตัวอย่าง 11.8 จงพิจารณาว่า f ( x)  x 2  3x  2 เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งหรื อไม่


วิธีทา จาก f ( x)  x 2  3x  2
จะได้ f ( x1 )  x12  3x1  2 และ f ( x2 )  x22  3x2  2
สมมติ f ( x1 )  f ( x2 )
จะได้วา่ x12  3x1  2  x22  3x2  2
x12  x22  3x1  3x2  0

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 18 Kasemsun Rutamorn

( x1  x2 )( x1  x2 )  3( x1  x2 )  0
( x1  x2 )( x1  x2  3)  0
ดังนั้น x1  x2  0 หรื อ x1  x2  3  0
สาหรับ x1  x2  0 จะได้วา่ x1  x2
พิจารณา x1  x2  3  0 จะได้วา่ x1   x2  3
ดังนั้น x1  x2
นัน่ คือ f ( x)  x 2  3x  2 ไม่เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง

การพิจารณาว่าฟังก์ชนั ใดเป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ งหรื อไม่อีกวิธีหนึ่ งคือ พิจารณาจากกราฟ


ของฟั งก์ชัน โดยลากเส้ นขนานกับแกน X ถ้า ไม่มีเส้ นขนานกับแกน X เส้นใด ตัดกราฟของ
ฟังก์ชนั ที่กาหนดให้มากกว่าหนึ่งจุด ฟังก์ชนั นั้นจะเป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
ตัวอย่าง 11.9 จงพิจารณาว่า f ( x)  x 2 เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งหรื อไม่
วิธีทา Y f ( x)  x 2

จากกราฟเราจะเห็ นว่ามีเส้นขนานกับแกน X ที่ตดั กราฟของฟั งก์ชนั f มากกว่า 1 จุด


ดังนั้น f ไม่เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง

ข้ อสั งเกต จากตัวอย่าง 11.9 เราพบว่าฟั งก์ชนั ที่โจทย์กาหนดให้ไม่เป็ นฟั งก์ชนั หนึ่ งต่อหนึ่ ง แต่ถา้
กาหนดโดเมนของฟังก์ชนั ให้เหมาะสมแล้วจะเป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งได้

นิยาม 11.3 ฟังก์ชันทัว่ ถึง


ให้ A และ B เป็ นเซต f : A  B แล้ว f เรี ยกว่า ฟังก์ชนั จาก A ไปทัว่ ถึง B (onto)
onto
เมื่อ y  B, x  A, ( x, y)  f หรื อ y  f ( x), R( f )  B แทนด้วย f : A B

ตัวอย่าง 11.11 กาหนดให้ A  {a, b, c, d} , B  {x, y, z}


และ f  {(a, x),(b, y),(c, z),(d , x)} , g  {(a, x),(b, z),(c, x),(d , z)}
จะเห็นว่า f เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไปทัว่ ถึง B เพราะว่า Rg  B
และ g เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไป B เพราะ Rg  B แต่ B  Rg

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 19 Kasemsun Rutamorn

ตัวอย่าง 11.13 จงพิจารณาว่า f  {(x, y)  R  R | y  x  4} เป็ นฟังก์ชนั ทัว่ ถึงหรื อไม่


วิธีทา ให้ A  R และ B  R
ให้ y  B
ดังนั้น y  x  4
จะได้ x  y  4
นัน่ คือ x  A ,( x, y)  f
ดังนั้น y  R f
สาหรับ y ที่เป็ นสมาชิกใดๆ และ y  B จะได้วา่ B  R f
แต่ R f  B
ดังนั้น R f  B
นัน่ คือ f เป็ นฟังก์ชนั จาก R ไปทัว่ ถึง R

นิยาม 11.4 ฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งแบบทัว่ ถึง


ให้ A และ B เป็ นเซต และ f : A  B
ถ้า f เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งแบบทัว่ ถึง B แล้ว f เรี ยกว่า การสมนัยแบบหนึ่งต่อหนึ่ง
11
(one-to-one correspondence) ระหว่าง A และ B แทนด้วย f : A B
onto

หรื อเรี ยกว่า ฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งแบบทัว่ ถึง (bijective function)

นัน่ คือ f : A  B เรี ยกว่า ฟั งก์ชนั หนึ่ งต่อหนึ่ งแบบทัว่ ถึ ง (bijective) ถ้า f เป็ นฟั งก์ชนั
หนึ่งต่อหนึ่ง (injective) และเป็ นฟังก์ชนั ทัว่ ถึง (surjective)

ตัวอย่าง 11.14 จงพิจารณาว่า f ( x)  2 x  1 เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งและทัว่ ถึงหรื อไม่


วิธีทา 1.พิจารณาว่า f เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งหรื อไม่
จาก f ( x)  2 x  1
จะได้ f ( x1 )  2 x1  1 และ f ( x2 )  2 x2  1
สมมติ f ( x1 )  f ( x2 )
จะได้วา่ 2 x1  1  2 x2  1
ดังนั้น x1  x2
นัน่ คือ f เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
2.พิจารณาว่า f เป็ นฟังก์ชนั ทัว่ ถึงหรื อไม่
ให้ A  R และ B  R
ให้ y  B โดยที่ y  f ( x)
ดังนั้น y  2 x  1

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 20 Kasemsun Rutamorn

y 1
จะได้ x
2
นัน่ คือx  A ,( x, y)  f
ดังนั้น y  R f
สาหรับ y ที่เป็ นสมาชิกใดๆ และ y  B จะได้วา่ B  R f
แต่ R f  B
ดังนั้น R f  B
นัน่ คือ f เป็ นฟังก์ชนั จาก R ไปทัว่ ถึง R
จาก 1 และ 2 จึงสรุ ปได้วา่ f เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งจาก R ไปทัว่ ถึง R

12 ฟังก์ชันเพิม่ และฟังก์ชันลด
ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงฟังก์ชนั ที่สาคัญคือ ฟังก์ชนั เพิ่มและฟังก์ชนั ลดซึ่ งมีนิยามดังนี้

นิยาม 12.1 ฟังก์ชนั เพิ่มและฟังก์ชนั ลด


ให้ f เป็ นฟังก์ชนั จากสับเซตของ R ไป R และ A  D f แล้ว
1. f เป็ นฟังก์ชนั เพิ่มใน A ก็ต่อเมื่อ สาหรับสมาชิ ก x1 และ x2 ใดๆ ใน A ถ้า x1  x2
แล้ว f ( x1 )  f ( x2 )
2. f เป็ นฟั งก์ชนั ลดใน A ก็ต่อเมื่อ สาหรับสมาชิ ก x1 และ x2 ใดๆ ใน A ถ้า x1  x2
แล้ว f ( x1 )  f ( x2 )

กราฟของฟังก์ชนั เพิ่มและฟังก์ชนั ลด

รู ปที่ 1 ฟังก์ชนั เพิ่ม รู ปที่ 2 ฟังก์ชนั ลด

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 21 Kasemsun Rutamorn

ตัวอย่ าง 12.1 กาหนดให้ f ( x)  3x  2 จงพิจารณาว่าฟั งก์ชนั ที่กาหนดให้ เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มหรื อ
ฟังก์ชนั ลดในเซตของจานวนจริ ง
วิธีทา ให้ x1 , x2  R ถ้า x1  x2 จะได้ 3x1  3x2
และ 3x1  2  3x2  2
ดังนั้น f ( x1 )  f ( x2 )
นัน่ คือ f เป็ นฟังก์ชนั ลดในเซตของจานวนจริ ง

ตัวอย่ าง 12.2 กาหนดให้ f ( x)  4  x 2 จงพิจารณาว่าฟั งก์ชนั ที่กาหนดให้ เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มหรื อ
ฟังก์ชนั ลดในเซตของจานวนจริ ง
วิธีทา จาก f ( x)  1  x 2
พิจารณา f (1)  4  (1) 2  3
f (0)  4  (0) 2  4
f (3)  4  (3) 2  5
จะเห็นว่า  1  0 และ f (1)  f (0)
ดังนั้น f ไม่ใช่ฟังก์ชนั ลดในเซตของจานวนจริ ง
และ 0  3 แต่ f (0)  f (3)
ดังนั้น f ไม่ใช่ฟังก์ชนั เพิ่มในเซตของจานวนจริ ง
นัน่ คือ f ไม่ใช่ฟังก์ชนั ลดในเซตของจานวนจริ ง และไม่ใช่ฟังก์ชนั เพิม่ ในเซตของจานวนจริ ง
ข้ อควรระวัง 1.ถ้า f ไม่เป็ นฟังก์ชนั เพิ่มในเซต A แล้ว จะสรุ ปว่า f เป็ นฟังก์ชนั ลดในเซต A ไม่ได้
2. ถ้า f ไม่เป็ นฟังก์ชนั ลดในเซต A แล้ว จะสรุ ปว่า f เป็ นฟังก์ชนั เพิ่มในเซต A ไม่ได้

ตัวอย่าง 12.3 จงพิจารณารู ปของฟังก์ชนั f ต่อไปนี้ วา่ f เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ม หรื อเป็ นฟั งก์ชนั ลดบน
ช่วงใด Y

(4,8)

(5,3)

( 2,6)

วิธีทา ฟังก์ชนั f เป็ นฟังก์ชนั เพิ่มบนช่วง (,5] และบนช่วง [2,4]


ฟังก์ชนั f เป็ นฟังก์ชนั ลดบนช่วง [3,2] และบนช่วง (4, )

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 22 Kasemsun Rutamorn

13 พีชคณิตของฟังก์ชัน
ในบางครั้ งเราอาจสร้ างฟั ง ก์ชันขึ้ นใหม่โดยใช้ฟั งก์ชันเดิ มที่ มีอยู่ กล่ าวคื อ ถ้าฟั งก์ชันที่
กาหนดให้สองฟั งก์ชนั มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริ งแล้ว เราสามารถนาฟั งก์ชนั ทั้ง
สองมาบวก ลบ คูณ และหารกันได้โดยใช้นิยามต่อไปนี้
นิยาม 13.1 กาหนดให้ f และ g เป็ นฟังก์ชนั ในเซตของจานวนจริ ง
f  g  {( x, y) | y  f ( x)  g ( x)  x  D f  Dg }
f  g  {( x, y) | y  f ( x)  g ( x)  x  D f  Dg }
f  g  {( x, y) | y  f ( x)  g ( x)  x  D f  Dg }
f f ( x)
 {( x, y ) | y   x  D f  Dg  g ( x)  0}
g g ( x)

ตัวอย่ าง 13.1 กาหนดให้ f ( x)  5x  2 และ g( x)  x 2 จงหา ( f  g)( x) , ( f  g)( x)

( f  g)( x) และ ( f )( x ) ตามลาดับ


g
วิธีทา ( f  g)( x)  f ( x)  g( x)  x 2  5x  2
( f  g)( x)  f ( x)  g( x)   x 2  5x  2
( f  g)( x)  (5x  2)( x 2 )  5x 3  2 x 2
f f ( x ) 5x  2
( )( x )   ,x0
g g( x) x2

ตัวอย่าง 13.2 ให้ f  {(1,3), (2,7), (3,9), (5,10)} และ g  {(1,3), (2,5), (3,0), (4,2)}
f
จงหา f  g , fg และ พร้อมทั้งหาโดเมนของแต่ละฟังก์ชนั
g
วิธีทา D f  {1,2,3,5} และ f  {1,2,3,4}
ดังนั้น D f  g  D f  Dg  {1,2,3} และ D fg  D f  Dg  {1,2,3}
( f  g )(1)  f (1)  g (1)  3  3  6
( f  g )(2)  f (2)  g (2)  7  5  12
( f  g )(3)  f (3)  g (3)  9  0  9
ดังนั้น f  g  {(1,6), (2,12), (3,9)}

( fg )(1)  f (1) g (1)  3  3  9


( fg )(2)  f (2) g (2)  7  5  35
( fg )(3)  f (3) g (3)  9  0  0
ดังนั้น fg  {(1,9), (2,35), (3,0)}

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 23 Kasemsun Rutamorn

D f  x | x  D f  Dg  g ( x)  0  {1,2}
g

f f (1) 6
 (1)   1
g g (1) 6
f f (2) 16
 (2)  
g g (2) 11
f   16 
ดังนั้น  (1,1),  2, 
g   11 

13 ฟังก์ชันอินเวอร์ ส
จากการศึ ก ษาเรื่ อ งความสั ม พัน ธ์ เราทราบแล้ว ว่ า ความสั ม พัน ธ์ จ ะมี อิ น เวอร์ ส ของ
ความสัมพันธ์ และเนื่องจากฟังก์ชนั เป็ นความสัมพันธ์ ดังนั้น ฟังก์ชนั จึงมีอินเวอร์ สของฟังก์ชนั
กาหนดให้ f : A  B แล้ว อินเวอร์ สของฟังก์ชนั คือ f 1: B  A แทนด้วย f 1
f 1 จะไม่เป็ นฟังก์ชน
ั จาก B ไป A ถ้ามีลกั ษณะต่อไปนี้
1. D f  B หรื อ R f  B หรื อ f ไปไม่ทวั่ ถึง B
1

2. ถ้า f ไม่เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง


จึงสรุ ปได้ว่า ถ้า f : A  B ไม่เป็ นฟั งก์ชันทัว่ ถึ ง หรื อ ไม่เป็ นฟั งก์ชนั หนึ่ งต่อหนึ่ งแล้ว
f 1 จะไม่เป็ นฟังก์ชน
ั จาก B ไป A เราจึงนิยามฟังก์ชนั อินเวอร์สดังนี้
11
นิยาม 13.1 ถ้า f : A  B แล้ว อินเวอร์ สของความสัมพันธ์ f
onto
1
จาก B ไป A จะเรี ยกว่า
ฟังก์ชนั อินเวอร์ สของ f (inverse of f )

ตัวอย่าง 13.1 กาหนดให้ A  {1,2,3,4} , B  {a, b, c, d} และ f  {(1, a),(2, b),(3, c),(4, d )}
จงหา f 1 และพิจารณาว่า f 1 เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่
วิธีทา จาก f  {(1, a),(2, b),(3, c),(4, d )} จะได้ f 1  {(a,1),(b,2),(c,3),(d ,4)}
ดังนั้น f 1 เป็ นฟังก์ชนั อินเวอร์ ส

ตัวอย่าง 13.2 กาหนดให้ A  {1,2,3,4} , B  {a, b, c, d , e} และ f  {(1, a),(2, c),(3, e),(4, a)}
จงหา f 1 และพิจารณาว่า f 1 เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่
วิธีทา จาก f  {(1, a),(2, c),(3, e),(4, a)} จะได้ f 1  {(a,1),(c,2),(e,3),(a,4)}
เพราะว่า (a,1)  f 1 และ (a,4)  f 1 แต่ 1  4
ดังนั้น f 1 ไม่เป็ นฟังก์ชนั

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 24 Kasemsun Rutamorn

ตัวอย่าง 13.3 กาหนดให้ f ( x)  x 2 จงหา f 1 และพิจารณาว่า f 1


เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่
วิธีทา จาก f ( x)  x 2
จะได้ f  {( x, y)  R  R | y  x 2 }
f 1  {( x, y)  R  R | x  y 2 }
f 1  {( x, y)  R  R | y   x}
เพราะว่า (11 , )  f 1 และ (1,1)  f 1
ดังนั้น f 1 ไม่เป็ นฟังก์ชนั
ข้ อสั งเกต ถ้า f เป็ นฟังก์ชนั แล้ว
1. f 1 เป็ นฟังก์ชนั อินเวอร์ ส ก็ต่อเมื่อ f 1 เป็ นฟังก์ชนั
2. อินเวอร์ สของฟังก์ชนั ไม่จาเป็ นต้องเป็ นฟังก์ชนั

สาหรับการหาฟังก์ชนั อินเวอร์ ส กรณี ที่เราทราบว่าฟั งก์ชนั ที่กาหนดให้มีฟังก์ชนั อินเวอร์ ส


จะใช้ทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท 13.1 กาหนดให้ f:A B เป็ นฟังก์ชนั ที่หาอินเวอร์ สได้


y  f (x) ก็ต่อเมื่อ x  f 1 ( y)

การเขี ยนสัญลักษณ์ แทนฟั งก์ชันอินเวอร์ สนั้น จะกาหนดให้ x  f 1


( y) แต่โดยทัว่ ไป
นิยมเขียน y  f ( x) จึงอาจเขียน x  f 1 ( y) ใหม่ในรู ป y  f 1 ( x)
x 1
ตัวอย่าง 13.4 กาหนดให้ f ( x)  จงหา f 1
(3)
3
x 1  x 1
วิธีทา จาก f ( x)  จะได้ x  f 1  
3  3 
x 1
ให้  3 จะได้ x  10
3
ดังนั้น f 1 (3)  10
x
ตัวอย่าง 13.5 กาหนดให้ f 1 ( x) จงหา f (x)
x2
วิธีทา จาก f 1 ( x)  x จะได้ f  x   x
x2  x 2
ให้ u  x จะได้ x  2u
x2 u 1
2u
ดังนั้น f (u ) 
u 1
นัน่ คือ f ( x)  2 x
x 1

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 25 Kasemsun Rutamorn

นอกจากการใช้ทฤษฎีบท 13.1 แล้ว เรายังสามารถหาฟั งก์ชนั อินเวอร์ สได้ โดยใช้วิธีสลับ


ตัวแปร x และ y ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง 13.6 กาหนดให้ f ( x)  3x  1 จงหา f 1 ( x)


วิธีทา จาก y  f ( x)  3x  1
สลับตัวแปร โดยเปลี่ยน x เป็ น y และเปลี่ยน y เป็ น x
จะได้ x  3y  1
x 1
ดังนั้น y
3
x  1
นัน่ คือ f 1 ( x) 
3

x3  2
ตัวอย่าง 13.7 กาหนดให้ f ( x)  จงหาฟังก์ชนั อินเวอร์ สของฟังก์ชนั f
3
x3  2
วิธีทา จาก y  f ( x) 
3
สลับตัวแปร โดยเปลี่ยน x เป็ น y และเปลี่ยน y เป็ น x
y3  2
จะได้ x
3
ดังนั้น y  3 3x  2
นัน่ คือ f 1 ( x)  3 3x  2

ทฤษฎีบท 13.1 ทาให้ได้ผลที่น่าสนใจดังนี้

ทฤษฎีบท 13.2 กาหนดให้ f : A  B เป็ นฟังก์ชนั ที่หาอินเวอร์ สได้


1. ถ้า y  f (x) แล้ว x  f 1 ( f ( x)) สาหรับทุกๆ x  D f
2. ถ้า y  f (x) แล้ว y  f ( f 1 ( y)) สาหรับทุกๆ y  R f

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 26 Kasemsun Rutamorn

14 ฟังก์ชันประกอบ
กาหนดให้ f  {(1,2), (2,3), (3,4)}และ g  {(2,4), (3,9), (4,16)}
จะได้ D f  {1,2,3} , R f  {2,3,4}
และ Dg  {2,3,4}, Rg  {4,9,16}
จะเห็นว่า R f  Dg  
พิจารณาการจับคู่ของฟังก์ชนั f และ g จะพบว่า
4  g (2)  g ( f (1)) เนื่องจาก f (1)  2
9  g (3)  g ( f (2)) เนื่องจาก f (2)  3
4  g (4)  g ( f (3)) เนื่องจาก f (3)  4
เขียนแผนภาพการจับคู่ได้ดงั รู ป
Df R f  Dg Rg

1 2 4

2 3 9

3 4 16

จากตัว อย่ า งข้ า งต้ น จะเห็ น ว่ า ถ้ า f และ g เป็ นฟั ง ก์ ชั น โดยที่ R f  Dg   แล้ ว
เราสามารถสร้างฟังก์ชนั ใหม่ได้ ซึ่ งเรี ยกฟังก์ชนั ใหม่น้ ีวา่ ฟังก์ชนั ประกอบ ดังนิยามต่อไปนี้

นิยาม 14.1 ฟังก์ชนั ประกอบ


ถ้า f : A  B และ g: B  C แล้ว เซต h นิยามดังนี้
h  {( x, z) | x  A, z  C  y  B, y  f ( x)  z  g ( y)  g ( f ( x))}
จะเรี ยก h ว่า ฟังก์ชนั ประกอบ (composite function) ของ g และ f แทนด้วย gof

จากนิยามข้างต้น จะได้วา่
gof  {( x, z) | x  A, z  C  y  B, y  f ( x)  z  g ( y)  g ( f ( x))}
หรื อ ( x, z)  gof  y  B, y  f ( x)  z  g( y)  g( f ( x))
ดังนั้น gof ( x)  g( f ( x)) โดยที่ R f  Dg  
โดเมนของ gof คือ Dgof  {x  D f | f ( x)  Dg }

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 27 Kasemsun Rutamorn

ตัวอย่าง 14.1 กาหนดให้ A  {1,2,3,4} , B  {2,4,6,7} , C  {1,3,4,7} และ


f  {(1,4),(2,2),(3,6),(4,6)} , g  {(2,1),(4,3),(6,7),(7,4)} โดยที่ h  g( f ( x)) จงหา h
วิธีทา h(1)  g( f (1))  g(4)  3
h(2)  g( f (2))  g(2)  1
h(3)  g( f (3))  g(6)  7
h(4)  g( f (4))  g(6)  7
ดังนั้น h  {(1,3),(2,1),(3,7),(4,7)}

ข้ อสั งเกต จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นว่า R f  Dg   นัน่ คือ เราสามารถหา gof ได้ แต่ถา้
R f  Dg   จะไม่สามารถหา gof ได้

ตัวอย่าง 14.2 กาหนดให้ f  {(1,4),(2,2),(3,6),(4,6)} , g  {(11


, ),(3,3),(5,7),(7,4)}
วิธีทา จะเห็นว่า D f  {1,2,3,4} และ R f  {2,4,6}
และ Dg  {1,3,5,7} และ Rg  {1,3,4,7}
จะได้ R f  Dg   จึงไม่สามารถหา gof ได้
แต่ Rg  D f  {1,3,4}   จึงหา fog ได้
ให้ h  f ( g( x))
h(1)  f ( g(1))  f (1)  4
h(3)  f ( g(3))  f (3)  6
h(5)  f ( g(5))  f (7) หาไม่ได้ เพราะ 7 ไม่อยูใ่ นโดเมนของ f
h(7)  f ( g(7))  f (4)  6
ดังนั้น h  {(1,4),(3,6),(4,6)}

ตัวอย่าง 14.3 กาหนดให้ f ( x)  7 x และ g( x)  x  5 จงหา gof และ fog


วิธีทา 1.หา gof
จาก f ( x)  7 x จะได้วา่ R f  R
และจาก g( x)  x  5 จะได้วา่ Dg  R
จะได้ R f  Dg  R   จึงหา gof ได้
ดังนั้น gof ( x)  g( f ( x))
 g (7 x )

 7x  5
นัน่ คือ gof ( x)  7 x  5
2.หา fog

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 28 Kasemsun Rutamorn

จาก g( x)  x  5 จะได้วา่ Rg  R
และจาก f ( x)  7 x จะได้วา่ D f  R
จะได้ Rg  D f  R   จึงหา fog ได้
ดังนั้น fog( x)  f ( g( x))
 f ( x  5)
 7( x  5)

 7 x  35
นัน่ คือ fog( x)  7 x  35

ตัวอย่าง 14.4 กาหนดให้ f ( x)  x  2 และ g( x)  x จงหา gof และ fog


วิธีทา 1.หา gof
จาก f ( x)  x  2 จะได้วา่ R f  R
และจาก g( x)  x จะได้วา่ Dg  [0, )
จะได้ R f  Dg  [0, )   จึงหา gof ได้
ดังนั้น gof ( x)  g( f ( x))
 g( x  2)
 x2
นัน่ คือ และ Dgof  [2, )
gof ( x)  x  2
2.หา fog
จาก g( x)  x จะได้วา่ Rg  [0, )
และจาก f ( x)  x  2 จะได้วา่ D f  R
จะได้ Rg  D f  [0, )   จึงหา fog ได้
ดังนั้น fog( x)  f ( g( x))  f ( x )  x  2
นัน่ คือ fog( x)  x  2 และ D fog  [0, )
1
ตัวอย่ าง 14.5 กาหนดให้ f ( x)  x 2 และ g ( x)  จงหา gof และ fog
x 1
วิธีทา 1.หา gof
จาก f ( x)  x 2 จะได้วา่ R f  [0, )
1
และจาก g ( x)  จะได้วา่ Dg  R  {1}
x 1
จะได้ R f  Dg  [0,1)  (1, )   จึงหา gof ได้
1
ดังนั้น gof ( x)  g( f ( x))  g ( x 2 ) 
x 1
2

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 29 Kasemsun Rutamorn

1
นัน่ คือ gof ( x)  และ Dgof  R  {1,1}
x 1
2

2.หา fog
1
จาก g ( x)  จะได้วา่ Rg  R  {0}
x 1
และจาก f ( x)  x 2 จะได้วา่ D f  R
จะได้ Rg  D f  R  {0}   จึงหา fog ได้
2
1  1 
ดังนั้น fog( x)  f ( g( x))  f ( )  
x 1  x 1
2
 1 
นัน่ คือ fog ( x)    และ D fog  R  {1}
 x 1

ข้ อสั งเกต จากตัวอย่างที่ผา่ นมาจะพบว่า f g  g f

ตัวอย่าง 14.6 กาหนดให้ F ( x)  ( x  2) 8 จงเขียน F ในรู ปของฟังก์ชนั ประกอบของฟังก์ชนั


สองฟังก์ชนั
วิธีทา ให้ f ( x)  x  2 และ g( x)  x 8
จะได้ gof ( x)  g( f ( x))  g( x  2)  ( x  2) 8
ดังนั้น gof  F

ตัวอย่าง 14.7 กาหนดให้ F ( x)  (3x  7)10 จงเขียน F ในรู ปของฟังก์ชนั ประกอบของฟังก์ชนั


สองฟังก์ชนั
วิธีทา วิธีที่ 1
ให้ f ( x)  3x และ g( x)  ( x  7)10
จะได้ gof ( x)  g( f ( x))  g(3x)  (3x  7)10
ดังนั้น gof  F
วิธีที่ 2
ให้ f ( x)  3x  7 และ g( x)  x 10
จะได้ gof ( x)  g( f ( x))  g(3x  7)  (3x  7)10
ดังนั้น gof  F

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 30 Kasemsun Rutamorn

ตัวอย่าง 14.8 กาหนด f (3x  4)  4x  3 จงหา f (x)


วิธีทา ให้ g ( x)  3x  4
g ( x)  4
จะได้ x
3
 ( x)  4 
g
ดังนั้น f ( g ( x))  4 3
 3 
4 16
 g ( x)   3
3 3
4 g ( x)  25

3
4 x  25
จะได้ f ( x) 
3

ตัวอย่าง 14.9 กาหนดให้ f ( x)  3x , g( x)  x  2 และ h( x)  x 2 จงหา ho( gof )


วิธีทา จาก f ( x)  3x จะได้วา่ R f  R
และจาก g( x)  x  2 จะได้วา่ Dg  R
จะได้ R f  Dg  R   จึงหา gof ได้
ดังนั้น gof ( x)  g( f ( x))
 g(3x)

 3x  2
นัน่ คือ และ Dgof  R
gof ( x)  3x  2
จาก h( x)  x 2 จะได้วา่ Rh  R   {0}
จะได้ Rgof  Dh  R   {0}   จึงหา ho( gof ) ได้
ดังนั้น ho( gof )( x)  h( gof ( x))
 (3x  2) 2

 9 x 2  12 x  4
นัน่ คือ ho( gof )( x)  9 x 2  12 x  4

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 31 Kasemsun Rutamorn

แบบฝึ กหัดทบทวน
2
1.ถ้า f ( x)  4 x และ g ( x)  แล้ว ค่า x ที่ทาให้ ( fog )( x)  gof ( x) เท่ากับเท่าไร (ENT’ต.ค.42)
x 1
x
2.กาหนดให้ f ( x)  และ g ( x)  x 2  1 ถ้า A  Dgof และ B  Dg แล้ว จงหา A  B'
1 x
(ENT’ต.ค.42)
1) R  {1,1} 2) (1, ) 3)  1 ,1  (1, ) 4) (1,1)  (1, )
2 
3.ให้ f ( x)  ( x  1) 2 และ g ( x)  x  1 จงหา D f  g  R' gof (ENT’ ต.ค.43)
1) [0,1) 2) [0,2] 3) [1, ) 4) [2, )
4.ถ้า ( fog )( x)  3x  14 และ f  1 x  2   x  2 แล้ว จงหา g 1  f ( x) (ENT’ ต.ค.43)
3 
1) 3x  4 2) 3x  6 3) 3x  8 4) 3x  10
x x
5.กาหนดให้ f ( x)  , x  1 และ g ( x)  , x  1 ข้อใดต่อไปนี้ผด ิ (ENT’ มี.ค.44)
1 x 1 x
1) ( fog ) 1 ( x)  x, x  4 2) ( f 1  g )( x)  x , x  1
1  2x
3) ( f 1  g 1 )( x)  x, x  1 4) ( g 1  f )( x)  x , x  1
1  2x
 2 
6.กาหนดให้ r เป็ นความสัมพันธ์ในเซตของจานวนจริ ง โดยที่ r  ( x, y) | y  1  x 2  ข้อใด

 1 x 
ต่อไปนี้ถูก (ENT’ มี.ค.42)
1) Dr  [1,1], Dr 1  [1,1] 2) Dr  [1,1], Dr 1  [0,1]
3) Dr  [0,1], Dr 1  [1,1] 4) Dr  [0,1], Dr 1  [0,1]
 1 
7.กาหนดให้ r  {( x, y) | y  9  x 2 } และ s  ( x, y ) | y   ข้อใดต่อไปนี้ถูก
 x2  9 
ก. Dr  Rs   1 ข. Rr  Ds  (0, ) 1

(ENT’ มี.ค.43)
1) ก ถูก และ ข ถูก 2) ก ถูก และ ข ผิด 3) ก ผิด และ ข ถูก 4) ก ผิด และ ข ผิด
8.กาหนดให้ f ( x  1)  3x  2  f ( x) และ g (3x  1)  2x  8 ถ้า f (0)  1 แล้ว
จงหา g 1 ( f (2)) (ENT’ ต.ค.44)
1)  1 2) 0 3) 1 4) 2
x 1
9.ให้ความสัมพันธ์ r  {( x, y)  R  R | y  } เมื่อ R เป็ นเซตของจานวนจริ ง เรนจ์ของ r คือ
x
ข้อใดต่อไปนี้ (ENT’ต.ค.42 ศิลป์ )
1) R  {1} 2) R  {1,1} 3) (,1]  (1, ) 4) (,1]  [0, )

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร


Relation & Function 32 Kasemsun Rutamorn

บรรณานุกรม
กมล เอกไทยเจริ ญ. (2540). คณิตศาสตร์ ม.4 เล่ ม 1 ค 011. กรุ งเทพฯ: ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.
กมล เอกไทยเจริ ญ. (2540). คณิตศาสตร์ ม.4 เล่ ม 2 ค 012. กรุ งเทพฯ: ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.
สมัย เหล่าวานิชย์ และพัวพรรณ เหล่าวานิชย์. (2547). คณิตศาสตร์ พนื้ ฐานและเพิม่ เติม ช่ วงชั้นที่ 4 เล่ ม 2.
กรุ งเทพฯ: ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.
Barnett, Raymond A. and Other. (1999). College Algebra with Trigonometry. 6th edition.
Boston:McGraw-Hill.
Larson, Ron. (2011). Precalculus. 8th edition. Boston:Brooks/Cole.
Sullivan, Michael. (2005). Precalculus. 7thedition. New Jersey: Prentice Hall.

ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั อ.เกษมสันต์ รุ ทธิ์อมร

You might also like