You are on page 1of 5

10 ยอดคุณสมบ ัติห ัวหน้างานทีล

่ ก
ู น้องร ัก

ทดลองทาแบบประเมินตนเองว่าเป็นห ัวหน้างานทีล
่ ก
ู น้องร ักหรือไม่ click ทีน
่ ี่

เรียบเรียงจากหน ังสอ

"10 ยอดคุณสมบัตห
ิ ัวหน ้างานทีล ู น ้องรักและทางานให ้อย่างเต็มใจยิง่ " เขียนโดย ทองพันชัง่ พงษ์ วารินทร์.
่ ก

1. มีความเป็นผูน
้ า (Leadership)

ผู ้นา หมายถึง การแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อผลงานทีเ่ กิดขึน ้ จากสมาชิกในทีม


และสามารถโน ้มน ้าวจิตใจให ้ผู ้อืน
่ ปฏิบต
ั ต
ิ ามแผนงานทีก
่ าหนดไว ้ด ้วยความเต็มใจ และเป็ นทีย
่ อมรับของสมาชิกทุกคนในทึม

5 คุณลักษณะพฤติกรรมด ้านผู ้นาทีล


่ ก
ู น ้องต ้องการมีดังต่อไปนี้

1. อยากเห็นหัวหน ้ามีความกล ้าตัดสินใจ หรือตัดสินใจอย่างเด็ดขาด


2. อยากเห็นหัวหน ้าแสดงความรับผิดชอบต่อผลงานทีเ่ กิดขึน ้ ของทีม ไม่ใช่โทษแต่ลก
ู น ้อง
3. อยากเห็นหัวหน ้าพูดจริง ทาจริง ไม่เหลาะแหละ
4. อยากเห็นหัวหน ้าปกป้ องลูกน ้องในเรือ ่ งต่างๆ เช่น กล ้าพูด กล ้าแสดงความคิดเห็นแทนลูกน ้อง
กล ้าชนกับหน่วยงานอืน

5. อยากเห็นหัวหน ้าเป็ นทีพ
่ งึ่ พิง เวลาทีเ่ กิดปั ญหา หรือรู ้สึกไม่สบายใจ

2. มีความยุตธ
ิ รรม (Fair)

ความยุตธิ รรม หมายถึง ความเสมอภาคในการตัดสินใจ หรือให ้ความสาคัญกับคนใดหรือสิง่ ใด โดยทีไ่ ม่เอนเอียงไปด ้านใด


ด ้านหนึง่ หรือฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่

5 พฤติกรรมทีผ
่ ู ้ตามคาดหวังจากหัวหน ้าด ้านความยุตธิ รรม มีดังนี้

1. อยากเห็นหัวหน ้าเป็ นคนมีเหตุผล

2. อยากเห็นหัวหน ้ารู ้จักแยกแยะเรือ


่ งส่วนตัวกับเรือ
่ งงาน

3. อยากเห็นหัวหน ้าไม่แบ่งพรรค แบ่งพวก และรักลูกน ้องเท่ากันทุกคน

4. อยากเห็นหัวหน ้ารับฟั งความคิดเห็นของตนเองบ ้าง

5. อยากเห็นหัวหน ้าตัดสินใจโดยใช ้มาตรฐานเดียวกับพนักงานทุกคน

่ ฝึ กฝนตนเองในหลายๆ ด ้าน เช่น ต ้องรู ้จักใจแข็ง เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวมมากกว่าส่วนตัว


หัวหน ้างานต ้องมัน
แยกระหว่างเรือ ่ งงานออกจากกัน การฝึ กการบริหารด ้วยความจริง โดยไม่ใช ้อารมณ์มามีสว่ นในการตัดสินใจ
่ งส่วนตัวกับเรือ
และทีส
่ าคัญคือ ให ้ความเสมอภาคกับทุกคน

พฤติกรรมในแง่ลบทีไ่ ม่ควรทา มีดังนี้ ไม่ยต


ุ ธิ รรม ลาเอียง มักเอาใจใส่แต่คนทีอ
่ ยูใ่ กล ้ชิดเท่านัน
้ ดังนัน

คนทีใ่ กล ้ชิดทาอะไรผิดก็รอดตัวเสมอ เล่นพรรคเล่นพวก (เด็กใคร เด็กมัน) สองมาตรฐาน
ไม่ชอบหน ้าใครก็จ ้องแต่จะลงโทษคนนัน ้ หรือชอบใครก็เชียร์แต่คนนัน ้

3. มีความร ับผิดชอบ (Responsibility)

5 พฤติกรรมทีผ
่ ู ้ตามคาดหวังจากหัวหน ้าด ้านความยุตธิ รรม มีดังนี้

1. อยากเห็นหัวหน ้าปฏิบตั ติ ามหน ้าทีค


่ วามรับผิดชอบอย่างเคร่งครัด
2. อยากเห็นหัวหน ้ากล ้าทีจ
่ ะรับผิดชอบผลงานต่างๆ ทีเ่ กิดขึน
้ ทัง้ ทีด
่ แ
ี ละไม่ด ี
3. อยากเห็นหัวหน ้าเอาใจใส่งาน
4. อยากเห็นหัวหน ้าไปช่วยเหลือลูกน ้องทีร่ ับผิดชอบ
5. อยากเห็นหัวหน ้าทางานอย่างเต็มความสามารถ

4. ทางานเป็นระบบ (system)
การทางานอย่างเป็ นระบบ หมายถึง การทีเ่ รากาหนดขัน ้ ตอนและวิธป ี ฏิบต
ั งิ านได ้อย่างเหมาะสม
แล ้วนาไปปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องกับการปฏิบต
ั งิ านจริง เช่น ขัน้ ตอนการทางาน การสือ ่ สาร การแก ้ไขปั ญหา การมอบหมายงาน
การตรวจสอบติดตามงาน เป็ นต ้น โดยคานึงภึงสภาพแวดล ้อมหรือปั จจัยต่างๆ ทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการปฏิบต
ั งิ านทัง้ หมด
ทาให ้ผู ้ปฏิบต
ั งิ านมีความเข ้าใจและสามารถปฏิบต ั งิ านได ้อย่างถูกต ้องเหมาะสม และไม่เกิดความสับสน

5 พฤติกรรมทีผ
่ ู ้ตามคาดหวังจากหัวหน ้าด ้านการทางานอย่างเป็ นระบบ มีดังนี้

1. ทางานอย่างเป็ นระบบ เช่น การวางแผนการสัง่ งาน การติดตามงาน การรายงาน การแก ้ไขปั ญหา
2. สร ้างมาตรฐานในการปฏิบต ั งิ านให ้กับพนักงาน
3. ทาระบบทีม ่ ใี นปั จจุบน
ั ให ้ตรงกับความเป็ นจริงทีล ่ ก
ู น ้องปฏิบต
ั ิ
4. ไม่ควรมีการเปลีย ่ นแปลงการปฏิบต ั งิ านบ่อยเกินไป
5. เมือ
่ มีการเปลีย ่ นแปลงระบบ หรือรายละเอียดในการทางาน ควรแจ ้งให ้ลูกน ้องทราบอย่างทันเวลา

หล ักการบริหารจ ัดการ POLC

Planing การวางแผนงาน โดยต ้องรู ้ว่าเป้ าหมายคืออะไร เราจะไปสูเ่ ป้ าหมายนัน้ ได ้อย่างไร ขัน
้ ตอนวิธก
ี ารทาอย่างไรบ ้าง
และใครต ้องมามีสว่ นร่วม ระยะเวลา และผลลัพธ์ทคี่ าดหวัง ผลกระทบทีอ ่ าจจะเกิดขึน

จากนัน
้ ก็มากาหนดแผนการดาเนินงานทีเ่ หมาะสมกับเรือ ่ งนัน
้ ๆ

Organizing การจัดองค์กร โดยจัดลูกน ้องให ้เหมาะสมกับงานตามกาลัง ความสามารถ จากนัน ้ ก็กาหนดขัน


้ ตอนวิธกี ารต่างๆ
่ สาร การปฏิบต
เช่น การสือ ั งิ านให ้ชัดเจน เข ้าใจง่าย และทีส
่ าคัญให ้สอดคล ้องกับการปฏิบต
ั งิ านของตนเองมากทีส ่ ด

เพราะจะทาให ้เกิดการยอมรับได ้ง่าย
ั สนตนเอง
Leading การเป็ นผู ้นา คือ หัวหน ้าควรให ้อานาจอย่างเหมาะสมกับลูกน ้องแต่ละคน ไม่ล ้วงลูก ไม่จู ้จี้ ไม่สบ

มอบหมายหรือสังอะไรกับใคร ก็ต ้องจาให ้ได ้ อย่าไปสับสน หรือเปลีย
่ นแปลงอะไรย่อยๆ
เพราะลูกน ้องส่วนใหญ่ไม่ชอบการเปลีย ่ นแปลง

Controling/Evaluaton การควบคุมงาน เมือ ่ มอบหมายงานอะไร ให ้กับใครแล ้ว ก็ควรควบคุมติดตามงานอย่างเหมาะสม


ไม่มากหรือน ้อยเกินไป ตามความยากง่ายของงาน ซึง่ ทาให ้เราสามารถทีจ ่ ะทราบความคืบหน ้าของงาน
และประเมินสถานการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน
้ และสามารถแก ้ไขปั ญหาได ้ทันเวลาเมือ
่ เกิดข ้อผิดพลาด

5. มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา (Problem solving)

หมายถึงความสามารถในการจัดการกับสิง่ ผิดปกติ หรือความบกพร่องของสิง่ ทีเ่ กิดขึน ้ เพือ ่ ลดความสูญเสียต่างๆ


ทีจ
่ ะเกิดตามมา โดยหลักการของการแก ้ไขปั ญหาคือ แก ้ตรงต ้นตอของปั ญหา ในระยะเวลาทีส ั ้ ทีส
่ น ่ ด

และไม่มก ี ารแก ้ไขปั ญหาซา้ และการแก ้ไขปั ญหาด ้วยวิธน
ี จ
ี้ ะต ้องไม่ไปกระทบทาให ้ปั ญหาอืน
่ ๆ ตามมา

5 พฤติกรรมทีผ
่ ู ้ตามคาดหวังจากหัวหน ้าด ้านการแก ้ไขปั ญหา มีดังนี้

1. มีความสามารถในการแก ้ไขปั ญหา


2. เข ้าไปช่วยเหลือลูกน ้องในการแก ้ไขปั ญหา
3. ไม่ปกปิ ดปั ญหา
4. ควรหาทางป้ องกันปั ญหา ดีกว่ารอให ้ปั ญหาเกิดแล ้วค่อยมาแก ้ไข
5. ควรรับฟั งวิธก
ี ารแก ้ไขปั ญหาของลูกน ้อง และควรแก ้ไขปั ญหาร่วมกัน

วิธก
ี ารแก้ไขแบบ PDCA

1.Plan คือ การวางแผนโดยเป็ นการวิเคราะห์ปัญหาว่า เราต ้องการแก ้ไขปั ญหาอะไร จากนัน


้ ก็เก็บรวบรวมข ้อมูล
แล ้วทาการวิเคราะห์ เพือ
่ หาสาเหตุของปั ญหา แล ้วกาหนดวิธก
ี ารแก ้ไขปั ญหา

2. Do คือ การนาแผนงานไปปฏิบต
ั งิ านโดยมอบหมายให ้กับผู ้ทีเ่ กีย
่ วข ้องไปปฏิบต
ั ต
ิ ามขัน
้ ตอนทีเ่ รา

กาหนดไว ้ตามตารางเวลาอย่าเคร่งครัด

3. Check คือ การตรวจสอบ และประเมินผลการแก ้ไขหรือปรับปรุงทีไ่ ด ้ร่วมมือร่วมใจกันทาไปแล ้ว


4. Action คือ การกาหนดวิธก ี ารมาตรฐานต่างๆ กรณีทป ี่ ั ญหายุต ิ สามารถแก ้ไขได ้
ให ้นาวิธกี ารทีเ่ ราปฏิบต ั น ้ มาสร ้างเป็ นมาตรฐานการทางานต่อไป ถ ้าหากไม่สาเร็จ ซึง่ อาจเกิดจากการแก ้ไขทีไ่ ม่ถก
ิ ัน ู วิธ ี
หรือผู ้แก ้ไขไม่ตงั ้ ใจ ให ้กลับไปข ้อ 1 เพือ ่ แก ้ไขปั ญหากันต่อไป

6. เปิ ดใจร ับฟังความคิดเห็ น (Open mind)

การทีจ ่ ะเปิ ดใจได ้ต ้องเกิดจาก การยอมรับและเข ้าใจ ซึง่ การยอมรับในทีน่ ี้ คือ การทีเ่ รายอมรับว่าคนเราแต่ละคน ต่างทีม
่ า
ต่างการศึกษา เลีย ้ งดู ย่อมมีความคิดทีแ
่ ตกต่างกันออกไป และสองคือ การแสดงความเข ้าใจก่อนว่า
คนทุกคนย่อมมีความคิดเป็ นของตนเอง และสิทธิท ์ จ
ี่ ะเสนอความคิดเห็นของตนเองด ้วย การจะคิดได ้กว ้าง
คิดได ้ไกลจะต ้องอาศัยการระดมสมอง (Brain storming) หรือเปลีย ่ นความคิดเห็น การถกเถียง หรือการแสดงเหตุผล
ซึง่ ต ้องอาศัยหลายๆ คนช่วยกันคิด

5 พฤติกรรมทีผ
่ ู ้ตามคาดหวังจากหัวหน ้าด ้านการเปิ ดใจรับฟั ง มีดังนี้

1. อยากเห็นหัวหน ้าแสดงความจริงใจ
2. เปิ ดใจรับฟั งเรือ
่ งจริงๆ ทัง้ ทีด
่ แ
ี ละไม่ด ี
3. ไม่อยากให ้หัวหน ้าเอาเรือ ่ งอดีตมาตัดสินปั จจุบน
ั โดยไม่ฟังเหตุผลก่อน
4. อยากให ้หัวหน ้าเปิ ดโอกาสกับลูกน ้องทุกคนในการพูดคุยแสดงความคิดเห็นอย่างเท่าเทียมกัน
5. เวลามีปัญหา อยากให ้หัวหน ้าสอบถามจากเราโดยตรง ไม่ควรไปสอบถามจากคนอืน ่
่ ยเหลือและสน ับสนุน (Support)
7. การให้ความชว

การให ้ความช่วยเหลือและสนับสนุน หมายถึง การมีน้ าใจ โอบอ ้อมอารี การส่งเสริม


ให ้ผู ้อืน
่ ได ้รับความสะดวกสบายหรือพ ้นทุกข์ หรือมีความเป็ นอยูท
่ ด
ี่ ข
ี น
ึ้ กว่าปั จจุบน
ั หัวหน ้าต ้องแสดงความจริงใจ

และไม่หวังสิงใดตอบแทน อย่าทาแบบเสียไม่ได ้ หรือทาแบบขอไปที

5 พฤติกรรมทีผ
่ ู ้ตามคาดหวังจากหัวหน ้าด ้านการให ้ความช่วยเหลือ มีดังนี้

1. เสียสละเพือ่ ลูกน ้อง


2. ส่งเสริมและสนับสนุนให ้ลูกน ้องมีความเจริญก ้าวหน ้าในด ้านต่างๆ
3. ให ้กาลังใจลูกน ้องเสมอ ทัง้ คาพูดและการกระทา
4. เมือ
่ มีปัญหาต ้องเข ้าไปช่วยเหลือไม่ทงิ้ กัน
5. มีความใส่ใจในเรือ ่ งทีล
่ ก
ู น ้องร ้องขอหรือต ้องการ(ในเรือ
่ งทีถ
่ ก
ู ต ้อง)
ิ ในทีม (Team development)
8. การพ ัฒนาสมาชก

การพัฒนาทีม หมายถึงการทีเ่ ราปรับปรุงและเพิม ่ พูนความรู ้ความเข ้าใจ ประสบการณ์และทักษะด ้านต่างๆ ทีจ ่ าเป็ น
เพือ
่ ให ้สมาชิกในทีมทุกคนสามารถปฏิบตั งิ านได ้ดีขน
ึ้ และมีความก ้าวหน ้ามากขึน
้ ทัง้ เพือ
่ ตัวของพนักงานและเพือ่ หน่วยงาน

หัวหน ้าต ้องรู ้ก่อนว่าลูกน ้องมีกค


ี่ น แต่ละคนมีนส ั ใจคออย่างไร และแต่ละคนมีหน ้าทีร่ ับผิดชอบอะไรบ ้าง และทีส
ิ ย ่ าคัญคือ
แต่ละคนมีจด ุ อ่อน จุดแข็งอะไร มีความรู ้ ทักษะหรือประสบการณ์ทเี่ พียงพอต่อการปฏิบต ั งิ านหรือไม่
จากนัน
้ ก็รบ ี พัฒนาลูกน ้องแต่ละคนให ้มีความรู ้ ทักษะ ประสบการณ์ให ้เหมาะสมกับแต่ละคน การพัฒนามีได ้หลายวิธ ี เช่น OJT
(On the job training) การสอนงาน (Coaching) การมอบหมายงาน (Job assignment)

5 พฤติกรรมทีผ
่ ู ้ตามคาดหวังจากหัวหน ้าด ้านการพัฒนาสมาชิกในทีม มีดังนี้
1. อยากเห็นหัวหน ้าให ้ความสาคัญกับการพัฒนาลูกน ้อง
2. อยากได ้โอกาสในการพัฒนาตนเอง
3. อยากมีโอกาสเติบโต ก ้าวหน ้าในสายอาชีพ
4. อยากมีความรู ้ใหม่ๆ เพือ
่ ปรับปรุงการทางานให ้ดีขน
ึ้ และมีประสิทธิภาพสูงขึน

5. อยากเก่งเหมือนกับหัวหน ้า
9. มีความคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking)

ความคิดสร ้างสรรค์ (Creative thinking) หมายถึง การค ้นหาวิธก ี ารปฏิบต ั งิ าน


เพือ
่ ปรับปรุงเปลีย่ นแปลงสิง่ ทีป
่ ฏิบตั อ
ิ ยูใ่ นปั จจุบน
ั ในทางทีถ
่ ก
ู ต ้องให ้ดีขน
ึ้ กว่าทีเ่ คยทามา โดยพึงระลึกไว ้เสมอว่า
“วันนีต
้ ้องดีกว่าเมือ
่ วาน และวันพรุง่ นีต้ ้องดีกว่าวันนี้”

5 พฤติกรรมทีผ
่ ู ้ตามคาดหวังจากหัวหน ้าด ้านการมีความคิดสร ้างสรรค์ มีดังนี้

1. อยากเห็นหัวหน ้ามีความคิดสร ้างสรรค์ใหม่ๆ เพือ ่ การปรับปรุงและพัฒนาด ้านต่างๆ


ให ้หน่วยงานดีขน
ึ้ กว่าทีเ่ ป็ นอยู่
2. อยากเห็นหัวหน ้าให ้ความสาคัญกับการเปลีย ่ นแปลงด ้านต่างๆ ของหน่วยงาน
3. อยากเห็นการเปลีย ่ นแปลงใหม่ๆ เช่น เครือ
่ งมือ เครือ ี ารหรือสิง่ อืน
่ งจักร วิธก ่ ๆ
ทีท
่ ันสมัยมากกว่าทีเ่ ป็ นอยูใ่ นปั จจุบน

4. อยากเห็นหัวหน ้าเปิ ดรับฟั ง และเข ้าใจในความคิดสร ้างสรรค์ของลูกน ้อง
5. อยากเห็นหัวหน ้าให ้การสนับสนุนอย่างจริงจัง ให ้ลูกน ้องได ้คิดสร ้างสรรค์

หัวข ้อ รายละเอียดการเปลีย
่ นแปลง

่ หรือใช ้ทาอย่างอืน
1. มีหนทางอืน ่ ได ้หรือไม่ จากเดิมใส่น้ า เปลีย
่ นเป็ นใส่ดอกไม ้หรือใส่ตะเกียบ

2. ประยุกต์ใช ้วัสดุอย่างอืน
่ ได ้หรือไม่ จากเดิมปากแก ้วเป็ นรูปวงกลม เปลีย
่ นปากแก ้วเป็ นรูปหัวใจ

3. ถ ้าเพิม
่ เข ้าไป ลดลงมาหรือทากลับกัน
ออกแบบรูปทรงใหม่ หรือเพิม
่ ลวดลายทีท
่ ันสมัยมากขึน

จะเป็ นอย่างไร

4. ถ ้าขยายขนาดให ้ใหญ่ขน
ึ้ หรือทาเกินจริง
ทาให ้ใหญ่ขน
ึ้ เพือ
่ เอาไว ้เลีย
้ งปลาตัวเล็กๆ
จะเป็ นอย่างไร

5. ถ ้าย่อให ้ขนาดเล็กลงหรือ
ทาให ้เล็ก เพือ ่ ใช ้ประดับตกแต่ง
่ ใส่น้ า และลอยด ้วยดอกไม ้ เพือ
ตัดออกไปบางส่วนจะเป็ นอย่างไร

6. ถ ้าใช ้แทน วางแทนใหม่ ใส่แทนใหม่ จากเดิมทาจากแก ้ว เปลีย


่ นเป็ นทาจากกระดาษ

7. ถ ้าตีลังกา ทากลับกัน หรือกลับด ้านหลัง


กลับด ้านจากแก ้วปากกว ้างก ้นแคบ เป็ นปากแก ้วแคบ แต่ก ้นกว ้าง
จะเป็ นอย่างไร

นากระดาษบันทึกเตือน หรือโพสท์อท
ิ โน ้ต มาติดทีแ
่ ก ้วน้ า
8. ถ ้ารวมเข ้าหรือผสมกันกับอย่างอืน
่ จะเป็ นอย่างไร
เพือ
่ เตือนความจา

10. ไม่ถอ
ื ต ัว และให้เกียรติลก
ู น้อง (Respectation)

การให ้เกียรติ หมายถึง การปฏิบต ั ต


ิ อ
่ บุคคลอืน่ โดยการให ้ความเคารพในสิทธิและความเป็ นคน โดยคานึงถึง
กฏระเบียบ มารยาท ขนบธรรมเนียมประเพณีตา่ งๆ เริม ่ จากการเห็นคุณค่าของความเป็ นคน ต ้องเอาใจเขามาใส่ใจเรา
เราอยากให ้เขาดีกบ
ั เราเท่าไร เราก็ต ้องทาดีกบ
ั เขามากกว่านัน ้ สองเท่า

5 พฤติกรรมทีผ
่ ู ้ตามคาดหวังจากหัวหน ้าด ้านการให ้เกียรติ มีดังนี้

1. ให ้เกียรติผู ้อืน
่ และลูกน ้อง โดยเห็นคุณค่าของความเป็ นคน
2. ให ้ความสนิทสนมและมีความเป็ นกันเอง ไม่ถอ ื ตัว
3. เคารพในสิทธิของผู ้อืน ่
4. มีกริ ย
ิ า มารยาท พูดจาไพเราะ
5. ไม่ดถ ู ก
ู ลูกน ้องในด ้านต่างๆ เช่น การศึกษา ฐานะครอบครัว หรือ สถานภาพต่างๆ

You might also like