You are on page 1of 15

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สถิตแิ ละข้อมูล

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง สถิตแิ ละข้อมูล

รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค32102 กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์


ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 เวลา 1 ชั่วโมง

สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 : ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั
มาตรฐาน ค 5.3 : ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา
ค 5.3 ม.4 – 6/1 : ใช้ข้อมูลข่าวสารและค่าสถิติช่วยในการตัดสินใจ

มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแก้ปญ


ั หา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ตา่ งๆ ทางคณิตศาสตร์
และมีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์
ค 6.1 ม.4 – 6/1 : ใช้วิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหา
ม.4 – 6/2 : ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ม.4 – 6/3 : ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ม.4 – 6/4 : ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการ
นาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
ม.4 – 6/5 : เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ
ม.4 – 6/6 : นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
1. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ : นักเรียนสามารถ
1. บอกความหมายและประเภทของสถิติได้
2. บอกองค์ประกอบของสถิติได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ : นักเรียนสามารถ
1. ให้เหตุผลประกอบการนาสถิติไปใช้ในการตัดสินใจและวางแผนได้
2. นาสถิติไปใช้ในการตัดสินใจและวางแผนการดาเนินงานต่างๆ ได้
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรียน
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มีวินัย
3. มีความรับผิดชอบ

2. สาระสาคัญ
สถิติ เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปจากข้อมูลที่เกี่ยวข้องแล้ว
นามาอธิบายปรากฏการณ์หนึ่ง หรือตอบคาถาม หรือประเด็นปัญหาที่สนใจ แบ่งเป็นสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิง
อนุมาน ซึ่งองค์ประกอบของสถิติศาสตร์ได้แก่ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนาเสนอข้อสรุป

3. สาระการเรียนรู้
สถิติและข้อมูล
1. ความหมายของสถิติ
 สถิติเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปจากข้อมูลที่
เกี่ยวข้องแล้วนามาอธิบายปรากฏการณ์หนึ่ง หรือตอบคาถาม หรือประเด็นปัญหาที่สนใจ
 สถิติเป็นศาสตร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล
 สถิติ หมายถึง ค่าหรือตัวเลขแทนปริมาณ จานวนข้อมูลหรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ ที่ต้องการ
ศึกษา
2. ประเภทของสถิติ
2.1 สถิติเชิงพรรณนา หมายถึง สถิติที่ใช้จัดกระทากับข้อมูลที่ได้มาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ใช้ศึกษาหา
คาตอบของสิ่งที่เราสนใจ โดยศึกษาจากสมาชิกทั้งหมดเรื่องนั้นๆ
2.2 สถิติเชิงอนุมาน หมายถึง สถิติที่ใช้จัดกระทากับข้อมูลที่ได้มาบางส่วนเพื่ออ้างอิงไปถึงข้อมูลทั้งหมด
3. องค์ประกอบของสถิติ
3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นส่วนที่มีความสาคัญมาก เมื่อได้ข้อมูลที่มีคุณภาพดี
มาวิเคราะห์ ผลสรุปที่ได้รับจะมีคุณภาพดีไปด้วย
3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการหาข้อสรุปจากข้อมูลที่มีเพื่ออธิบายหรือตอบคาถามที่ต้องการ ทั้งนี้อาจ
เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้นซึ่งเป็นส่วนของสถิติเชิงพรรณนาที่ใช้อธิบายว่าข้อมูลชุดนั้นมีลักษณะอย่างไร กับการ
วิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงอนุมาน โดยข้อมูลชุดที่นามาทาการวิเคราะห์นั้นเป็นข้อมูลทั้งหมดที่
เรียกว่า ตัวอย่าง ที่เลือกมาจากข้อมูลทั้งหมดที่เรียกว่า ประชากร โดยปกติจะต้องอาศัยความรู้จากทฤษฎีความน่าจะ
เป็นและสถิติขั้นสูง
3.3 การนาเสนอข้อมูล การนาเสนอข้อสรุปในรูปแบบที่ผู้ใช้โดยทั่วไป สามารถเข้าใจได้ง่ายและชัดเจน
หรือการเชื่อมโยงข้อสรุปที่ได้จากวิธีการวิเคราะห์ไปตอบคาถามหรือปัญหาที่ตั้งไว้ การสรุปผลในวิธีการวิเคราะห์
โดยทั่วไปมักอยู่ในรูปแบบที่ระบุว่าผลการวิเคราะห์เป็นอย่างไร แต่ไม่อยู่ในรูปของคาตอบของคาถามที่ต้องการโดยตรง
เพื่อให้ข้อสรุปมีความเข้าใจที่ถูกต้องจึงควรทาการสรุปผลในลักษณะที่เชื่อมโยงกับปัญหาที่มีอยู่ด้วย

สถิตกิ ับการตัดสินใจวางแผน
ในชีวิตประจาวันของแต่ละคน อาจกล่าวได้ว่าต้องมีการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ อยู่ตลอดเวลา หากผู้
ตัดสินใจทราบหรือมีความรู้เกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องตัดสินใจมากเพียงใด โอกาสที่จะตัดสินใจผิดพลาดก็
จะน้อยลงเพียงนั้น แต่การตัดสินใจในบางเรื่อง การใช้ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไม่สามารถนามาใช้เพื่อช่วยในการ
ตัดสินใจได้โดยตรง แต่จะต้องนามาวิเคราะห์เสียก่อน ไม่ว่าจะเป็นการวิเคราะห์โดยการใช้การวิเคราะห์เบื้องต้นหรือ
วิเคราะห์ขั้นสูงก็ตาม ซึ่งข้อมูลและการวิเคราะห์ดังกล่าวสามารถหามาได้โดยใช้วิธีการทางสถิตินั่นเอง

4. สาระการเรียนรูท้ บี่ รู ณาการ


หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสถิตแิ ละข้อมูล
- หลักความพอประมาณ นักเรียนสามารถใช้ความรู้เรื่องสถิติและข้อมูลช่วยในการตัดสินใจในชีวิตประจาวัน
ได้ และสามารถใช้สถิติในการตัดสินใจและวางแผนเรื่องต่างๆ ได้ เช่น การเดินทางมาโรงเรียน การรับประทานอาหาร
กลางวัน การซื้ออุปกรณ์การเรียน ฯลฯ โดยยึดหลักความพอประมาณซึ่งเป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง
- หลักความมีเหตุผล นักเรียนสามารถใช้ความรู้เรื่องสถิติและข้อมูลในการตัดสินใจและวางแผนในเรื่องต่างๆ
ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีเหตุผล เช่น การเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาในคณะและมหาวิทยาลัยที่ตนเองสนใจ รวมทั้ง
การเลือกซื้อสินค้าต่างๆ ให้ตรงกับการใช้งานและความจาเป็น เป็นต้น
- หลักการมีภมู ิคมุ้ กัน นักเรียนสามารถใช้ความรู้เรื่องสถิติและข้อมูลในการตัดสินในเรื่องต่างๆ ได้อย่าง
เหมาะสม อยู่บนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง
- เงือ่ นไขความรู้ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสถิติและข้อมูล และสามารถนามาใช้ในการตัดสินใจใน
เรื่องต่างๆ ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม โดยยึดหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- เงือ่ นไขคุณธรรม นักเรียนสามารถดาเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ความรู้เรื่อง
สถิติและข้อมูลมาช่วยในการตัดสินใจ มีความตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ มีวินัยในตนเอง เสียสละเพื่อส่วนรวม และ
มีสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข

5. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา (5 นาที)
1. ครูใช้คาถามในการทบทวนบทเรียนเรื่องความหมายของสถิติที่นักเรียนได้เรียนมาแล้ว จากนั้นใช้การ
สุ่มถามนักเรียนเกี่ยวกับความหมายของสถิติ ทั้งสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงบรรยาย จนนักเรียนสามารถบอก
ความหมายของสถิติได้อย่างถูกต้อง
2. ครูใช้การอภิปรายเพื่อนาเข้าสู่บทเรียน โดยให้นักเรียนร่วมกันบอกประโยชน์เกี่ยวกับการใช้สถิติใน
การตัดสินใจและวางแผน เพื่อนาเข้าสู่บทเรียน

ขั้นสอน (40 นาที)


1. ครูสุ่มให้นักเรียนตอบคาถามเกี่ยวกับความหมายของสถิติเพื่อทบทวน (สถิติเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการ
เก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปจากข้อมูลที่เกี่ยวข้องแล้วนามาอธิบายปรากฏการณ์หนึ่ง หรือตอบ
คาถาม หรือประเด็นปัญหาที่สนใจ) (เงื่อนไขความรู้)
2. ครูให้นักเรียนสังเกตองค์ประกอบของสถิติจากความหมายของสถิติ โดยใช้การถาม – ตอบ จนได้ว่า
สถิติมีองค์ประกอบหลักอยู่สามประการ คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนาเสนอข้อสรุป
3. ครูยกตัวอย่างและขยายความแต่ละองค์ประกอบ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจอย่างชัดเจน จนนักเรียน
สามารถอธิบายได้ (หลักความมีเหตุผล) ดังนี้
- สาหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจะต้องมีคุณภาพ มีความถูกต้อง
เพราะเมื่อนามาวิเคราะห์ จะส่งผลให้ข้อสรุปที่ได้รับมีคุณภาพดีไปด้วย ซึ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลสามารถกระทาได้
หลายรูปแบบ เช่น การสังเกต การสอบถาม การทดลอง เป็นต้น
- การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการหาข้อสรุปจากข้อมูลที่มีเพื่ออธิบายหรือตอบคาถามที่ต้องการซึ่ง
อาจจะใช้การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้นซึ่งเป็นส่วนของสถิติเชิงพรรณนาที่ใช้อธิบายว่าข้อมูลชุดนั้นมีลักษณะอย่างไร และ
การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงอนุมาน
- การนาเสนอข้อสรุป เป็นการสรุปผลการวิเคราะห์ ซึ่งจะไม่อยู่ในรูปของคาตอบของคาถามที่
ต้องการโดยตรง เพื่อให้ข้อสรุปมีความถูกต้องจึงควรทาการสรุปผลให้เข้าใจง่าย ชัดเจน และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
4. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างประโยชน์ของสถิติโดยใช้การถาม – ตอบ จนได้ว่าประโยชน์ของสถิติที่
สาคัญประการหนึ่งคือเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการดาเนินงานต่างๆ ในต้องมีการตัดสินใจและวางแผนเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ
อยู่ตลอดเวลา หากผู้ตัดสินใจทราบหรือมีความรู้เกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องตัดสินใจมากเพียงใด โอกาสที่
จะตัดสินใจผิดพลาดก็จะน้อย แต่การตัดสินใจในบางเรื่อง การใช้ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไม่สามารถนามาใช้เพื่อช่วยใน
การตัดสินใจได้โดยตรง แต่จะต้องนามาวิเคราะห์เสียก่อน ไม่ว่าจะเป็นการวิเคราะห์โดยการใช้การวิเคราะห์เบื้องต้น
หรือวิเคราะห์ขั้นสูงก็ตาม ซึ่งข้อมูลและการวิเคราะห์ดังกล่าวสามารถหามาได้โดยใช้วิธีการทางสถิติ (เงื่อนไขความรู้)

ขั้นสรุป (5 นาที)
1. ครูใช้การถาม – ตอบเพื่อทบทวนความหมาย ประเภท และองค์ประกอบของสถิติ (หลักการมีภูมิคุ้มกัน)
- สถิติเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปจากข้อมูลที่
เกี่ยวข้องแล้วนามาอธิบายปรากฏการณ์หนึ่ง หรือตอบคาถาม หรือประเด็นปัญหาที่สนใจ
- สถิติมี 2 ประเภทคือ สถิติที่เราใช้ศึกษาหาคาตอบของสิ่งที่เราสนใจ โดยศึกษาจากสมาชิกทั้งหมด
ของเรื่องนั้นๆ เรียกว่าสถิติเชิงพรรณนา และสถิติที่วิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมข้อมูลมาเพียงบางส่วนเพื่อสรุปอ้างอิง
ไปถึงข้อมูลทั้งหมดเรียกว่าสถิติเชิงอนุมาน
- สถิติมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนาเสนอ
ข้อสรุป
2. ครูแจกใบกิจกรรมและมอบหมายให้นักเรียนทา Mind Mapping เรื่องสถิติและข้อมูล และนามาส่งในคาบ
ถัดไป (หลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน)
3. ครูสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยเชื่อมโยงกับความรู้เรื่องสถิติและข้อมูล
เพื่อให้นักเรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม

6. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6
2. เอกสารประกอบการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค32102 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
3. Power point เรื่อง สถิติและข้อมูล
4. ใบกิจกรรม เรื่อง สถิติและข้อมูล

7. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครือ่ งมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน
(ผ่าน/ไม่ผา่ น)
ด้านความรู้ : นักเรียนสามารถ
1. บ อ ก ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ นักเรียนตอบคาถาม
สังเกตการตอบ คาถามระหว่างการ
ประเภทของสถิติได้ ถูกต้องร้อยละ 80 ของ
คาถาม จัดการเรียนรู้
นักเรียนทั้งหมดถือว่าผ่าน
2. บอกองค์ประกอบของสถิติ นักเรียนตอบคาถาม
สังเกตการตอบ คาถามระหว่างการ
ได้ ถูกต้องร้อยละ 80 ของ
คาถาม จัดการเรียนรู้
นักเรียนทั้งหมดถือว่าผ่าน
ด้านทักษะ/กระบวนการ : นักเรียนสามารถ
1. ให้เหตุผลประกอบการนา นักเรียนให้เหตุผลอย่าง
ตรวจงานที่
สถิ ติไ ปใช้ใ นการตัด สิน ใจ ภาระงานที่มอบหมาย ชัดเจนและเหมาะสม
และวางแผนได้ มอบหมาย
อย่างน้อย 2 ข้อถือว่าผ่าน
2. น า ส ถิ ติ ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร นักเรียนตอบคาถาม
สังเกตการตอบ คาถามระหว่างการ
ตัดสินใจและวางแผนการ ถูกต้องร้อยละ 80 ของ
ดาเนินงานต่างๆได้ คาถาม จัดการเรียนรู้
นักเรียนทั้งหมดถือว่าผ่าน
นักเรียนนาสถิติไปใช้อย่าง
ตรวจงานที่
ภาระงานที่มอบหมาย ถูกต้องและเหมาะสม
มอบหมาย
อย่างน้อย 2 ข้อถือว่าผ่าน
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรียน
1. ใฝ่เรียนรู้ ระดับคะแนนของ
สังเกตพฤติกรรม
2. มีวินัย แบบสังเกตพฤติกรรม คุณลักษณะแต่ละข้อไม่
ในชั้นเรียน
น้อยกว่า 7 ถือว่าผ่าน
3. มีความรับผิดชอบ
8. เกณฑ์การประเมิน (RUBRIC SCORE)

ระดับคุณภาพ คาอธิบาย
4 ดีมาก สรุปความรู้เรื่องสถิติและข้อมูล เชื่อมโยงความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และเขียน mind mapping เรื่อง สถิติและข้อมูล โดยใช้เงื่อนไขความรู้ และ
หลักการมีภูมิคุ้มกัน โดยเขียน mind mapping ได้ครบถ้วนทุกประเด็น มีความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสวยงาม อยู่บนพื้นฐานของความพอประมาณ และมีความ
ตรงต่อเวลาในการส่งงาน
3 ดี สรุปความรู้เรื่องสถิติและข้อมูล เชื่อมโยงความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และเขียน mind mapping เรื่อง สถิติและข้อมูล โดยใช้เงื่อนไขความรู้ และ
หลักการมีภูมิคุ้มกัน โดยเขียน mind mapping ได้เป็นส่วนใหญ่ มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ มีความสวยงาม
2 พอใช้ สรุปความรู้เรื่องสถิติและข้อมูล เชื่อมโยงความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และเขียน mind mapping เรื่อง สถิติและข้อมูล ได้เป็นบางส่วน มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ มีความสวยงาม
1 ปรับปรุง สรุปความรู้เรื่องสถิติและเขียน mind mapping เรื่อง สถิติและข้อมูล ได้เป็น
บางส่วน ทางานไม่เรียบร้อย

เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป


 ผ่าน  ไม่ผ่าน

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................................................

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย (ตรวจสอบ/นิเทศ/รับรอง)


............................................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................................................
ลงชื่อ ..............................................................
ตาแหน่ง .........................................................
.............../........................../ .............
การวิเคราะห์การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผูส้ อนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมคิ ุ้มกันในตัวทีด่ ี
ประเด็น
1. เนื้อหา วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง ให้ผู้เรียนมีความรู้ความ วางแผนออกแบบเนื้อหา
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เข้าใจในเนื้อหาของบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็ม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และใช้แหล่งเรียนรู้ที่ ศักยภาพและสามารถนา
และกาหนดจุดประสงค์การ หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียน ความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
เรียนรู้ให้เหมาะสมกับความ เกิดการเรียนรู้ตาม ชีวิตประจาวันได้
ต้องการของผู้เรียน และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียน
2. เวลา ศึกษาโครงสร้างรายวิชาใน ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และ วางแผนการทางานให้
หลักสูตรสถานศึกษา และ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ได้ เหมาะสมกับเวลาและ
กาหนดเวลาในเรียนการให้ อย่างเต็มศักยภาพ เกิดการ กิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนด
เหมาะสมกับเนื้อหา และ เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและ ไว้
ตรงกับความต้องการของ ประสิทธิผล
ผู้เรียน
3. วิธกี ารจัดกิจกรรม เชื่อมโยงความรู้ในบทเรียน มีการแลกเปลี่ยนความ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
กับการดาเนินชีวิตใน คิดเห็นในการจัดกิจกรรม โดยเริ่มจากง่ายไปยาก
ปัจจุบัน โดยสอดแทรก การเรียนรู้ เช่น การร่วมกัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ความรู้ ข้อคิด เกี่ยวกับหลัก อภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้ และพัฒนาตนเองได้อย่าง
ปรัชญาของเศรษฐกิจ อย่างสมเหตุสมผล และรับ เต็มศักยภาพ
พอเพียง ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. สื่อ/แหล่งการ มีการใช้สื่อและแหล่งการ มีการแลกเปลี่ยนความ สามารถนาความรู้ที่ได้รับไป
เรียนรู้ เรียนรู้ที่อยู่ใกล้ตัวของ คิดเห็นระหว่างผู้สอนกับ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ ผู้เรียน หรือผู้เรียนกับ ได้อย่างเหมาะสม
ประสบการณ์ตรงในเรื่อง ผู้เรียน เพื่อให้เกิดความรู้
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ความเข้าใจในบทเรียนมาก
บทเรียน ขึ้น
หลักพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมคิ ุ้มกันในตัวทีด่ ี
ประเด็น
5. การประเมินผล ประเมินจากการทางานที่ เพื่อตรวจสอบความรู้ เตรียมแบบประเมินในด้าน
ได้รับมอบหมาย โดยให้ ความสามารถของผู้เรียนใน ต่างๆ และใช้ประเมินผู้เรียน
สอดคล้องกับหลัก 3 ห่วง 2 ด้านต่างๆ ตามสภาพจริง
เงื่อนไข
6. ความรู้ทคี่ รู 1. ความรู้เรื่อง สถิติและข้อมูล
จาเป็นต้องมี 2. ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. การประเมินผู้เรียนในด้านต่างๆ
7. คุณธรรมของครู มีความเมตตากรุณา มีความยุติธรรม มีความรับผิดชอบ มีความขยัน อดทน ประหยัด และ
มีวินัยในตนเอง รวมทั้งมีความรักและศรัทธาในสิชาชีพครู
2. ผลที่เกิดขึน้ กับผูเ้ รียนสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2.1 ผูเ้ รียนได้เรียนรูห้ ลักคิด และฝึกปฏิบตั ติ ามหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดังนี้
หลักพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมคิ ุ้มกันในตัวทีด่ ี
ประเด็น
1. เนื้อหา ผู้เรียนใช้ความรู้เรื่องสถิติ ผู้เรียนสามารถให้ความรู้ นาความรู้เรื่องสถิติและ
และข้อมูลในการตัดสินใจ เรื่องสถิติและข้อมูลในการ ข้อมูลกับหลักปรัชญาของ
เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใน ตัดสินใจเรื่องต่างๆ ได้อย่าง เศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้ โดยอยู่บน มีเหตุผล ชีวิตประจาวันได้
พื้นฐานของความ
พอประมาณ
2. ความรู้ทตี่ ้องมีมา 1. ความรู้เรื่องการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ในชีวิตประจาวัน
ก่อนเรียน 2. ความรู้เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
3. คุณธรรมของ มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ มีวินัยในตนเอง เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อ
ผูเ้ รียน ประโยชน์ส่วนรวม
2.2 ผูเ้ รียนได้เรียนรู้การใช้ชวี ติ ทีส่ มดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงใน 4 มิติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ดังนี้
ด้าน สมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงในด้านต่างๆ
องค์ประกอบ วัตถุ สังคม สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้ มีความรู้ในการ สามารถใช้ความรู้ ใช้ความรู้ความเข้าใจ มีความรู้เรื่อง
(Knowledge) ตัดสินใจในเรื่อง เรื่องสถิติและข้อมูล ในการวางแผนหรือ วัฒนธรรมในภูมิภาค
ต่างๆ อย่างรอบคอบ ช่วยในการตัดสินใจ ตัดสินใจในเรื่อง องค์กร หรือสังคม
เหมาะสมกับความ และวางแผน และ ต่างๆ อย่างละเอียด ต่างๆ และสามารถ
ต้องการโดยอยู่บน สามารถทางาน รอบคอบ และ ปรับเปลี่ยนวิถีการ
พื้นฐานของความ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง สอดคล้องกับ ดาเนินชีวิตได้
พอเพียง มีความสุข สภาพแวดล้อม
ทักษะ (Process) มีทักษะในการ เรียนรู้กระบวนการ/ มีทักษะในการ มีทักษะในการ
ตัดสินใจและ ขั้นตอนในการ วิเคราะห์ข้อมูล ดาเนินชีวิตที่มีการ
วางแผนในเรื่องต่างๆ ทางาน และมีทักษะ ข่าวสารต่างๆ ใน ติดต่อสื่อสารไร้
ในการทางานร่วมกับ ชีวิตประจาวัน และ พรมแดน และ
ผู้อื่น สามารถดาเนินชีวิต สามารถตัดสินในการ
ได้อย่างมีความสุข เลือกรับข้อมูล
ข่าวสารได้
ค่านิยม (Attitude) ตระหนักและเห็น มีการแลกเปลี่ยน เห็นคุณค่าของการ มีทัศนคติที่ดีในการ
คุณค่าของการวาง ความรู้ซึ่งกันและกัน นาความรู้มาช่วยใน ดาเนินชีวิตในยุค
แผนการทางานหรือ ยอมรับฟังความ การตัดสินใจใน โลกาภิวัฒน์ และ
การดาเนินงานต่างๆ คิดเห็นของผู้อื่น ชีวิตประจาวัน สามารถปรับตัวเข้า
โดยใช้ความรู้เรื่อง กับวัฒนธรรมต่างๆ
สถิติและข้อมูล ได้
แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน
วิชา คณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค32102 ระดับชัน้ ม.5 .
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 .
ระดับคะแนน
มากที่สุด = 5 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้มากกว่าร้อยละ 80
มาก = 4 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ร้อยละ 71 – 80
ปานกลาง = 3 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ร้อยละ 61 – 70
น้อย = 2 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ร้อยละ 51 – 60
น้อยที่สุด = 1 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ต่ากว่าร้อยละ 50
เกณฑ์การให้คะแนน รวม
ข้อที่ หัวข้อประเมิน
5 4 3 2 1 30
1 นักเรียนมีความตรงต่อเวลา
2 นักเรียนมีส่วนร่วมการการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
3 นักเรียนมีส่วนร่วมและกระตือรือร้นในการทากิจกรรม
4 นักเรียนบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
5 นักเรียนไม่ส่งเสียงหรือแสดงพฤติกรรมที่รบกวนต่อการ
เรียนการสอน
6 นักเรียนบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ได้ถูกต้องและครบถ้วน

เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 25 – 30 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 17 – 24 หมายถึง ดี
คะแนน 9 – 16 หมายถึง พอใช้
คะแนน 6–8 หมายถึง ปรับปรุง

สรุปผลการประเมิน
 ดีมาก  ดี  พอใช้  ปรับปรุง

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชื่อ.............................................................................................ชั้น.......................เลขที่...................

ใบกิจกรรม เรือ่ ง สถิตแิ ละข้อมูล

คาชีแ้ จง ให้นักเรียนเขียนผังมโนทัศน์เรื่องสถิติและข้อมูลโดยเชื่อมโยงกับความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พร้อมตกแต่งให้สวยงาม (10 คะแนน)
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
รายวิชา ค32102 คณิตศาสตร์ 4
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5

จัดทาโดย
นางสาวปิยะพร เขียวอินทร์
ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม

You might also like