You are on page 1of 17

1

คําอธิบายรายวิชา

รายวิชา คณิตศาสตร 1 รหัสวิชา ค31101


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนวยกิต

ศึกษาเรื่องเซต การดําเนินการของเซต แผนภาพเวนน – ออยเลอร การใหเหตุผล การใหเหตุผล


แบบอุนัยและนิรนัย จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริงและการนําไปใช สมการและอสมการตัวแปรเดียว
ดีกรีไมเกินสอง คาสัมบูรณของจํานวนจริง จํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ
และจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนจริง การบวก การลบ การคูณ
และการหารจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและจํานวนจริงที่อยูในรูป
กรณฑ หาคาประมาณของจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑและจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลัง
ปฏิบัติ โดยจัดประสบการณหรือสรางสถานการณในชีวิตประจําวันที่ใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษา คนควา
โดยการปฏิบัติจริง ฝกทักษะใหมีความคิดรวบยอด เขาใจ แสดง หาคา เขียน แกสมการและอสมการ
ตรวจสอบความสมเหตุสมผล โดยใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการ
แกปญหาในสถานการณตาง ๆ ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผล
ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนําเสนอ เชื่อมโยงความรู
ตางๆ ในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ มี
ความคิดริเริ่มสรางสรรค รวมทั้งเห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางเปนระบบ
ระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและเชื่อมั่นในตนเอง มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค เพื่อการพัฒนาสูประชาคมอาเซียน โดยใชการวัดและประเมินผลดวยวิธีการที่หลากหลายตามสภาพ
ความเปนจริง

เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความสามารถตามตัวชี้วัดตอไปนี้
ค 1.1 ม. 4/1 แสดงความสัมพันธของจํานวนตางๆ ในระบบจํานวนจริง
ค 1.1 ม. 4/2 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคาสัมบูรณของจํานวนจริง
ค 1.1 ม. 4/3 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลัง
เปนจํานวนตรรกยะ และจํานวนจริงในรูปกรณฑ
ค 1.2 ม. 4/1 เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ
การหารจํานวนจริง จํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปน
จํานวนตรรกยะและจํานวนจริงที่อยูใ นรูปกรณฑ
ค 1.3 ม. 4/1 หาคาประมาณของจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑและจํานวนจริงที่อยูในรูป
เลขยกกําลังโดยใชวิธีการคํานวณที่เหมาะสม
ค 1.4 ม. 4/1 เขาใจสมบัติของจํานวนจริงที่เกี่ยวกับการบวก การคูณ การเทากันและ
การไมเทากัน และนําไปใชได
ค 4.1 ม. 4/1 มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการดําเนินการของเซต
ค 4.1 ม. 4/2 เขาใจและสามารถใชการให เหตุผลแบบอุปนัยและ นิรนัย
ค 4.2 ม. 4/1 เขียน แผนภาพเวนน – ออยเลอรแสดงเซตและนําไปใชแกปญหา
ค 4.2 ม. 4/2 ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการใหเหตุผลโดยใชแผนภาพเวนน – ออยเลอร
2

ค 4.2 ม. 4/3 แกสมการและอสมการ ตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสอง


ค 6.1 ม. 4/1 ใชวธิ ีการที่หลากหลายแกปญหา
ค 6.1 ม. 4/2 ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการ
แกปญหาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม
ค 6.1 ม. 4/3 ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลไดอยางเหมาะสม
ค 6.1 ม. 4/4 ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน
ค 6.1 ม. 4/5 เชื่อมโยงความรูตางๆ ในคณิตศาสตรในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ
ค 6.1 ม. 4/6 มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
3

โครงสรางหนวยการเรียนรู รายวิชา คณิตศาสตร 1 รหัสวิชา ค31101


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
เวลาเรียน 60 ชั่วโมง เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห จํานวน 1.5 หนวยกิต
หนวย ชื่อหนวย มาตรฐานการเรียนรู / สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ําหนัก
ที่ การเรียนรู ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
1 เซต ค 4.1 ม. 4/1 เซตในทางคณิตศาสตรเราใช 16 30
ค 4.2 ม. 4/1 กลาวถึงการจัดรวบรวมวัตถุ สิ่งของ
ค 6.1 ม. 4/1 หรือสิ่งมีชีวิตตางๆ ที่มีลักษณะหรือ
ค 6.1 ม. 4/2 สมบัติบางอยางรวมกันภายใตการ
ค 6.1 ม. 4/3 ยอมรับของคนทั่วไป
ค 6.1 ม. 4/4 สิ่งที่ถูกจัดรวบรวมอยูภายใน
ค 6.1 ม. 4/5 เซตหนึ่งๆ เราจะเรียกวาสมาชิก
ค 6.1 ม. 4/6 ของเซตนั้น การเขียนแสดงสมาชิก
ของเซตสามารถแสดงไดทั้งแบบ
แจกแจงสมาชิกและแบบกําหนด
เงื่อนไข
การเขียนเซตแทนกลุมของสิ่ง
ตางๆ และการใชเงื่อนไขเกี่ยวกับ
เซตในทางคณิตศาสตรนั้น สามารถ
นําไปชวยแกปญหาในสถานการณ
จริงได
2 การใหเหตุผล ค 4.1 ม. 4/2 การใหเหตุผลทางคณิตศาสตรที่ 12 20
ค 4.2 ม. 4/2 สําคัญมีอยู 2 วิธี ไดแก
ค 6.1 ม. 4/1 1. การใหเหตุผลแบบอุปนัย
ค 6.1 ม. 4/2 (Inductive Reasoning) เปน
ค 6.1 ม. 4/3 วิธีการสรุปผลในการคนหาความ
ค 6.1 ม. 4/4 จริงจากการสังเกตหรือการทดลอง
ค 6.1 ม. 4/5 หลายครั้งจากกรณียอย ๆ แลว
ค 6.1 ม. 4/6 นํามาสรุปเปนความรูแบบทั่วไป
2. การใหเหตุผลแบบ
นิรนัย (Deductive Reasoning)
เปนการนําความรูพื้นฐานซึ่งอาจ
เปน ความเชื่อ ขอตกลง กฎ
หรือบทนิยาม ซึ่งเปนสิ่งที่รูมากอน
และยอมรับวาเปนจริงมาประกอบ
เพื่อนําไปสูขอสรุป
4

หนวย ชื่อหนวย มาตรฐานการเรียนรู / สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ําหนัก


ที่ การเรียนรู ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
3 จํานวนจริง ค 1.1 ม. 4/1 1.จํานวนจริงประกอบดวยจํานวน 20 30
ค 1.1 ม. 4/2 ตรรกยะและอตรรกยะ 2.จํานวน
ค 1.4 ม. 4/1 จริงมีสมบัติเกี่ยวกับการบวกและ
ค 4.2 ม. 4/3 การคูณ
ค 6.1 ม. 4/1 3.การนําสมบัติของจํานวนจริงไปใช
ค 6.1 ม. 4/2 แกสมการกําลังสอง
ค 6.1 ม. 4/3 4.การไมเทากันเปนการ
ค 6.1 ม. 4/4 เปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนวา
ค 6.1 ม. 4/5 มากกวานอยกวาหรือเทากับ
ค 6.1 ม. 4/6 5.เมื่อกําหนดให a เปนจํานวนจริง
ระยะจาก 0 ถึงจุดที่แทนจํานวน
จริง a เรียกวาคาสัมบูรณของ
จํานวนจริง
4 เลขยกกําลัง ค 1.1 ม. 4/3 สําหรับจํานวนเต็มบวก n ที่มา 12 20
ค 1.2 ม. 4/1 กวา 1 และจํานวนจริง a และ b ,
ค 1.3 ม. 4/1 b เปนรากที่ n ของ a ก็ตอเมื่อ
ค 6.1 ม. 4/1 bn = a
ค 6.1 ม. 4/2 จํานวนจริงที่อยูในรูป a
n

ค 6.1 ม. 4/3 หมายถึง คาหลักของรากที่ n ของ


ค 6.1 ม. 4/4 a หรือ กรณฑที่ n ของ a
ค 6.1 ม. 4/5
ค 6.1 ม. 4/6

รวมระหวางภาค 70
ปลายภาค 30
รวม 60 100
5

โครงสรางรายวิชา คณิตศาสตร 1 รหัสวิชา ค31101


หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง เซต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 16 ชั่วโมง

ลําดับ ชื่อเรือง มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด เวลา


ที่ (ชั่วโมง)
1 การเขียนเซต ค 4.1 ม. 4/1 , ค 4.2 ม. 4/1 , 2
ค 6.1 ม. 4/1 , ค 6.1 ม. 4/2 ,
ค 6.1 ม. 4/3 , ค 6.1 ม. 4/4 ,
ค 6.1 ม. 4/5 , ค 6.1 ม. 4/6
2 สับเซตและเพาเวอรเซต ค 4.1 ม. 4/1 , ค 6.1 ม. 4/1 , 3
ค 6.1 ม. 4/2 , ค 6.1 ม. 4/3 ,
ค 6.1 ม. 4/4 , ค 6.1 ม. 4/5 ,
ค 6.1 ม. 4/6
3 การดําเนินการของเซต ค 4.1 ม. 4/1 , ค 6.1 ม. 4/1 , 6
ค 6.1 ม. 4/2 , ค 6.1 ม. 4/3 ,
ค 6.1 ม. 4/4 , ค 6.1 ม. 4/5 ,
ค 6.1 ม. 4/6
4 การนําเซตไปใชแกปญหา ค 4.1 ม. 4/1 , ค 4.2 ม. 4/1 , 5
ค 4.2 ม. 4/2 , ค 6.1 ม. 4/1 ,
ค 6.1 ม. 4/2 , ค 6.1 ม. 4/3 ,
ค 6.1 ม. 4/4 , ค 6.1 ม. 4/5 ,
ค 6.1 ม. 4/6
รวม 16
6

โครงสรางรายวิชา คณิตศาสตร 1 รหัสวิชา ค31101


หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง เซต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 16 ชั่วโมง

เวลา คะแนน
ชื่อเรื่อง ตัวชี้วัดที่
ที่ (ชั่วโมง) เก็บ กลางภาค ปลายภาค
1 การเขียนเซต ค 4.1 ม. 4/1 2 2 1 -
ค 4.2 ม. 4/1
ค 6.1 ม. 4/1
ค 6.1 ม. 4/2
ค 6.1 ม. 4/3
ค 6.1 ม. 4/4
ค 6.1 ม. 4/5
ค 6.1 ม. 4/6
2 สับเซตและเพาเวอรเซต ค 4.1 ม. 4/1 3 3 2 1
ค 6.1 ม. 4/1
ค 6.1 ม. 4/2
ค 6.1 ม. 4/3
ค 6.1 ม. 4/4
ค 6.1 ม. 4/5
ค 6.1 ม. 4/6
3 การดําเนินการของเซต ค 4.1 ม. 4/1 6 5 4 2
ค 6.1 ม. 4/1
ค 6.1 ม. 4/2
ค 6.1 ม. 4/3
ค 6.1 ม. 4/4
ค 6.1 ม. 4/5
ค 6.1 ม. 4/6
4 การนําเซตไปใชแกปญหา ค 4.1 ม. 4/1 5 5 3 2
ค 4.2 ม. 4/1
ค 4.2 ม. 4/2
ค 6.1 ม. 4/1
ค 6.1 ม. 4/2
ค 6.1 ม. 4/3
ค 6.1 ม. 4/4
ค 6.1 ม. 4/5
ค 6.1 ม. 4/6
รวม 16 15 10 5
7

หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง เซต


แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง การเขียนเซต
รายวิชา คณิตศาสตร 1 รหัสวิชา ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2559 เวลา 2 ชั่วโมง
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรฐานการเรียนรู
สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.1 เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชัน
ตัวชี้วัด 1. มีความคิดรวบยอดในเรื่อง เซตและการดําเนินการของเซต
มาตรฐาน ค 4.2 ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร
(mathematical model) อื่นๆ แทนสถานการณตาง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใชแกปญหา
ตัวชี้วัด 1. เขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอรแสดงเซตและนําไปใชแกปญหา
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับ
ศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
ตัวชี้วัด 1. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา
2. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการ
แกปญหาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม
3. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม
4. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน
5. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตร และนําความรู หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ
6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
เซตในทางคณิตศาสตรเราใชกลาวถึงการจัดรวบรวมวัตถุ สิ่งของหรือสิ่งมีชีวิตตางๆ ที่มีลักษณะหรือ
สมบัติบางอยางรวมกันภายใตการยอมรับของคนทั่วไป
สิ่งที่ถูกจัดรวบรวมอยูภายในเซตหนึ่งๆ เราจะเรียกวาสมาชิกของเซต การเขียนเซต มี 2 แบบ คือ
เขียนแบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
เซตจํากัด คือ เซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากับจํานวนเต็มบวกใดหรือศูนย
เซตอนันต คือ เซตที่ไมใชเซตจํากัด
เซตวาง คือ เซตที่ไมมีสมาชิก ใชสัญลักษณ { } หรือ  แทนเซตวาง
เซตที่เทากัน เซต A เทากับเซต B หมายถึง สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B
และสมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A
8

การเขียนเซตแทนกลุม ของสิ่งตางๆ และการใชเงื่อนไขเกี่ยวกับเซตในทางคณิตศาสตรนั้น สามารถ


นําไปชวยแกปญหาในสถานการณจริงได

สาระการเรียนรู
1. ความหมายของเซต
2. วิธีการเขียนเซต
3. เซตจํากัดและเซตอนันต
4. เซตที่เทากัน

สาระการเรียนรูที่บูรณาการ
1. สวนพฤกษศาสตร
2. อาเซียน
3. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

คุณลักษณะที่พึงประสงค
( ) 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย () 2. ซื่อสัตย สุจริต () 3. มีวินัย () 4. ใฝเรียนรู
( ) 5. อยูอยางพอเพียง () 6. มุง มั่นในการทํางาน ( ) 7. รักความเปนไทย ( ) 8. มีจิตสาธารณะ

สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
() 1. ความสามารถในการสื่อสาร () 2. ความสามารถในการคิด
() 3. ความสามารถในการแกปญหา () 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
() 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับพันธุไมภายในโรงเรียน โดยบูรณาการกับสวนพฤกษศาสตร
โรงเรียน และอาเซียน
2. เขียนแสดงการจัดกลุมเซตของสิ่งของใน 5 หองชีวิต ไดแก หองนอน หองน้ํา หองแตงตัว
หองครัว และหองทํางาน โดยบูรณาการกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมการเรียนรู / กระบวนการเรียนรู
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่องเซต โดยใชหลักเหตุผล คือการใชสติตริตรอง
อยางรอบคอบกอนตัดสินใจตอบคําถามในแบบทดสอบ และการใชหลักพอประมาณ คือมีความพอดีตาม
ศักยภาพของตนเองในการทําแบบทดสอบ เมื่อนักเรียนทําแบบทดสอบเสร็จแลว ครูแจงตัวชี้วัดของบทเรียน
ใหนักเรียนทราบ
2. ครูชี้แจงวัตถุประสงคของการทํางานกลุม การมอบหมายหนาที่ เปาหมายของการทํางาน
รวมกัน ความชวยเหลือกันในการทํางานกลุม กติกาของกลุม เชน การรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น การมี
สวนรวมในการทํางาน เปนตน การทํางานกลุม เปนการสงเสริมใหเกิดคุณธรรมความเอื้ออาทรตอกัน
นักเรียนจะไดชวยเหลือกันระหวางการทําแบบฝกทักษะ การใหนักเรียนฝกคิดวิเคราะหจากความรูและ
9

ประสบการณจากตัวอยาง จากแบบฝกทักษะ การจัดหาสื่อ แบบฝกทักษะที่เนนการคิด และการใชคําพูดที่


เขาใจงายสอนนักเรียน เพื่อใหงา ยตอการกระตุน ใหนักเรียนไดคิดอยางมีเหตุมีผล และใหนักเรียนอยากเรียนรู
เรื่องใหมอยางมุงมั่นตั้งใจ เปนการสรางภูมิคุมกัน ในการสอนของครูใหบรรลุตามจุดประสงค
3. ครูกลาวถึงประวัติของเกออรก คันทอร (Georg Cantor, 1845 - 1917) นักคณิตศาสตรชาว
เยอรมัน ผูริเริ่มนําเซตมาอธิบายเนื้อหาทางคณิตศาสตร
4. ครูใหนักเรียนดูภาพกลุมของหุนฟางนกจังหวัดชัยนาท แลวใหนักเรียนชวยกันบอกชื่อของ
ผลไมไทย ชื่อของพันธุไมภายในโรงเรียน เปนตน จากนั้นจึงใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการการจัด
รวบรวมวัตถุ สิ่งของหรือสิ่งมีชีวิตตางๆ ที่มีลักษณะหรือสมบัติบางอยางรวมกันภายใตการยอมรับของคนทั่วไป
5. ครูแนะนําวาในวิชาคณิตศาสตรจะแทนกลุมของสิ่งตางๆ ดวยคําวา “เซต (Sets)” ซึ่งเปนคํา
อนิยาม เมื่อกลาวถึงเซตใดแลวจะสามารถทราบไดแนนอนวาสิ่งใดอยูในเซตและสิ่งใดไมอยูในเซต และเรียกสิ่ง
ที่อยูในเซตวา “สมาชิก (Element or Member)”
6. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางเซตอื่นๆ พรอมทั้งระบุสมาชิกในเซต
7. ครูใหนักเรียนแบงกลุมๆ ละ 4 คน เพื่อศึกษาใบความรู เรื่อง การเขียนเซต แลวรวมกัน
อภิปรายกลุมยอยเกี่ยวกับความหมายของเซต การเขียนเซต สัญลักษณแทนเซต และสมาชิกของเซต เซต
จํากัด เซตอนันต เซตวาง และเซตที่เทากัน โดยครูเดินดูและตอบปญหา ขอสงสัย ของนักเรียนอยางใกลชิด
8. ครูใชคําถามถามนักเรียนเพื่อตรวจสอบความเขาใจ โดยสุมกลุม นักเรียน 2 – 3 กลุม ให
ยกตัวอยางเซตบนกระดาน แลวใหนักเรียนที่เหลือชวยกันเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก แบบบอกเงื่อนไข
ของสมาชิก หาสมาชิกของเซต หาเซตจํากัด เซตอนันต เซตวาง และเซตที่เทากัน
9. ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ เรื่องเซต แลวเปลี่ยนกันตรวจ โดยครูตรวจสอบความถูกตองอีก
ครั้ง
10. ครูมอบหมายใหนักเรียนแตละกลุมทําใบงานการเขียนแผนภาพแสดงเซตตางๆ โดยเลือก
หัวขอที่เกี่ยวกับอาเซียนหรือสวนพฤกษศาสตร จากนั้นครูพิจารณากําหนดเวลาและจํานวนกลุมในการนําสง
ใบงานโดยใชหลักพอประมาณกับเวลา นักเรียนตองวางแผนที่จะนําเสนอผลงานใหเสร็จทันตามเวลาที่กําหนด

ชั่วโมงที่ 2
1. ครูแจงผลคะแนนสอบกอนเรียนเรื่องเซตใหนักเรียนทราบ และพูดคุยกับนักเรียนเพื่อปรับปรุง
และพัฒนา และกลาวชมเชยนักเรียนที่ทําคะแนนไดตามเกณฑที่ครูแจงไวเปนการใชทฤษฎีการเสริมแรงและ
ทฤษฎีตัวแบบ
2. ครูทบทวนความรูเดิมเรื่องการเขียนเซตเพื่อเปนภูมิคุมกันใหกับนักเรียน
3. ครูพิจารณากําหนดเวลาและจํานวนกลุมในการนําเสนอพอประมาณกับเวลา นักเรียนตอง
พิจารณาเลือกสมาชิกในกลุม ที่มีศักยภาพเหมาะสมในการนําเสนอผลงานใหเพื่อนเห็นเปนตัวอยางใหเสร็จ
ทันเวลาที่กําหนด
4. ตัวแทนนักเรียนออกมานําเสนอผลงานจากใบงานการเขียนแผนภาพแสดงเซตตางๆ
5. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายความรูจากการนําเสนอผลงานและสรุปความรูเกี่ยวกับการ
เขียนเซต
6. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เรื่อง การเขียนเซต
7. นักเรียนและครูรวมกันเฉลยแบบฝกหัด และอภิปรายขอที่ผิดเพื่อเปนการตรวจสอบความ
เขาใจ
10

8. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เรื่องเซต โดยนักเรียนตองใชเงื่อนไขของปรัชญา


เศรษฐกิจพอเพียง ทั้งสองเงื่อนไข ไดแกเงื่อนไขความรู ซึ่งนักเรียนตองใชความรอบรู รอบคอบและระมัดระวัง
ในการทําแบบทดสอบ และเงื่อนไขคุณธรรมที่นักเรียนตองใชความซื่อสัตย สุจริต ในการทําแบบทดสอบ

สื่อการเรียนการสอน
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - 6
2. New Century Mathematics for Secondary 4 Volume 1
3. ภาพกลุมของสิ่งตางๆ เชน ภาพหุนฟางนก ภาพชนิดของผลไมไทย เปนตน
4. ใบความรู
5. แบบฝกทักษะ
6. ใบงาน

แหลงเรียนรู
1. ศูนยคนควาทางคณิตศาสตร ของโรงเรียน
2. หองสมุดโรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
3. อินเตอรเน็ต

การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ


ตรวจแบบฝกทักษะ แบบฝกทักษะ รอยละ 80 ผานเกณฑ
ตรวจใบงาน ใบงาน ระดับคุณภาพ 3 ผานเกณฑ
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับคุณภาพ 3 ผานเกณฑ
สังเกตความซื่อสัตย สุจริต มีวินัย แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ระดับคุณภาพ 3 ผานเกณฑ
ใฝเรียนรู และมุงมั่นในการทํางาน

เกณฑ
เกณฑการประเมิน (RUBRIC SCORE) การทําแบบฝกทักษะ
ระดับคุณภาพ เกณฑการพิจารณา รอยละ
4 (ดีมาก) นักเรียนเขียนคําตอบถูกตอง 8 – 10 ขอ 80 - 100
3 (ดี) นักเรียนเขียนคําตอบถูกตอง 6 – 7 ขอ 60 - 70
2 (พอใช) นักเรียนเขียนคําตอบถูกตอง 4 – 5 ขอ 40 - 50
1 (ตองปรับปรุง) นักเรียนเขียนคําตอบถูกตอง ต่ํากวา 4 ขอ ต่ํากวา 40
11

เกณฑการประเมิน (RUBRIC SCORE) การทําชิ้นงาน เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับพันธุ


ไมภายในโรงเรียน โดยบูรณาการกับสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน และอาเซียน

ระดับคุณภาพ เกณฑการพิจารณา ชวงคะแนน


4 (ดีมาก) เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับพันธุไม 8 - 10
ภายในโรงเรียนได 10 พันธุขึ้นไปไดถูกตอง
และสวยงาม
3 (ดี) เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับพันธุไ ม 6-7
ภายในโรงเรียนได 7 - 9 พันธุไดถูกตองและ
สวยงาม
2 (พอใช) เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับพันธุไม 4-5
ภายในโรงเรียนได 5 - 6 พันธุไดถูกตองและ
สวยงาม
1 (ตองปรับปรุง) เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับพันธุไม 1-3
ภายในโรงเรียนไดต่ํากวา 5 พันธุ

เกณฑการประเมิน (RUBRIC SCORE) การทําชิ้นงาน เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับอาเซียน


ระดับคุณภาพ เกณฑการพิจารณา ชวงคะแนน
4 (ดีมาก) เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับอาเซียน 8 - 10
ไดถูกตองและสวยงาม มีความคิดริเริ่ม
สรางสรรค
3 (ดี) เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับอาเซียน 6-7
ไดถูกตองและสวยงาม
2 (พอใช) เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับอาเซียน 4-5
ไดถูกตอง
1 (ตองปรับปรุง) เขียนแผนภาพแสดงเซตเกี่ยวกับอาเซียน 1-3
ได
12

เกณฑการประเมิน (RUBRIC SCORE) การทําชิ้นงาน เขียนแสดงการจัดกลุมเซตของสิ่งของใน


5 หองชีวิต ไดแก หองนอน หองน้ํา หองแตงตัว หองครัว และหองทํางาน
ระดับคุณภาพ เกณฑการพิจารณา ชวงคะแนน
4 (ดีมาก) เขียนแสดงการจัดกลุมเซตของสิ่งของใน 5 8 - 10
หองชีวิต ไดแก หองนอน หองน้ํา หองแตงตัว
หองครัว และหองทํางาน
ไดถูกตองและสวยงามทั้ง 5 หองชีวิต
3 (ดี) เขียนแสดงการจัดกลุมเซตของสิ่งของใน 5 6-7
หองชีวิต ไดแก หองนอน หองน้ํา หองแตงตัว
หองครัว และหองทํางาน
ไดถูกตองและสวยงามจํานวน 4 หองชีวิต
2 (พอใช) เขียนแสดงการจัดกลุมเซตของสิ่งของใน 5 4-5
หองชีวิต ไดแก หองนอน หองน้ํา หองแตงตัว
หองครัว และหองทํางาน
ไดถูกตองและสวยงามจํานวน 3 หองชีวิต
1 (ตองปรับปรุง) เขียนแสดงการจัดกลุมเซตของสิ่งของใน 5 1-3
หองชีวิต ไดแก หองนอน หองน้ํา หองแตงตัว
หองครัว และหองทํางานไดถูกตอง จํานวน
1 - 2 หองชีวิต
ขอเสนอแนะ
นักเรียนอาจแสดงความคิดเห็นนําเสนอการเขียนเซตในหัวขอที่ตนสนใจ เชน เซตของขนมไทย
เซตของสถานที่ทองเที่ยวในจังหวัดตางๆ เซตของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย เปนตน

ขอเสนอแนะของหัวหนาสถานศึกษาหรือผูที่ไดรับมอบหมาย
(ตรวจสอบ/นิเทศ/รับรอง)
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ..............................................................
(..............................................................)
ตําแหนง .........................................................
......../................................./.............
13

บันทึกผลหลังสอน

ผลการสอน
นักเรียนสวนใหญใหความรวมมือตอกิจกรรมการเรียนรู และมีความสนใจตอเซตของสิ่งตางๆ โดย
รวมกันแสดงความคิดเห็น และซักถามในสิ่งที่ตนไมเขาใจ ตั้งใจฟงครูอธิบาย นักเรียนมีความรับผิดชอบทั้งการ
ทํางานเดี่ยวและงานกลุม สามารถนําเสนอผลงานไดเปนที่นาพอใจ

ปญหา/แนวทางแกไขปญหา
นักเรียนบางคนคุย ไมตั้งใจเรียนและรวมกิจกรรม ครูตองดูแลใกลชิดและตักเตือนใหมีความตั้งใจ
และพยายามใหมากขึ้น โดยนักเรียนสามารถปฏิบัติไดดีขึ้น

กิจกรรมเสนอแนะ
อาจจัดใหมีการประเมินผลชิ้นงานโดยเพื่อนในหองเรียนและจัดแสดงผลงานของกลุมตางๆ ไวใน
มุมใดมุมหนึ่งของหองเรียนเพื่อใหนักเรียนไดแลกเปลี่ยนเรียนรู

ลงชื่อ ..............................................................
(นางสาวแฉลม อินวารี)
ตําแหนง ครูชํานาญการ
......../................................./.............
14

การวิเคราะหการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
1. ผูสอนนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
หลักพอเพียง
ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
ประเด็น
เนื้อหา ครูมีการวิเคราะห ครูจัดกิจกรรมให การจัดการเรียนรูให
หลักสูตร มาตรฐานการ สอดคลองกับเนื้อหา ครอบคลุมตามตัวชี้วัด
เรียนรู ตัวชี้วัด เนื้อหา สภาพของทองถิ่น และ สามารถนําความรูไป
ออกแบบและจัดกิจกรรม สถานการณปจจุบัน ประยุกตใชในชีวิตได
ใหเหมาะสมกับนักเรียน
และบริบทของทองถิ่น
เวลา ศึกษาโครงสรางเวลาใน จัดการเรียนรูเปนไปตาม วางแผนการจัดการ
หลักสูตร กําหนดเวลาให เวลาที่กําหนด เรียนรูใหเหมาะสมกับ
เหมาะสมกับเนื้อหาและ เวลาที่กําหนด
กิจกรรมการเรียนรู
วิธีการจัดกิจกรรม - เหมาะสมกับนักเรียน ฝกใหนักเรียนคิด จัดกิจกรรมใหนักเรียน
และบริบทของทองถิ่น วิเคราะห และนําความรู สามารถนําความรูไปใช
- กําหนดชิ้นงาน/ภาระ ไปใช และเชื่อมโยงความรูกับ
งานใหเหมาะสมกับ สิ่งตางๆ ใน
ศักยภาพของนักเรียน ชีวิตประจําวันได
แหลงเรียนรู เหมาะสมกับเนื้อหา สงเสริมใหนักเรียน จัดหาหรือแนะนํา
และกิจกรรม เลือกใชแหลงเรียนรูได แหลงเรียนรูที่เหมาะสม
อยางเหมาะสมและเกิด กับนักเรียน
ประโยชน
สื่ออุปกรณ - ใชสื่อเหมาะสมกับ นักเรียนมีสื่อที่เหมาะสม นักเรียนมีสื่อที่เหมาะสม
เนื้อหาและความสนใจ กับกิจกรรมการเรียนรู และสงเสริมใหเกิด
ของนักเรียน การเรียนรู
- จัดหาสื่อเพียงพอกับ
นักเรียน
การประเมินผล การประเมินผลตาม สามารถตรวจสอบความรู มีเกณฑการประเมิน
สภาพจริงเหมาะสมกับ ทักษะกระบวนการ ทีช่ ัดเจน
ศักยภาพของนักเรียน สมรรถนะและ
และเวลา คุณลักษณะอันพึง
ประสงคไดตรงตาม
ตัวชี้วัดและสภาพความ
เปนจริง
15

1. ผูสอนนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู (ตอ)

หลักพอเพียง
ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
ประเด็น
ความรูที่ครูจําเปนตองมี - เนื้อหาเกี่ยวกับความหมายของเซต วิธีการเขียนเซต เซตจํากัดและเซตอนันต
เซตที่เทากัน
- การประเมินผลตามสภาพจริง
- หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- สวนพฤกษศาสตรในโรงเรียน
- อาเซียน
- 5 หองชีวิต

คุณธรรมของครู - มีความรับผิดชอบในการสอน ตรงตอเวลา มีวินัย ประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี


- มีความเพียรพยายามที่จะมุงมั่นใหนักเรียนมีความรู ทักษะกระบวนการและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค
- มีความอดทน ในการจัดการเรียนรู แนะนําตรวจแกไขผลงานของนักเรียน
- มีกัลยาณมิตรตอนักเรียนทุกคน
16

2. ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู
2.1 นักเรียนไดเรียนรูหลักคิด และฝกปฏิบัติตามหลัก 3 หวง 2 เงื่อนไข ดังนี้

ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี

- นักเรียนมีพื้น - นักเรียนสามารถแสดง - นักเรียนรูจักบทบาท


ฐานความรูทาง ความคิดเห็นหรือรวม หนาที่ของตนเอง
คณิตศาสตรที่เหมาะสม อภิปรายไดอยางมีเหตุผล สามารถแสดงความ
กับเนื้อหา - นักเรียนสามารถคิด คิดเห็นไดและรูจักรับฟง
หลักพอเพียง - นักเรียนทํางาน วิเคราะหในการทําแบบ ความเห็นของเพื่อน
เหมาะสมกับเวลาที่ ฝกทักษะและใบงานได นักเรียนและครู
กําหนด และสามารถทํางาน
รวมกับผูอื่นได
- นักเรียนสามารถนํา
ความรูไปประยุกตใชใน
ชีวิตได

ความรูที่ตองมี - นักเรียนมีความรอบรู เรื่อง ความหมายของเซต วิธีการเขียนเซต เซตจํากัดและ


กอนการเรียน เซตอนันต เซตที่เทากัน
- นักเรียนรูจักสวนพฤกษศาสตรในโรงเรียน
- นักเรียนมีความรูเกี่ยวกับอาเซียน
- นักเรียนมีความรูเกี่ยวกับ 5 หองชีวิต
- นักเรียนมีความรูเกี่ยวกับทองถิ่นของตนเอง

คุณธรรมของผูเรียน นักเรียนมีความซื่อสัตย ตรงตอเวลา มีวินัย ใฝรูใฝเรียน มีความรับผิดชอบ อดทน


ตั้งใจและมุงมั่นในการทํางานของตนโดยไมคัดลอกงานของผูอื่น
17

2.2 นักเรียนไดเรียนรูการใชชีวิตที่สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติ ตามหลักปรัชญาของ


เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
ดาน สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ
องคประกอบ วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม
ความรู ไดความรูเ กี่ยวกับ มีความรูใน รูจักใชแหลงเรียนรู - การเรียนรู
ความหมายของเซต กระบวนการกลุม ในทองถิ่นและการ สอดคลองกับวิถี
วิธีการเขียนเซต การวางแผนการ สืบคนหาความรู ชีวิตของคนใน
เซตจํากัดและเซต ทํางานกลุม รูจัก จากอินเตอรเน็ตให ชุมชน
อนันต เซตที่เทากัน การทํางานรวมกับ เกิดประโยชน - เห็นคุณคาของ
ผูอื่น มีการ ภูมิปญญาทองถิ่น
แลกเปลี่ยนเรียนรู
และชวยเหลือซึ่งกัน
และกัน

ทักษะ - มีทักษะการ มีทักษะการใชชีวิต มีทักษะการใช มีทักษะการใชชีวิต


สื่อสาร การสื่อ เกี่ยวกับ ทรัพยากรอยาง ในสังคมอยางมี
ความหมายทาง กระบวนการกลุม ระมัดระวังและ ความสุข
คณิตศาสตร และ คุมคา
การนําเสนอ รูจักดูแล
- มีทักษะการ สิ่งแวดลอม
เชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับ
ศาสตรอื่น ๆ
- ทักษะการใช
เทคโนโลยี

คานิยม ตระหนักถึงความดี มีความรับผิดชอบ มีจิตสํานึกในการ การสืบสานอนุรักษ


สากล 5 ประการ ตอการทํางานของ รวมรักษาสวน ภูมิปญญาทองถิ่น
กลุม มีความ พฤกษศาสตรใน
เสียสละและอดทน โรงเรียน
ยอมรับความ
คิดเห็น
ซึ่งกันและกัน

You might also like