You are on page 1of 15

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 สาระที่ 5 : การวิเคราะข้อมูลและความน่าจะเป็น


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แผนภูมิรูปวงกลม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559
เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปวงกลม รหัสวิชา ค 22101 รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน 3
เวลาที่ใช้สอน 3 ชั่วโมง ผู้สอน นางปุญยนุช เอกศิริ โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
********************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 5.1. เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
มาตรฐาน ค 6.1 ม.1-3/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ม.1-3/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ม.1-3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ม.1-3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
ม.1-3/5 เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ
ม.1-3/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 3
1. กาหนดประเด็น เขียนข้อคาถาม กาหนดวิธีการศึกษา และเก็บรวบรวมข้อมูลได้
2. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม อ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลจากการนาเสนอข้อมูลได้

1.2 ผลการเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถนาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิรูปวงกลมได้
2. สาระสาคัญ
การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปวงกลม เป็นการนาเสนอข้อมูลโดยใช้วิธีแบ่งพื้นที่ในรูปวงกลม
ออกเป็นส่วนย่อยตามส่วนของปริมาณที่ต้องการเปรียบเทียบ การแบ่งพื้นที่นี้ทาได้โดยการแบ่งมุมรอบ
จุดศูนย์กลางของรูปวงกลมให้มีขนาดตามส่วนของปริมาณที่ต้องการเปรียบเทียบ
3. สาระการเรียนรู้
1.1 ด้านความรู้
อ่านข้อมูลจากแผนภูมิวงกลมและนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิวงกลมได้

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 1


1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตุผล
3) การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอ
4) การเชื่อมโยง
1.3 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
1) มีความตั้งใจทางาน
2 ตรงต่อเวลา
3) มีความรอบคอบ สะอาดเรียบร้อย
4) มีความรับผิดชอบ
5) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
6) ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
7) นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้
4. สมรรถนะ
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการคิดวิเคราะห์
2) ทักษะการคิดสร้างสรรค์
4) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
5) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
4.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
5. ชิ้นงาน/ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
1) ใบงานที่ 1 เรื่อง การเขียนแผนภูมิวงกลม
2) ใบกิจกรรม เรื่อง ความพอเพียงที่เพียงพอ

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 2


6. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูแจ้งผลการเรียนรู้ของการเรียนเรียนการวาดแผนภูมิวงกลมให้นักเรียนทราบ
2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปวงกลมว่า พื้นที่ในรูปวงกลมจะถูกแบ่ง
ออกเป็นส่วนจากจุดศูนย์กลางของรูปวงกลมตามสัดส่วนของปริมาณข้อมูลแต่ละรายการ
ที่นาเสนอ และซักถามนักเรียนว่าในการเขียนแผนภูมิรูปวงกลมจะแบ่งพื้นที่เป็นส่วนย่อยตามปริมาณของ
ข้อมูลในแต่ละรายการได้อย่างไรให้นักเรียนเสนอแนะและอภิปรายร่วมกัน

3. ครูใช้การถามตอบประกอบคาอธิบายเกี่ยวกับ เรื่อง การเขียนแผนภูมิรูปวงกลม แล้วช่วยกันสรุป


เกี่ยวกับการคานวณขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลางของรูปวงกลม และร้อยละของพื้นที่
จนได้ข้อสรุป ดังนี้
จานวนข้อมูลส่วนย่อย
1) ขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลาง =  360 องศา
ผลรวมของข้อมูลทัง้ หมด

จานวนของข้อมูลส่วนย่อย
2) ร้อยละของพื้นที่ =  100
ผลรวมของข้อมูลทัง้ หมด
3 ) ขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลาง = ร้อยละของพื้นที่ส่วนย่อยในรูปวงกลม x 3.6

4. ครูยกตัวอย่างประกอบ การเขียนแผนภูมิรูปวงกลม ดังนี้


ครอบครัวปัญญามีรายได้ในปี พ.ศ. 2559 เป็นเงิน 300,000 บาท จาแนกเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆดังนี้

รายการใช้จ่าย จานวนเงิน (บาท)


ค่าอาหาร 75,000
ค่าเช่าบ้าน 69,000
ค่าเดินทาง 24,000
ค่าฝากธนาคาร 30,000
ค่ารักษาพยาบาล 15,000
ภาษีและอื่นๆ 87,000
รวม 300,000

1. หาร้อยละ
หาว่าค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เป็นร้อยละเท่าใดของรายได้ เช่น ค่าอาหารเป็นร้อยละเท่าใดของรายได้ ดังนี้
รายได้ 300,000 บาท เป็นค่าอาหาร 75,000 บาท

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 3


75,000 100
ถ้ารายได้ 100 บาท เป็นค่าอาหาร  25 %
300,000
นั่นคือค่าอาหารเป็นร้อยละ 25 หรือ 25% ของรายได้
2. หาขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลม
วิธีที่ 1 หาโดยเทียบอัตราส่วนของค่าใช้จ่ายแต่ละรายได้ เช่น
ค่าใช้จ่าย 300,000 บาท คิดเป็นมุมที่จุดศูนย์กลาง 360 องศา
ค่าอาหาร 75,000 บาท คิดเป็นมุมที่จุดศูนย์กลาง 360  75,000  90 องศา
300,000
วิธีที่ 2 หาโดยเทียบกับร้อยละ เช่น
ค่าใช้จ่าย 100 % คิดเป็นมุมที่จุดศูนย์กลาง 360 องศา
360
ค่าใช้จ่าย 1 % คิดเป็นมุมที่จุดศูนย์กลาง องศา
100
ดังนั้น มุมที่จุดศูนย์กลางของแต่ละรายการเท่ากับค่าร้อยละที่ได้คูณกับ 3.6 เช่น
25% คิดเป็นมุมที่จุดศูนย์กลาง 25 3.6 องศา = 90 องศา
จากวิธีข้างต้นคานวณหาร้อยละ และขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลางของค่าใช้จ่ายอื่นๆ ได้ดังในตาราง
ตาราง แสดงค่าใช้จ่าย ร้อยละ และขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลาง

รายการใช้จ่าย จานวนเงิน (บาท) จานวนเปอร์เซ็นต์ ขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลาง (องศา)


75,000
ค่าอาหาร 75,000 100  25 25  3.6  90
300,000
69,000
ค่าเช่าบ้าน 69,000 100  23 23  3.6  82.8
300,000
24,000
ค่าเดินทาง 24,000 100  8 8  3.6  28.8
300,000
30,000
ค่าฝากธนาคาร 30,000  100  10 10  3.6  36
300,000
15,000
ค่ารักษาพยาบาล 15,000 100  5 5  3.6  18
300,000
87,000
ภาษีและอื่นๆ 87,000 100  32 32  3.6  104.4
300,000
รวม 300,000 100 360

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 4


แผนภูมิแสดงค่าใช้จ่ายของครอบครัวปัญญาในปี พ.ศ. 2545
ค่ารถเดินทาง 8%

ค่าฝากธนาคาร 10%พัก ค่าเช่าบ้าน 23%


ค่าที่พัก พัก ค่าที่พัก

ค่ารักษาพยาบาล 5%พัก
ค่าที่พัก

ภาษีและอื่นๆ 32 % ค่าอาหาร 25%


พัก
ค่าที่พัก

4. ครูเสนอแนะถึงการคานวณของมุมที่จุดศูนย์กลาง เพื่อแบ่งพื้นที่ในวงกลมออกเป็นส่วนๆ ค่าที่ได้อาจไม่ลง


ตัว ให้นักเรียนใช้ค่าประมาณของมุม โดยปัดเศษให้เป็นจานวนเต็ม ในกรณีที่คานวณผลรวมของขนาดของมุมที่จุด
ศูนย์กลาง แล้วไม่เท่ากับ 360 องศาพอดีหรือคานวณร้อยละของข้อมูลแล้วไม่ได้ 100% พอดี ครูชี้แนะเลือกปรับ
ปริมาณข้อมูลให้เหมาะสม อาจจะให้พิจารณาปัดเศษของปริมาณที่เป็นทศนิยมหนึ่งตาแหน่ง เช่น 0.1 หรือทศนิยมสอง
ตาแหน่ง 0.05 ให้ปัดเศษปริมาณหนึ่งขึ้น และปัดเศษอีกปริมาณหนึ่งทิ้ง เพื่อให้ได้ผลรวมของข้อมูลเป็น 360 องศา
หรือ 100% พอดี
5. ครูให้นักเรียนประมาณการใช้จ่ายของนักเรียนแต่ละเดือนว่าเรามีการประมาณการใช่จ่ายอย่างไรเพียงพอ
หรือไม่ใน 1 เดือน และเราควรมีการแบ่งออมกี่บาทแบ่งเป็นกี่ เปอร์เซ็นต์ โดยให้นักเรียนคิดโจทย์เองตามสถานการณ์
จริงของตนเองใน 1 เดือนแล้วทากิจกรรมลงในใบงาน
6. ครูยกตัวอย่างการแบ่งที่ดินทากินตามหลังเศรษฐิจพอเพียงให้นักเรียนได้เห็นภาพดังนี้
ตัวอย่างที่ 2 จากการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดารัสของในหลวงเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ให้
เกษตรกรแบ่งพื้นที่ทากินออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้

พื้นที่ ร้อยละ
ที่อยู่อาศัยและ เลี้ยงสัตว์ 10
ทานา 30
ทาสวน 30
แหล่งน้า 30
รวม 100

จงนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปวงกลมแสดงพื้นที่ต่างๆ
แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 5
วิธีทา

ร้อยละของพื้นที่ส่วนย่อยใน ขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลาง
พื้นที่
รูปวงกลม ของรูปวงกลม (องศา)
ที่อยู่อาศัยและ เลี้ยงสัตว์ 10 10  3.6  36
ทานา 30 30  3.6  108
ทาสวน 30 30  3.6  108
แหล่งน้า 30 30  3.6  108
รวม 100 360

จากผลการคานวณขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลาง และค่าร้อยละของพื้นที่ส่วนย่อยในรูปวงกลมสามารถนาเสนอ
ข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม ได้ดังนี้

แผนภูมิรูปวงกลมแสดงพื้นที่ใช้สอยตามเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 6


5. ครูให้นักเรียนบันทึกเนื้อหาสาระสาคัญลงในสมุด และให้นักเรียนร่วมกันสรุปการเขียนแผนภูมิรูปวงกลม
แผนภูมิวงกลมเป็นการนาเสนอข้อมูลโดยแทนปริมาณในข้อมูลทั้งหมดด้วยพื้นที่วงกลมในวงกลมหนึ่งวง
และแบ่งพื้นที่ในวงกลมจากจุดศูนย์กลางออกเป็นส่วนของวงกลมย่อยๆ ตามส่วนของปริมาณที่นาเสนอ
แล้วเขียนตัวเลขแสดงข้อมูลกากับไว้

6. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยและครูให้นักเรียนทาใบกิจกรรม เรื่อง การเขียนแผนภูมิรูปวงกลม


8. การประเมิน

การวัดผลและประเมินผล
ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวัง วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
เขียนแผนภูมิรูปวงกลมได้ การตรวจใบกิจกรรม แบบตรวจใบกิจกรรม นักเรียนทุกคนมีผล
การประเมินอยูใ่ น
ระดับ 3 ขึ้นไป
ในการให้เหตุผล การตรวจใบกิจกรรม แบบตรวจใบกิจกรรม นักเรียนทุกคนมีผล
การประเมินอยูใ่ น
ระดับ 3 ขึ้นไป
มีระเบียบวินัย การตรวจแบบฝึกหัด แบบตรวจแบบฝึกหัด นักเรียนทุกคนมีผล
การประเมินอยูใ่ น
ระดับ 3 ขึ้นไป

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 7


เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน 4 3 2 1
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ควรปรับปรุง)
เขียนแผนภูมิรูป นาเสนอข้อมูล นาเสนอข้อมูล นาเสนอข้อมูล นาเสนอข้อมูล
วงกลมได้ ถูกต้องสอดคล้องกับ ถูกต้องสอดคล้องกับ ถูกต้องสอดคล้องกับ ถูกต้องสอดคล้องกับ
สิ่งที่ต้องการศึกษาไม่ สิ่งที่ต้องการศึกษา สิ่งที่ต้องการศึกษา สิ่งที่ต้องการศึกษาต่า
ต่ากว่าร้อยละ 80 ใน ร้อยละ 70 - 79 ใน ร้อยละ 60 - 69 ใน กว่าร้อยละ 60 ใน
รูปแบบทีเ่ หมาะสม รูปแบบทีเ่ หมาะสม รูปแบบทีเ่ หมาะสม รูปแบบที่ไม่
กับข้อมูลชัดเจน กับข้อมูลชัดเจน กับข้อมูลมีความ เหมาะสมกับข้อมูล
น่าสนใจ ค่อนข้าง ชัดเจนค่อนข้างน้อย ไม่ชัดเจน และไม่
และไม่ค่อยน่าสนใจ ค่อยน่าสนใจ
ในการให้เหตุผล มีการอ้างอิง เสนอ มีการอ้างอิงถูกต้อง เสนอแนวคิดไม่ มีความพยายามเสนอ
แนวคิดประกอบการ บางส่วนและเสนอ สมเหตุสมผลในการ แนวคิดประกอบการ
ตัดสินใจอย่าง แนวคิดประกอบการ ประกอบ ตัดสินใจ
สมเหตุสมผล ตัดสินใจ การตัตสินใจ
มีระเบียบวินัย มีการอ้างอิง เสนอ มีการอ้างอิงที่ถูกต้อง เสนอแนวคิดไม่ สมุดงาน ชิ้นงานไม่
แนวคิดประกอบการ บางส่วนและเสนอ สมเหตุสมผลในการ ค่อยเรียบร้อย ปฏิบัติ
ตัดสินใจอย่าง แนวคิดประกอบการ ประกอบการ อยู่ในข้อตกลงที่
สมเหตุสมผล ตัดสินใจ ตัดสินใจ กาหนดให้ร่วมกัน
เป็นบางครัง้ ต้อง
อาศัยการแนะนาอยู่
บ่อยครั้ง

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 8


แบบประเมินการปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล
เรื่อง การเขียนแผนภูมิรูปวงกลม

มีความตั้งใจ
มีความ ความสะอาด ผลสาเร็จ
ในการ รวม
ลาดับ ชื่อ – สกุล รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา เรียบร้อย ของงาน
ทางาน 20
ที่
คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ = ดีมาก ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = ดี ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง = พอใช้ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง = ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ต่ากว่า 10 ปรับปรุง
ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน
/ /
....................... ........................... ........................

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 9


8. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
2) ใบงานที่ 1 เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิรูปวงกลม
3) ใบกิจกรรม เรื่อง ความพอเพียงที่เพียงพอ
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุดโรงเรียน
2) เวบไซด์ต่างๆที่เกียวข้องกับเรื่อง แผนภูมิวงกลม
3) เวบไซด์เกี่ยวกับเศรฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างเวบไซด์ porntawee520.blogspot.com/2013/09/blog-post_120.html
https://sites.google.com/a/web1.dara.ac.../--thvsdibth-pi-tha-ko-ras ฯลฯ
9. สรุปผลการจัดการเรียนรู้
ด้านความรู้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
ด้านทักษะ
.............................................................................................................................................................................
ด้านคุณลักษณะ
.............................................................................................................................................................................
ปัญหาอุปสรรค
................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................ผู้สอน
(…………………………………………….)
วันที่..............................................................
10. การนิเทศ/กากับ/ติดตาม
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................ผู้นิเทศ
(…………………………………………….)
วันที่..............................................................

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 10


ชื่อ........................................................................................................ม.2/.....................เลขที่...................
ใบกิจกรรม
เรื่อง การเขียนแผนภูมิรูปวงกลม
ผลการเรียนรู้ นาเสนอด้วยแผนภูมิรูปวงกลมได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนหาค่าร้อยละและขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลางของโครงสร้างรายได้ของบริษัทผู้ผลิต
เครื่องใช้ไฟฟ้าลงในตารางให้สมบูรณ์

1. สุดามีรายได้เดือนละ 20,000 แบ่งรายจ่ายเป็นส่วนต่างๆดังนี้


ค่าผ่อนรถ 10 % ค่าเสื้อผ้า 15 %
ค่าอาหาร 40 % ค่าเช่าบ้าน 12 %
ฝากธนาคารออมทรัพย์ 9 % ส่วนที่เหลือเอาไว้ใช้จ่ายทั่วไป
นักเรียนจงหาค่าใช้จ่ายแต่ละประเภทว่าเข้าใช้จ่ายกี่บาท เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใดและจงเขียนแผนภูมิรูวงกลม
แสดงลักษณะโครงสร้างรายได้ดังนี้

รายการ จานวนเงิน ร้อยละ ขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลาง


ค่าผ่อนรถ
ค่าเสื้อผ้า
ค่าอาหาร
ค่าเช่าบ้าน
ฝากธนาคารออมทรัพย์
ส่วนที่เหลือเอาไว้ใช้จ่ายทั่วไป
รวม

ดังนั้นจึงได้แผนภูมิรูปวงกลมแสดงลักษณะโครงสร้างรายได้ของบริษัทผู้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าดังนี้

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 11


2. พื้นที่จังหวัดชัยนาท เป็นพื้นที่ราบลุ่มแม่น้าส่วนใหหญ่ทาการเกษตร ถ้านักเรียนมีพื้นที่ 3 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา
นักเรียนต้องการแบ่งเนื้อที่ตาหลักเศรษฐกิจพอเพียงนักเรียนจะต้องแบ่งพื้นที่ อย่างไรส่วนละกี่ตารางวา โดยใช้
หลักการบริหารจัดการที่ดินตามแนวพระราชดาริดังนี้

จงเติมตารางต่อไปนี้
รายการ จานวนเงิน ร้อยละ ขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลาง
พื้นที่ทานาข้าว
ขุดสระกักเก็บน้าไว้ใช้
ที่อยู่อาศัย
ค่าเช่าบ้าน
ปลูกพืชผักสวนครัวและเลี้ยงสัตว์
รวม

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 12


3. ถ้านักเรียนมีที่ดินดังรูปให้นักเรียนแบ่งเนื้อที่ พร้อมวามรูปประกอบแล้วลงสีให้สวยงาม(10 คะแนน)

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 13


ชื่อ...................................................................................ชั้น..2/.....................เลขที่...........
ใบกิจกรรม เรื่อง ความพอเพียงที่เพียงพอ
ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถนาความรู้เรื่องการเขียนแผนภูมิวงกลมมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้โดยใช้หลัก
เศรษฐกิจพอพียง
คาสั่ง ให้นักเรียนประมาณค่าใช้จ่ายของนักเรียนแต่ละเดือน พร้อมอธิบายการใช้จ่ายว่าเหมาะสมหรือไม่ และตั้ง
คาถามพร้อมตอบคาถามให้เรียนร้อยจานนวน 5 ข้อ
แต่งโจทย์ .............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
แสดงดังตารางได้ต่อไปนี้
รายการ จานวนเงิน ร้อยละ ขนาดของมุมที่จุดศูนย์กลาง

รวม

สามารถวาดแผนภูมิวงกลมดังต่อไปนี้

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 14


ตั้งคาถามจากสิ่งที่ได้จากตารางและแผนภูมิวงกลม
...............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
สิ่งที่ได้จากกิจกรรมนี้
...............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

แผนภูมิวงกลม โดย ครูปุญยนุช เอกศิริ หน้า 15

You might also like