You are on page 1of 8

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องเรื่อปริมาตรและพื้นที่ผิว

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม


รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 23101 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตสาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 เวลา 2 ชั่วโมง
………………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค 2.1 ม 3/1 หาพื้นที่ผิวของปริซึม และทรงกระบอก
ค 2.1 ม 3/2 หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม
ค 2.1 ม 3/3 เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตร ในระบบเดียวกัน หรือต่างระบบ และ
เลือกใช้หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม
ค 2.1 ม3/4 ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
ค 2.2 ม3/1 ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร ในการแก้ปัญหา ในสถานการณ์ต่าง ๆ
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.1 ม3/1 อธิบายลักษณะ และสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 ม 3/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหาได้
ค 6.1 ม.3/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหา
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
ค 6.1 ม.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค 6.1 ม.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
ค 6.1 ม.3/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ความสามารถและทักษะ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการประเมิน ทักษะการสรุปลงความเห็น
- ตัง้ คาถาม ออกแบบวีการหาคาตอบอย่างง่ายๆ หาแหล่งข้อมูล รวบรวม
คาตอบสรุปเขียนรายงานสั้น ๆ
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยประมวลผลข้อมูลอย่างมีจิตสานึกและความรับผิดชอบ
คุณลักษณะตามช่วงวัย อยู่อย่างพอเพียง ( ประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่เน้นวัตถุนิยม )
สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด / ความเข้าใจที่คงทน
รูปเรขาคณิตสามมิติ เป็นรูปเรขาคณิตที่มีความกว้าง ความยาว และความสูงหรือ ความหนา ซึ่งมี
ลักษณะแตกต่างกันไปในแต่ละชนิด ได้แก่ ปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม สามารถพบเห็นได้
จากสิ่งต่างๆ รอบตัวเราในชีวิตประจาวัน เช่น บรรจุภัณฑ์ต่างๆ ภาชนะ ลูกโลกจาลอง ลูกบอล เป็นต้น ความรู้
เรื่องรูปเรขาคณิตสามมิติเป็นพื้นฐานในการหาปริมาตรและพื้นที่ผิว

สาระการเรียนรู้
รูปเรขาคณิตสามมิติ
1. รูปเรขาคณิ ตสามมิติที่ มีฐานทั้งสองเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองอยู่บนระนาบที่
ขนานกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน เรียกว่า ปริซึม
การเรียกชื่อปริซึม เรียกตามลักษณะของฐาน เช่น ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเรียก ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส
เป็นต้น
2. รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานสองฐานเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการและอยู่บนระนาบที่ขนานกัน
และเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้วจะได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันทุกประการกับ
ฐานเสมอ เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นว่า ทรงกระบอก
3. รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดีย วกันกับฐาน และ
หน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น เรียกว่า พีระมิด
การเรียกชื่อพีระมิด เรียกตามลักษณะของฐาน เช่น ฐานเป็นรูปห้าเหลี่ยม เรียก พีระมิดฐานห้าเหลี่ยม
เป็นต้น
4. รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไม่อยู่ บนระนาบเดียวกันกับฐาน และเส้นที่
ต่อระหว่างจุดยอดและจุดใดๆ บนขอบของฐานเป็นส่วนของเส้นตรง เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นว่า กรวย
5. รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุดบนผิวโค้งอยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่งเป็นระยะเท่ากัน
เรียกว่า ทรงกลม จุดคงที่นั้น เรียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม ระยะที่เท่ากันนั้นเรียกว่า รัศมีของทรงกลม

สาระการเรียนรู้ที่บูรณาการ ( เฉพาะหน่วยการเรียนรู้ที่บูรณาการข้ามกลุ่มสาระวิชา )
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ( หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง )
หลักความพอประมาณ นักเรียนมีความพอประมาณในการเลือกซื้อสินค้า
หลักการมีเหตุผล นักเรียนมีเหตุผลในการพิจารณาเลือกซื้อสินค้า ดูราคาต้นทุน ราคาขาย มีความสมดุลกัน
หรือไม่ และจาเป็นในการที่จะใช้หรือบริโภคในชีวิตประจาวัน มากน้อยเพียงไร
หลักการมีภูมิคุ้มกัน นักเรียนรู้จักเลือกสินค้าที่มีคุณค่า มีปริมาณมาก แต่ราคาถูก
เงื่อนไขความรู้ นักเรียนมีความรู้ในการเลือกซื้อสินค้าที่จาเป็น มีคุณภาพ ราคาเหมาะสมกับปริมาณ และไม่
เลือกซื้อสินค้าตามโฆษณาชวนเชื่อ และต้องไม่เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย
เงื่อนไขคุณธรรม นักเรียนมีความประหยัด อดทนในการบังคับใจตนเองไม่ให้ฟุ่มเฟือย มีวินัยในตนเอง ใน
การเลือกซื้อสินค้า

สิ่งที่เกิดกับผู้เรียนด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้าน พอเพียงสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
วัด วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้ - มีความรู้ในการ - รู้จักหาความรู้เรื่อง - มีความรู้ที่มาของ - มีความรู้ในการนา
( Knowledge) ออกแบบรูปทรง การออกแบบรูปทรง รูปทรงเรขาคณิตจาก วัสดุท้องถิ่นมา
เรขาคณิต จากผู้อื่นทางาน วัสดุท้องถิ่น ประยุกต์ใช้
ร่วมกับผู้อื่นได้
ทักษะ - มีทักษะการคิดในการ - เรียนรู้กระบวนการ - มีทักษะในการ - มีมารยาทในการ
( Process ) ออกแบบรูปทรง ในการออกแบบและ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เลือกวัสดุเพื่อนามา
ประดิษฐ์กระปุกออม จากการเลือกใช้วัสดุ ประดิษฐ์กระปุกออม
สิน สิน
ค่านิยม - ตระหนักและเห็น - ยอมรับฟังความ - เห็นคุณค่าของการ - มีความภูมิใจในการ
( Attitude ) คุณค่าของการคิดเพื่อ คิดเห็นของผู้อื่น คิด และเลือกวัสดุ คิดและเลือกวัสดุที่
เลือกวัสดุมาประดิษฐ์ นามาประดิษฐ์
กระปุกออมสิน

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
( / ) 1. ความสามารถในการสื่อสาร ( / ) 2. ความสามารถในการคิด
( / ) 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ( / ) 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
( / ) 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะที่พึงประสงค์
( / ) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ (/) 2. ซื่อสัตย์ สุจริต
( / ) 3. มีวินัย (/) 4. ใฝ่เรียนรู้
( / ) 5. อยู่อย่างพอเพียง (/) 6. มุ่งมั่นในการทางาน
( / ) 7. รักความเป็นไทย (/) 8. มีจิตสาธารณะ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1

1. นักเรียนยกตัวอย่างรูปเรขาคณิตสามมิติที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ร่วมกันอภิปรายกับลักษณะของ
รูปเรขาคณิตสามมิติ
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสามมิติ แล้วร่วมกันสรุปสมบัติของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ของปริซึม ทรงกระบอก และพีระมิด
3. สุ่มตัวแทนนักเรียนออกมาสรุปสมบัติของรูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ทรงกระบอก และพีระมิด
หน้าชั้นเรียน
4. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ทรงกระบอก และพีระมิด
หน้าชั้นเรียน
5. นักเรียนทาแบบฝึกหัดเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ทรงกระบอก และพีระมิด
ชั่วโมงที่ 2

1. ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างผลงานที่ทาจากรูปเรขาคณิตสามมิติ จาก power point


2. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสามมิติ แล้วร่วมกันสรุปสมบัติของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ของกรวย และทรงกลม
3. สุ่มตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสามมิติของกรวย และทรงกลม
หน้าชั้นเรียน
4. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสามมิติของกรวย และทรงกลม
5. นักเรียนทาแบบฝึกหัดเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสามมิติของกรวย และทรงกลม
6. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสามมิติเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของเราอย่างไร และ
นามาใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง
7. นักเรียนทากระปุกออมสินเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ โดยใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและสวยงามคนละ 1 ชิ้น
8. นักเรียนส่งกระปุกออมสินเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ คนละ 1 ชิ้น
สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
สื่อการเรียน
1. เอกสารแนะแนวทาง
2 สิ่งของในชีวิตประจาวันที่มีลักษณะเป็น รูปเรขาคณิตสามมิติ
3. รูปเรขาคณิตสามมิติ
4. หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
5. เว็บไซด์เกี่ยวกับเรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติ เศรษฐกิจพอเพียง สวนพฤกษศาสตร์ ประชาธิปไตย
แหล่งเรียนรู้
1. ศูนย์ค้นคว้าคณิตศาสตร์โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
2. ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
3. ห้องสมุดโรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
4. ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชัยนาท
5. เครื่องค่ายอินเตอร์เน็ต
เกณฑ์การประเมิน
1. เกณฑ์การให้คะแนนเรื่อง กระปุกออมสินเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ
ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน
4 ดีมาก 3 ดี 2 พอใช้ 1 ปรับปรุง 0 ไม่ผ่าน
1. กระปุกออมสินเป็นรูป ผลงานมีการใช้ ผลงานมีการใช้ ผลงานมีการใช้ ผลงานมีการใช้ ไม่ส่งผลงาน
เรขาคณิตสามมิตใิ ช้วัสดุ/ รูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิต
อุปกรณ์ประหยัด คุ้มค่า
สามมิติ สามมิติ สามมิติ สามมิติ
เหมาะสม สวยงาม
ประหยัด ประหยัด ประหยัด ไม่ประหยัด
คุ้มค่า คุ้มค่า คุ้มค่า
ไม่คุ้มค่า
เหมาะสม เหมาะสม ไม่เหมาะสม
สวยงาม ไม่เหมาะสม

2. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ แปลกใหม่ แปลกใหม่ แปลกใหม่ คล้ายคลึงกับ ไม่มีความ


และนาไป และนาไป ผู้อื่น คิดสร้างสรรค์
ประยุกต์ใช้ได้ ประยุกต์ใช้
เหมาะสม ได้น้อย
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 5 - 6 หมายถึง ดี
คะแนน 3 - 4 หมายถึง พอใช้
คะแนน 1 - 2 หมายถึง ปรับปรุง
คะแนน 0 หมายถึง ไม่ผ่าน
เกณฑ์การผ่าน ตัง้ แต่ระดับดีขึ้นไป
ใบกิจกรรมที่ 1
คำสั่ง ให้นักเรียนออกแบบรูปทรงเรขำคณิตเพื่อนำมำประดิษฐ์กระปุกออมสิน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประกอบแผนกำรเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฝึกหัดคณิตศำสตร์
คำสั่ง ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่ำงให้ถูกต้อง

………………..
… ………………………..

……………… ……………………………

ทรงปริซึม………………………… ทรงปริซึม…………………………..

…………………………

………………….

ทรงปริซึม………………………….

……………………. ………………………

…………… …………………

ทรงปริซึม………………………….. ทรงปริซึม………………………
ใบกิจกรรมที่ 1
คำสั่ง ให้นักเรียนออกแบบรูปทรงเรขำคณิตเพื่อนำมำประดิษฐ์กระปุกออมสิน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

You might also like