You are on page 1of 41

Antibiotics smart use!

แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ2

2
From a project to a national program

Phase 1: Intervention to change


A pilot phase in 10 community hospitals and 87
primary health centers in Saraburi province in
2007-2008 o test interventions on antibiotic-
prescribing behavior

Phase 2: To test scaling up


A model expansion phase in three provinces (i.e.,
large, medium and small provinces) and two hospital
networks (both public and private hospitals) during
2008-2009 to test scaling up feasibilities
Started in Aug 2007 First policy support was from the National Health Security
Diffusion update: Office that adopted ASU as a pay-for-performance criterion
Dec 2009 for community hospitals. (March 2009)

Phase 3: To promote program


A sustainability phase in 2009-2012 to integrate ASU into
national health agenda and create social norms on proper use of
antibiotics.
ประวัติของ
ASU ASU I: ทำอย่างไรจึง
เปลี่ยนพฤติกรรมได้
ASU I: สระบุรี
ก.ย. 2549 อย.ขอทุนจาก WHO ทำต้นแบบ
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ส.ค. 2550 เริ่มโครงการนำร่อง ASU ที่
สระบุรี
ส.ค. 2551 สรุปผลโครงการนำร่อง
ASU II: ทำอย่างไรจึง
ก.ค. 2552 สรุปผลความยั่งยืนโครงการ
นำร่อง
จะยั่งยืน
ASU II: อุบลราชธานี อยุธยา
สมุทรสงคราม รพ.กันตัง และกลุ่ม รพ.ศรี
วิชัย
ก.ย. 2551 อย. รับทุนจาก สวรส. เพื่อหารูป
แบบ การขยาย ASU สู่ความยั่งยืน มี
จังหวัด อุบลราชธานี อยุธยา
สมุทรสงคราม รพ.กันตัง (จ.ตรัง)
กลุ่ม รพ. ศรีวิชัย เข้าร่วม
โครงการ
ASU III: สถานพยาบาล/จังหวัด
ส.ค. 2552 สรุปผลโครงการ 3
อื่นๆ
- โรงพยาบาลลอง?
สานต่อโครงการ
Antibiotics Smart Use
ในจังหวัดสระบุรี

แลก “ยาปฏิชีวนะ” ด้วย โครงการ ASU สู่ชุมชน


“ยาสามัญประจำบ้าน” ในร้านขาย
ของชำ
โดย คุณเกศนีย์ คงสมบรูณ์
โดย นพ.สมชาติ สุจริตรังสี สถานีอนามัยหลังเขา อ.มวก5
รพ. ดอนพุด สระบุรี เหล็ก สระบุรี
หยุดเรียก“ยาปฏิชีวนะ”ว่า
“ยาแก้อักเสบ”
การอักเสบ

การอักเสบแบบติด การอักเสบแบบไม่ติด
เชื้อ เชื้อ
ติดเชื้อ
ติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น กล้ามเนื้ออักเสบ
ไวรัส ภูมิแพ้ โรค SLE
•  ยาสเตียรอยด์ (Steriods)
•  ยาแก้อักเสบที่ไม่ใช่ส
ยา
เตียรอยด์ (NSAIDs)
ปฏิชีวนะ
ไม่ใช้ยา
ปฏิชีวนะ
ยาปฏิชีวนะเป็น
“ยาอันตราย”
ความหมายที่ 1:
ยาปฏิชีวนะเป็นยาอันตราย
ตาม พรบ. ยา

8
ยาปฏิชีวนะเป็น
“ยาอันตราย”
•  ยาอันตราย(
คำเตือน(
1.ห้ามใช้ในผู้ป่วยแพ้ยานี้(
2.ยานี้อาจทำให้เกิดอาการแพ้และเป็นอันตรายถึงตาย
ได้(
3.หากเกิดอาการผื่นแดง ระคายเคืองหรือบวมให้หยุด
ยาและปรึกษาแพทย์(
ยาปฏิชีวนะเป็น
“ยาอันตราย”
อันตรายจากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ(
(
1.  แพ้ยา(
2.  อาการข้างเคียงจากการใช้ยา(
3.  เชื้อดื้อยา(
(
Antibiotic Associated Colitis (AAC)

11
ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล
อาการไม่พึง
ประสงค์

12
ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล
การใช้ยาปฏิชีวนะ
อย่างไม่เหมาะสม
เกิดขึ้นบ่อยมาก<
14
ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล
Inappropriate use of antibiotics in
teaching hospitals ที่มา: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล

91%
15
Hogerzeil HV. Promoting rational prescribing: An international perspective. Br J Clin Pharmac. 1995;39:1-6
การใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ =
การทำร้ายครอบครัวและคนรอบข้าง
u  เชื้อดื้อยาแบ่งตัว และถ่ายทอดจากคนหนึ่งสู่คน
อื่น ๆ ได้ ผ่านทางการไอ จาม การกิน และการสัมผัส
u  ผู้มีความเสี่ยงสูงจากการติดเชื้อดื้อยา
u  เด็ก
u  คนแก่
u  คนที่เป็นเบาหวาน
u  คนที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำหรือบกพร่อง

16
Mariana bridi: นางแบบชาว
บราซิล

17
ปรับปรุงจาก: Slide บรรยายโดย นพ.เชิดศักดิ์ มาศมหิ
เสียชีวิตในวัยเพียง 20 ปี...เพราะ
เชื้อดื้อยา
แพทย์ตัดมือและเท้าทั้งสอง
ข้าง ของนางแบบชาวบราซิล
(พยายามที่จะรักษาชีวิตเธอ
ไว้ แต่ไม่สำเร็จ)

18
Antibiotics smart use
•  โรคติดเชื้อเฉียบพลันทางเดินหายใจส่วนบน(
•  โรคท้องร่วงเฉียบพลัน(
•  บาดแผล(
โรคติดเชื้อทางเดิน
•  สาเหตุกหายใจส่วนบน
ารติดเชื้อ(
–  80% จากไวรัส(
–  20% จากแบคทีเรีย( ส่วนใหญ่จึงไม่ต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ7
•  กรณีที่ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ(
–  อาการดังนี้ ไม่มีไข้ ไม่เจ็บคอ มีน้ำมูกมาก จามบ่อย
เสียงแหบ ตาแดง มีผื่นตามตัว แผลในปาก ถ่าย
เหลวไอโดยตรวจไม่พบอาการโรคปอดอักเสบ (
–  ไข้สูง > 38๐c ร่วมกับอาการข้างต้น หมายถึง ติดเชื้อ
ไวรัส ไม่จำเป็นต้องให้ยาฆ่าเชื้อ (
(
(
ขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อ2
โรคติดเชื้อทางเดิน
หายใจส่วนบน
•  กรณีที่ควรใช้ยาปฏิชีวนะ: คอหอยและทอนซิลอักเสบ(
–  ไข้สูง เจ็บคอมาก มีจุดขาวที่ทอนซิล ต่อมน้ำเหลืองใต้
คอโต ลิ้นไก่บวมแดง มีจุดเลือดออกที่เพดานปาก(
–  ยาที่ควรใช้: penicillin V, amoxicillin, roxithromycin
10 วัน(
(
โรคติดเชื้อทางเดิน
หายใจส่วนบน
•  กรณีที่อาจให้ยาปฏิชีวนะ: หูชั้นกลางอักเสบ ไซนัสอักเสบ(
–  มีไข้ ปวดหู โดยเฉพาะหลังจากเป็นหวัด หมายถึงติด
เชื้อในหูชั้นกลาง(
–  การติดเชื้อในหูชั้นกลางมักดีขึ้นใน 72 ชั่วโมง เพราะ
ฉะนั้น ใน3วันแรกจึงไม่จำเป็นต้องให้ยา แต่หาก
พ้น3วันแล้วอาการไม่ดีขึ้นจึงทานยาฆ่าเชื้อ(
ขนาดและวิธีให้ยา
ฆ่าเชื้อ
•  Penicillin V2
–  ผู้ใหญ่ 500 มก. วันละ 2-3 ครั้ง(
–  เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครั้ง(
•  Amoxicillin2
–  ผู้ใหญ่ 500 มก. วันละ 3 ครั้ง(
–  เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 3 ครั้ง หากเป็นไซนัส
อักเสบให้ 80-90 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครั้ง(
ขนาดและวิธีให้ยา
ฆ่าเชื้อ
•  Erythromycin 2
–  เด็ก 5-8 มก./กก./วัน วันละ 2 ครั้ง(
2
QUIZ
ข้อควรรู้
•  การมีน้ำมูกหรือเสมหะข้น หรือสีเขียวเหลืองไม่ได้บ่งชี้ว่า
ต้องทานยาฆ่าเชื้อ (
•  อาการไข้สูงเพียงอย่างเดียวไม่ใช่ข้อบ่งชี้ว่าต้องทานยาฆ่า
เชื้อ เพราะอาจเป็นโรคอื่นได้ เช่น ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือด
ออก(
โรคท้องร่วง
เฉียบพลัน
•  โรคท้องร่วง หมายถึง การถ่ายอุจจาระเหลวจำนวนอย่าง
น้อย 3 ครั้งหรือถ่ายมีมูกปนเลือดหรือเป็นน้ำ อย่างน้อย
1 ครั้ง(
•  ผู้ป่วยที่มอี าเจียนเป็นอาการเด่นมักหมายถึงอาหารเป็น
พิษ ไม่ใช่ติดเชื้อจึงไม่ต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ(
โรคท้องร่วง
เฉียบพลัน
•  การให้ยาฆ่าเชื้อควรให้เฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการร่วมดังนี้(
–  ไข้สูง > 38๐c 2
–  อุจจาระเป็นมูกหรือมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือ ตรวจ
พบWBC RBCในอุจจาระ(
•  ยาฆ่าเชื้อที่ควรใช้คือ norfloxacin2
–  ผู้ใหญ่ 400 มก. วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน(
–  เด็กอาจให้ co-trimoxazole2
ข้อควรรู้
•  เป้าหมายสำคัญที่สุดในการรักษาไม่ใช่ยาฆ่าเชื้อ แต่
เป็นการให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทนที่สูญเสียไปกับ
อุจจาระ(
•  ยาบางตัวไม่แนะนำให้ใช้ในกรณีท้องร่วง ได้แก่ buscopan,
imodium, lomotil เป็นต้น(
•  การให้ activated charcoal หรือ ultracarbon สามารถให้ได้
ไม่เป็นพิษ ราคาถูกและช่วยลดความกังวลใจแก่ผู้ป่วย
โดยทาน 1-2 เม็ด วันละ 2-4 ครั้ง(
บาดแผล
•  แผลที่ยังไม่ติดเชื้อ คือ บาดแผลที่มาถึงรพ.ภายใน6ชั่วโมง(
•  แผลสะอาด หมายถึง(
–  บาดแผลเปิดที่มีขอบเรียบสามารถล้างทำความสะอาดง่าย(
–  ไม่มีเนื้อตาย(
–  บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ แต่ล้างออกได้ง่าย(
–  แผลที่ไม่ได้เปื้อนสิ่งแปลกปลอมที่ติดเชื้อสูง เช่น น้ำคลอง ดิน
มูลสัตว์ เป็นต้น(
(
บาดแผล
•  บาดแผลที่มีโอกาสติดเชื้อสูง(
–  บาดแผลที่ถูกวัตถุทิ่มเป็นรูยากแก่การทำความสะอาดได้ทั่วถึง(
–  บาดแผลที่มีเนื้อตายเป็นบริเวณกว้าง(
–  บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ ที่ล้างได้ไม่หมด(
–  บาดแผลที่สัมผัสเชื้อโรคมาก เช่น ดิน น้ำคลอง เหล็กมีสนิม มูลสัตว์
เป็นต้น(
–  บาดแผลจากการบดอัด(
–  แผลที่เท้า(
–  แผลขอบไม่เรียบ(
–  แผลผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันต่ำ หรือโอกาสติดเชื้อง่าย เช่น เบาหวาน เป็นต้น(
(
บาดแผล
ยาฆ่าเชื้อให้ในกรณีที่แผลมีโอกาสติดเชื้อสูงเท่านั้น และ
เป็นการให้เพื่อการป้องกันการติดเชื้อ ยาที่ควรใช้(
•  Dicloxacillin
–  ผู้ใหญ่ 250 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน(
–  เด็ก 25-50 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน(
•  Clindamycin
–  ผู้ใหญ่ 150-300 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน(
–  เด็ก 8-25 มก./กก./วัน วันละ 4 ครั้ง 2 วัน(
ข้อควรรู้
•  ในการชะล้างแผลที่สกปรกเป็นร่องลึกควรใช้ syringe
10-40 cc. ฉีดล้างบริเวณแผลให้ทั่วถึง แค่ scrub อย่างเดียว
ไม่ได้(
•  ไม่จำเป็นต้องใส่น้ำยาฆ่าเชื้อใดๆลงในบาดแผล เพราะไม่
ลดโอกาสติดเชื้อและ อาจทำลายเนื้อเยื่อในแผลให้แผล
หายช้าลง(
•  ทุกครั้งที่ผู้ป่วยมาทำแผลต้องสังเกตแผลเสมอว่ามีการ
อักเสบหรือไม่(
(
ข้อควรรู้
•  การตัดไหม(
–  กรณีแผลที่หน้า ตัดไหม 5 วัน(
–  แผลทีข่ ้อพับ ตัดไหม 10-14 วัน(
–  แผลอื่นๆ ตัดไหม 7 วัน(
บุคลากรทางการแพทย์.

คนไข้ และประชาชนทั่วไป.
The end

You might also like