You are on page 1of 5

รหัสบทความ:ART4-03 1

อรรถาธิบายและวิเคราะหผลงานการเรียเรียงเสียงประสานเพลงกาเตนกอน
Explanation and Analysis of Arranging :Fon ka-then-gon
นาย ศิลปะศาสตร วิเศษดอนหวาย*
นายธรรมชาติ ถามะพันธ**
นายอํานาจ ถามะพันธ***

บทคัดยอ emphasizing to used diatonic chords and modal


เพลง กาเตนกอน สําหรับวงดุริยางค ผูเขียนได scale. .In addition, Kha – Then – Khon used E-
นําเพลง กาเตนกอน มาเรียบเรียงเสียงประสานใหม โดยมี San folk musical instruments such as
วัตถุประสงค เพื่อการจัดการแสดงคอนเสิรตดนตรีวิชาการ
โครงการดุริยางคศิลป ครั้งที่ 6 (ปาจะริยะคอนเสิรต) โดย Khene,Vodh and Pong Lang that’s playing the
ใชวงดุริยางคในการบรรเลงมีรายละเอียดดังนี้ melodies to each sections.
ใชรูปแบบสังคีตลักษณ ไดแก ทอนนํา – A – B คําสําคัญ : เรียบเรียงเสียงประสาน, โหมด, เครื่อง
– C – D – ทอนจบ มีการซ้ําทํานองบางสวนของทอน ดนตรีพื้นบานอีสาน
A ซึ่งปรากฎในชวงแรกของทอน B และ ทอน C มีการใช Keyword(s) : Arranging, Mode, E-San folk
เสียงประสานที่เนนคอรดไดอาโทนิค และระบบบันไดเสียง musical instruments
เสียงโมด มีการใชเครื่องดนตรีพื้นบานอีสานไดแก แคน
โหวดและโปงลางบรรเลงทํานองหลัก ในแตละทอน บทนํา
คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เปน
ABSTRACT หนวยงานตามโครงสรางภายในของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
Kha – Then – Khon” for the orchestra is รอยเอ็ด กอตั้งเมื่อป พ.ศ. 2549 จัดการเรียนการสอน
the Arrangement of Kha – Then – Khon ตามหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ. 5 ป) ในปการศึกษา
to new version. With the purpose of concerts to 2550 เปดการเรียนการสอนหลักสูตรดนตรีศึกษาขึ้น และ
musical project academic no.6 (Pha Cha Ri Ya สาขาดนตรีศึกษาชั้นปที่ 4 ไดมีการจัดโครงการดุริยางค
Concert) The details are as follows: ศิลปขึ้นเปนครั้งที่ 6 ตามรายวิชา การจัดการแสดงผลงาน
Kha – Then – Khon for the new ทางดนตรี (MUS4114) ปการศึกษา 2/2559 ในชือ่
arranging has designed for the musical form such โครงการ “ปาจะริยะ”
as introduction – A – B – C – D – finally.There ปาจะริยะ โครงการดุริยางคศิลปไดจัดขึ้นเปนครั้งที่
6 เปนการจัดการแสดงคอนเสิรตดนตรีทางวิชาการ โดยมี
are some of melodies of the A section which
เรื่องราวเกี่ยวกับครู 3 ทาน คือ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร
appears in the first half of the B section. For the ศิลปะบรรเลง) พระเจนดุริยางค (ปติ วาทยะกร) และครู
harmony of C section เปลือ้ ง ฉายรัศมี และไดนําผลงานของครูทั้ง 3 ทาน มา
บรรเลงในคอนเสิรตครั้งนี้ โดยในชวงนําเสนอผลงานของ
หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปะบรรเลง) ไดนําเพลง
*นักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ชั้นปที่ 5
** อาจารยประจําสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด
***อาจารยประจําสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด
2

แขกบรเทศ 2 ชั้น และไดเรียบเรียงเสียงประสานใหม ไดนําเทคนิค การดัดแปลงเสียงประสาน ( Modal


เพื่อใหวงดุริยางคบรรเลงรวมดวยเพลง กาเตนกอน Reharmonization ) มาเรียบเรียงในจาหองที่ 1- 8 ไดแก
ประพันธขึ้นโดย ครูเปลือ้ ง ฉายรัศมี โดยเลาเรื่องราวของ คอรด AMinor ,Eb Major, AMinor ,Eb
ในทุงนาสมัยกอน Major,BbMajor,CMajor,DMajor บรรเลงโดยเครื่องลม
ไม ไดแก แซกโซโฟนทั้งกลุม ในตัวอยางที่ 1.3 ซึ่งคอรด
วัตถุประสงคของการประพันธ/เรียบเรียงเสียงประสาน ชุดนี้โดยสวนมากเปนคอรดที่ไมไดอยูใ นบันไดเสียง A ไม
1.เพื่อใชบรรเลงในการจัดการแสดงคอนเสิรต เนอร ซึ่งผูเรียบเรียงเสียงประสานเห็นควรในความเหมาะ
ดนตรีทางวิชาการ “ปาจะริยะ” ของนักศึกษาสาขาวิชา สมจึงนํามาเพื่อสนับสนุนทํานองหลัก
ดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด รุนที่ 6

ขอบเขตของการเรียบเรียงเสียงประสาน
1. เรียบเรียงเสียงประสานเพลงกาเตนกอนนั้น
ใชเครื่องดนตรีพื้นบานอีสาน ไดแก โปงลาง โหวด และ
แคน บรรเลงรวมกับวงดุริยางค

ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรบั
1.เปนแนวทางและตัวอยางในการทําการเรียบเรียงเสียง ตัวอยางที่ 1.3 เสียงประสานที่บรรเลงโดยกลุม แซก
ประสานครั้งตอไป โซโฟน
2.เพื่อเผยแพรบทเพลงการเตนกอนที่เรียบเรียงเสียง สําหรับทํานองรอง ผูเรียบเรียงเสียงประสานได
ประสานดวยวงดุริยางคผสมผสานกับดนตรีพื้นบานอีสาน จัดใหเครื่องลมทองเหลืองประเภทเครื่องต่ํา ไดแก
ในรูปแบบวิชาการ ทรอมโบน ( ตัวอยางที่ 1.4 )ไดบรรเลงเปนลักษณะทํานอง
รองเพื่อสนับสนุนทํานองหลัก
อรรถาธิบายบทเพลง
สังคีตลักษณ free Form A B C D
ทอนนํา (Intro) มี 8 หอง จากหองที่ 1- 8 ทํานองหลัก
ของทอนนีผ้ ูเรียบเรียงเสียงประสานไดสรางขึ้นมาใหมเพื่อ
เปนการ เกริ่นทํานองเพลงในทอนนํา โดยผูเรียบเรียงเสียง
ประสานไดใชบันไดเสียง A ไมเนอร ผสมกับโหมด A ลอ
เครียน โดยจัดใหกลุมเครื่องลมทองเหลือง เชน ทรัมเปต ตัวอยางที่ 1.4 ทรอมโบนไดบรรเลงเปนลักษณะทํานอง
บรรเลงเปนทํานองหลักหองที่ 1-8 (ตัวอยางที1่ .1) รวมกับ รองเพื่อสนับสนุนทํานองหลัก
กลุมเครื่องลมไมดวยเชน ฟลุท หองที่ 1-8 (ตัวอยางที่ 1.2 ทอนกอนถึงทอน A จะใชหอ งเพลงแบบอิสระ( Free
) bar) โดยผูบรรเลงจะรอสัญญาณจากผูอ ํานวยเพลง
ทอน A มี 87 หอง จากหองที่ 17-104 ทํานองหลักคือ
เพลง กาเตนกอน โดยใหโปงลางบรรเลงทํานองหลักของ
กาเตนกอน ใหกลุมเครื่องเปาและเครื่องสายบรรเลงคลอ
เปนเสียงประสาน สนับสนุนเพื่อใหทํานองโดดเดน
สําหรับการดําเนินคอรดของทอน A ผูเรียบเรียงเสียง
ตัวอยางที1่ .1 ทรัมเปต บรรเลงเปนทํานองหลัก ประสานตองการใชคอรดทีไ่ มซับซอนโดยใชคอรด โทนิก
(Tonic) และ ซับมิเดียน ( Submediant) วนซ้ําเพื่อ
ตัวอยางที่ 1.2 ฟลุท บรรเลงทํานองหลักรวม รองรับแนวทํานอง จากหองที่ 17-56 (ตัวอยางที่ 2.1 )
สําหรับเสียงประสานในทอนนี้ ผูเรียบเรียงเสียง ใหโดดเดนหลังจากนั้นในชวงทายของทอนเพลง ผูเรียบ
ประสานตองการใหมีเสียงประสานที่มีสีสันแปลกใหม จึง เรียงเสียงประสานจึงใชคอรดนอกกุญแจเสียงเพื่อสราง
3

ความนาสนใจใหกับเสียงประสาน โดยผูเรียบเรียงเสียง
ประสานไดใชแนวคิดเกี่ยวกับ โหมด A ฟรีเจียน จากหอง ตัวอยางที่ 2.4 ทํานองรองที่สอดประสานกัน ทํานองเพลง
ที่ 57-59 เปนตน สาวคอยอาย บรรเลงโดย กลุมทรอมโบน
(ตัวอยางที่ 2.2 ) สําหรับแนวทํานองรอง เพื่อสรางสีสัน ทอน B มี 12 หอง จากหองที่ 105-117ทํานองหลัก
ของการเปนพื้นบาน ผูเรียบเรียงเสียงประสานไดนํา ของทอนนี้คอื เปนโมทีฟแรกของเพลง กาเตนกอน
ทํานองเพลง โปงลางเครื่องลมไม ไดแก ฟลุท และคาริเน็ต (ตัวอยางที่ 3.1 ) และผูเรียบเรียงไดเอาโมทีฟนี้มาเรียบ
จากหองที่ 17-24 เปนตน และ ทํานองเพลง สาวคอยอาย เรียงใหทิมปะนีไดคลอเสียงบรรเลงเปนทํานองหลัก
มาสอดบรรเลงโดย เครื่องลมทองเหลืองประเภทเครื่องต่ํา และไดนําเทคนิคการเลียนแบบแนวทํานอง ( Imitition )
ไดแก กลุม ทรอมโบน จากหองที่ 17-24 เปนตน มาใชเพื่อสรางความนาสนใจใหกับทอนเพลง (ตัวอยางที่
ประสานกันเพื่อสรางเปนทํานองรองซึ่งทําใหเกิดเปนเสียง 3.2 )
ประสานจากสองทํานองที่สอดประสานกัน ( ตัวอยางที่
2.3 ) ใชคอรด โทนิก และ ซับมิ วนซ้ําเพื่อรองรับแนว
ทํานอง จากหองที่ 17-56 ตัวอยางที่ 3.1 โมทีฟแรกของเพลง กาเตนกอน

ตัวอยางที่ 2.1 การใช โทนิก (Tonic) และ ซับมิเดียน (


Submediant ) ซ้ําๆเพื่อรองรับแนวทํานอง จากหองที่
17-56

ตัวอยางที่ 2.2 เสียงประสานในลักษณะของโหมด A ฟรี ตัวอยางที่ 3.2 เทคนิคการเลียนแบบแนวทํานอง


เจียน จากหองที่ 57-59 เปนตน สําหรับการดําเนินคอรดของทอน B ผูเรียบเรียง
เสียงประสานตองการใชคอรดโทนิก (Tonic) บรรเลงโย
เครื่องลมไม ไดแก กลุม แซกโซโฟน เพื่อย้ําโทนัลลิตี้ (
Tonality ) ของเพลง (ตัวอยางที่ 3.3) จากนั้นเพิ่มความ
นาสนใจโดยสอดทํานองรอง ดวยโหมดฟรีเจียน ซึ่งผูเรียบ
เรียงใหความสําคัญกับโนตที่เปนเอกลักษณของโหมด A
ฟรีเจียน นั้นคือโนต Bb ทําใหเกิดแนวประสานที่มีความ
ซับซอนและนาสนใจและผูเรียบเรียงไดนํากลุม โนต
ดังกลาวมาใหกลุมเครื่องทรัมเปท และ เครื่องลม
ตัวอยางที่ 2.3 ทํานองรองที่สอดประสานกัน ทํานองเพลง ทองเหลืองประเภทเครื่องต่ําเชน ยูโฟเนียม (ตัวอยางที่
โปงลาง บรรเลงโดย ฟลุท คาริเน็ต 3.4) นอกจากนีผ้ ูเรียบเรียงเสียงประสานยังไดเพิ่มความ
เราใจโดยการใชเครื่องดนตรีกลุมเครื่องกระทบ โดยใช ทิม
ปานี บรรเลงกระสวนจังหวะดวยโนตตัวดําและเขบ็ตสอง
ชั้นตอเนื่องกัน (ตัวอยางที่ 3.5)
4

เรียงไดสรางทํานองขึ้นมาใหม เพือ่ ใหสสี ันของบทเพลงไม


จําเจอยูกับทํานองเดิมๆ โดยใหเครื่องเปาลมไม เชน ฟลุต
และ คาริเน็ต บรรเลงเปนแนวทํานอง ( ตัวอยางที่ 5.1 )

ตัวอยางที่ 3.3 การย้ําโทนัลลิตี้ ( Tonality ) ของเพลง


บรรเลงโดย กลุม แซกโซโฟน

ตัวอยางที่ 5.1 คาริเน็ตและฟลุตบรรเลงเปนทํานองหลัก

การดําเนินคอรดในทอนนี้ ผูเรียบเรียงเสียง
ประสานตองการใหมีความซับซอน โดยไดนําคอรดนอก
บันไดเสียงมาใชในการดําเนินคอรด ไดแกคอรด Bb
Major ซึ่งมาจากบันไดเสียง A ฟรีเจียน และคอรด D
ตัวอยางที่ 3.4 ทํานองรองที่มีโนตเอกลักษณของโหมด A Major และ E Major ซึ่งมาจากโหมด A ไอโอเนียนไดสง
ฟรีเจียน (Bb) บรรเลงโดย ทรัมเปด และ ยูโฟเนียม เขาคอรด A Minor ในขณะเดียวกันนั้นคอรด E Major
ทอน C มี 37 หอง จากหองที่ 118-155 ทํานอง ไดเปนคอรด V ของคอรด Am ซึ่งเปนการแสดงสงจบของ
หลักในทอนนี้ ผูเรียบเรียงไดนําทํานองหลักของทอน B มา ทอนเพลง โดยไดใหเครื่องลมทองเหลืองประเภทเครื่องต่ํา
แปรทํานอง ( variation ) โดยใหเครื่องดนตรีพื้นบาน และเครื่องสายบรรเลงเปนกลุมคอรด
ไดแก โปงลาง โหวด พิน แคน และเครื่องดนตรีสากล สวนหองที่ 170-193 ผูเรียบเรียงไดสรางทํานอง
เชน เปยโน ไดบรรเลงเปนทํานองหลัก (ตัวอยางที่ 4.1) ขึ้นมาใหม โดยใชเครื่องลมทองเหลืองสลับกับเครื่องลมไม
บรรเลง ( ตัวอยางที่ 5.2 )

ตัวอยางที่ 4.1 โปงลาง โหวด พิน แคน และเครื่องดนตรี


สากล เชน เปยโน ไดบรรเลงเปนทํานองหลัก
สําหรับการดําเนินคอรดในทอนนี้ ผูเรียบเรียงได
ใชคอรดทีไ่ มซับซอนมากนัก ไดแกคอรดที่อยูในบันไดเสียง
A ไมเนอร เพราะทํานองหลักของบทเพลงเปนทํานอง
เพลงพืน้ บานอีสาน โดยผูเรียบเรียงไดใหกลุมเครื่องสาย
สากล บรรเลงเปนกลุมคอรด และเครื่องลมทองเหลือง ตัวอยางที่ 5.2 ทํานองที่สรางขึ้นมาใหม บรรเลงโดย กลุม
ประเภทเครื่องต่ําไดแก ทรอมโบน บรรเลงเปนกลุมคอรด ทรอมโบน
เชนกัน สําหรับการดําเนินคอรดในทอนนี้ ผูเรียบเรียง
สําหรับทํานองรองในทอนนี้ ผูเรียบเรียงไดให เสียงประสานตองการใชคอรดที่ไมซับซอนโดยใชคอรดที่
กลุมเครื่องลมไมบรรเลงสลับกับเครื่องลมทองเหลือง อยูใ นไดอาโทนิกคอรด
ประเภทเครื่องสูง เพื่อเปลี่ยนสีสนั ของบทเพลง และสอง ทอนจบเพลง (Finally) มี 12 หอง จากหองที่
หองสุดทายของทอนเพลงผูเรียบเรียงไดเปลี่ยนคอรดจาก 194-205 ทํานองหลักในทอนนี้ผูเรียบเรียงเสียงประสาน
คอรด E Minor เปน D Major เพื่อสงเขาทอนตอไป ไดใชบันไดเสียง A ฟรีเจียน ผสมกับโหมด A ไอโอเนียน
ทอน D มี 37 หอง จากหองที่ 156-193 ทํานอง โดยผูเรียบเรียงเสียงประสานไดใหเครื่องลมทองเหลืองเชน
หลักในชวงแรกของทอนนีไ้ ดแกหอ งที1่ 56-169 ผูเรียบ
5

ทรัมเปต ไดบรรเลงรวมกับเครื่องลมไมเชน ฟลุท และ คาริ


เน็ต บรรเลงเปน
สําหรับเสียงประสานใหทอนนี้ ผูเรียบเรียงเสียง
ประสานตอ งการใหมีความซับซอนในเสียงประสานจึงได
นําเทคนิค ชุดคอรดแพทเทริน ไดแกคอรด Bb Major , D
Major, F Major, G Major, A Major โด ย นํ า ค อ ร ด
เมเจอร มาเรียบเรีย งตอ กันเพื่อ เพิ่มมื่อถึงอารมณเพลงที่
สว า งสดใสในท อ นจบเพลง โดยมี ค อร ด Bb Major ซึ่ ง
คอรดดั่งกลาวเปนคอรดที่อยูในโหมด A ฟรีเจียน และเปน
โนตเอกลักษณของโหมด A ฟรีเจียน และคอรด D Major
ซึ่งอยูในโหมด A ไอโอเนียน และคอรดตอมาเปนคอรด F
Major และคอร ด G Major ซึ้ งเป น คอร ด ที่ อ ยู ใ นบั น ได
เสียง A ไมเนอรอยูแลว และคอรดสุดทายของบทเพลง ผู
เรียบเรียงเสียงประสานตอ งการใหเสียงประสานมีความ
ตอ เนื่อ งจึงไดเปลี่ยนคอรดจบ ซึ่งปกติแลวคอรดจบของ
บันไดเสียง A ไมเนอรนั้น จะตอ งเปน คอรด AMinor ซึ่ง
จุ ด ประสงค ข องผู เรี ย บเรีย งเสี ย งประสานต อ งการให มี
ความซับซอนจึงไดนําเทคนิคดัดแปลงคูสามของคอรดโท
นิก(Picardy Third) คือคอรด A Major มาเรียบเรียงเปน
คอรดจบเพลง เพื่อ ใหบทเพลงและเสียงประสานมีความ
นาสนใจมากขึ้น

รายการอางอิง
ณัชฌา โสคติยานุรักษ.(2547).พจนานุกรมศัพทดุริ
ยางคศิลป.(พิมพครั้งที่2).กรุงเทพฯ:
สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

You might also like