You are on page 1of 46

รายงานผลการวิจัย

เรื่อง

เทคนิคการตีฆ้องวงใหญ่ กรณีศึกษา อาจารย์ สุเชาว์ หริมพานิช

โดย

นางสาวมนชนก ใจตรง

รายงานวิจยั ฉบับนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศิลปศาสตร์ บัณฑิต

สาขาวิชาดนตรีไทย ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พุทธศักราช 2556
กิตติกรรมประกาศ
งานวิจยั เรื่ อง เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ กรณี ศึกษา อาจารย์สุเชาว์ หริ มพานิช เป็ นงานวิจยั ที่เสร็ จ
สมบูรณ์ สาเร็ จได้ดว้ ยดี โดยได้รับการช่วยเหลือจากบุคคลหลายท่าน และคาแนะนาที่ดียงิ่ ของ อาจารย์ ภาคม
บารุ งสุ ข ประธานกรรมการสอบวิจยั ที่ได้กรุ ณาตรวจสอบแก้ไข และให้คาแนะนาต่างๆ ให้ความรู ้ในเรื่ องการ
ทาวิจยั และคอยไขข้อข้องใจในการทาวิจยั ให้ผวู ้ ิจยั ดาเนินแนวทางการวิจยั ไปในแนวทางที่ถูกต้อง ผูว้ ิจยั ต้องขอ
กราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูง

ขอขอบพระคุณผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านฆ้องวงใหญ่ อาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช ที่ให้ความอนุเคราะห์ใน


การสัมภาษณ์ตลอดจนให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์ในการทาวิจยั เปิ ดโอกาสให้ผวู ้ ิจยั ได้ศึกษาในเรื่ องเทคนิคการตี
ฆ้องวงใหญ่

ขอขอบพระคุณ อาจารย์ในสาขาวิชาดนตรี ไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้ความอนุเคราะห์


เอกสารทางวิชาการ รายงานการวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการทาวิจยั ในครั้งนี้ ได้แก่

1.อาจารย์ พจี บารุ งสุ ข

2.อาจารย์ภานุภคั โมกขศักดิ์

3.อาจารย์ ทวีศกั ดิ์ ศรี ผอ่ ง

ขอขอบพระคุณเพื่อนๆพี่ๆ ในวงการดนตรี ไทย ทั้งในมหาวิทยาลัยเกษรศาสตร์ และสถาบันอื่นๆ ที่ได้


แลกเปลี่ยนความรู ้ คอยให้กาลังใจและคาปรึ กษาที่เป็ นประโยชน์

สุ ดท้ายนี้ ผูว้ จิ ยั ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา พี่ ผูอ้ ยูเ่ บื้องหลังแห่งความสาเร็ จ ผูซ้ ่ ึงเป็ นที่งกาลัง
ทรัพย์และกาลังใจเสมอมา

นางสาวมนชนก ใจตรง

12 กันยายน 2556
บทคัดย่ อ
ชื่อเรื่อง เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ กรณี ศึกษา อาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช

วิจยั นางสาวมนชนก ใจตรง

อาจารย์ ทปี่ รึกษา อาจารย์ภาคม บารุ งสุ ข

ปี การศึกษา 2556

งานวิจยั ครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาและรวบรวมเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ (2) เพื่อพัฒนา


คู่มือการฝึ กเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ งานวิจยั ครั้งนี้เป็ นงานวิจยั เชิงคุณภาพ ผูว้ ิจยั ดาเนินการเก็บข้อมูลจาก
เอกสาร การลงพื้นที่โดยการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน และรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ ตารา รายงาน
การวิจยั และการสัมภาษณ์จากผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านดนตรี ไทย

ประชากรที่ใช้ในครั้งนี้ คือ เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ กลุ่มตัวอย่างในการทาวิจยั ครั้งนี้ คือ อาจารย์ สุ


เชาว์ หริ มพานิช โดยใช้วิธีการสุ่ มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เป็ นการเลือกตัวอย่างที่มีคุณลักษณะพิเศษที่ตอ้ งการ
ศึกษา และกลุ่มตัวอย่างนั้นมีจานวนจากัดและมีลกั ษณะเฉพาะตามเรื่ องที่จะศึกษา เนื่องจาก อาจารย์ สุ เชาว์
หริ มพานิช เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญและมีชื่อเสี ยงทางด้านดนตรี ไทย

ผลการวิจยั พบว่า เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ กรณี ศึกษา อาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช ใหญ่ มีการปฏิบตั ิ
เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ โดยเริ่ มจาก ท่าจับไม้ฆอ้ งวงใหญ่ ซึ่งอธิบายถึงลักษณะวิธีการจับไม้ เพื่อเตรี ยมพร้อม
ในการปฏิบตั ิ ,วิธีการตีฆอ้ งวงใหญ่ โดยแบ่งหัวข้อย่อยออกเป็ น ลักษณะการตีฆอ้ งวงใหญ่ ซึ่งกล่าวถึงลักษณะ
การเคลื่อไหวของข้อมือและกล้ามเนื้อแขน และ วิธีการตี ที่ผวู ้ ิจยั สามารถรวบรวมได้ท้ งั หมด 41 วิธี แต่ละวิธี
อธิบายถึงการปฏิบตั ิไว้โดยละเอียด เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ที่มีนอกเหนือจากในตาราต่างๆได้กาหนดไว้ คือ
การเอาสิ่ งที่มีในตารานั้น มาประยุค ผสมผสานกันออกมาได้เป็ นเทคนิคการตีแบบใหม่ ซึ่งผูเ้ ชี่ยวชาญในแต่ละ
คนนั้นจะมีเทคนิคที่แตกต่างกัน เทคนิกที่วา่ นั้นมีมากมาย เพราะเป็ นเทคนิคที่สามารถคิดขึ้นมาใหม่ได้เรื่ อยๆ
แล้วแต่สถาณการณ์ ณ ขณะนั้น และในการฝึ กฝนจะศึกษาจากตาราอย่างเดียว ในบางกรณี ผฝู ้ ึ กจะไม่สามารถ
เข้าใจได้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ตอ้ งได้รับการถ่ายทอดให้เห็นภาพด้วยคาพูดจากครู ผสู ้ อน
คานา

งานวิจยั ฉบับนี้ เป็ นรายงานผลการวิจยั การศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ เป็ นส่ วนหนึ่ง
ของวิชาระเบียบวิธีวิจยั 01385491 ของสาขาวิชาดนตรี ไทย ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งเป็ นผลศึกษาจากการเก็บข้อมูลในเอกสารและงานวิจยั จากสภาบันการศึกษาต่างๆ
การสัมภาษณ์จากผูเ้ ชี่ยวชาญการตีฆอ้ งวงใหญ่ โดยมุ่งศึกษาจากอาจารย์สุเชาว์ หริ มพานิช ทั้งนี้เพือ่ เป็ นการ
รวบรวมขั้นตอนการฝึ กเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ โดยในส่ วนของผลการวิจยั จะบันทึกเทคนิคต่างๆพร้อมทั้ง
อธิบายความหมายในการฝึ กตีฆอ้ งวงใหญ่ในเทคนิคนั้นไว้โดยละเอียด เพื่อผูท้ ี่มาศึกษาค้นคว้าต่อจะได้
ประโยชน์จากงานวิจยั เรื่ องนี้ได้อย่างเต็มที่ ผูว้ ิจยั หวังว่างานวิจยั ฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์แก่ผทู ้ ี่สนใจ นาไปประ
ยุคใช้ได้ในด้านต่างๆในชีวิตประจาวัน หากผิดพลาดประการใด ผูว้ ิจยั ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ดว้ ย

นางสาวมนชนก ใจตรง

นิสิตชั้นปี 4

สาขาวิชาดนตรี ไทย ภาควิชาดนตรี

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สารบัญ

หน้ า

บทคัดย่ อ

กิตติกรรมประกาศ

คานา

บทที่ 1 บทนา

ความสาคัญและความเป็ นมา 1

วัตถุประสงค์ของการศึกษา 6

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6

ขอบเขตของการศึกษา 7

วิธีการดาเนินการวิจยั 7

ระยะเวลาในการทาวิจยั 7

นิยามศัพย์เฉพาะ 7

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง

1.เอกสารที่เกี่ยวข้อง 8

1.1. ความหมายของเทคนิค 8

1.2. ความหมายของการตี 9
1.3. ความหมายของฆ้องวงใหญ่ 9

2.งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 11

บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจยั

1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 15

2.การค้นคว้ารวบรวมข้อมูล 16

3.เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 18

4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 19

5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 20

บทที่ 4 ผลการศึกษา

การศึกษาเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ 21

1.ท่าจับไม้ฆอ้ งวงใหญ่ 21

2.วิธีตีฆอ้ งวงใหญ่ 21

2.1.ลักษณะการตี 21

2.2.วิธีการตี 22

3.วิธีตีในกรณพิเศษ 28
บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย ข้ อเสนอแนะ

สรุ ปผล อภิปราย ข้อเสนอแนะ 29

ปัญหาและอุปสรรคของงานวิจยั 29

ข้อดีของงานวิจยั 30

ข้อเสี ยของงานวิจยั 30

ข้อเสนอแนะของงานวิจยั 30

บรรณนุกรม 31

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก ประวัติ อาจารย์สุเชาว์ หริ มพานิช ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ 36

ภาคผนวก ข ประวัติผวู ้ ิจยั 39


บทที่ 1

บทนา

ความเป็ นมาและความสาคัญของโครงการ

ดนตรี ไทยมีเอกลักษณ์การบรรเลงเป็ นแบบฉบับที่แตกต่างจากชาติอื่น ไม่วา่ จะเป็ นการบรรเลงเดี่ยว


หรื อการบรรเลงหมู่ ซึ่งสามารถนามาอธิบายได้ดว้ ยทฤษฎีต่างๆทางดนตรี ไทย ผูเ้ รี ยนที่จะฝึ กหัดการบรรเลง
เครื่ องดนตรี ไทยนั้นครู ผสู ้ อนจะให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาลักษณะของเครื่ องดนตรี ที่จะฝึ กหัดให้เป็ นไปตามลาดับจน
เกิดความเคยชิน และเริ่ มฝึ กหัดให้ผเู ้ รี ยนได้ปฏิบตั ิการบรรเลงบทเพลง โดยทัว่ ไปแล้วครู ผสู ้ อนจะให้ผเู ้ รี ยนได้
ศึกษาทานองหลักของบทเพลง ซึ่งในวงการดนตรี ไทยนั้น ฆ้องวงใหญ่ถือเป็ นเครื่ องดนตรี ไทยที่มีหน้าที่
บรรเลงทานองหลัก ดังที่ ทฤษฎีและหลักการปฏิบตั ิดนตรี ไทย และ พจนานุกรมดนตรี ไทย โดย ศาสตราจารย์
ดร. อุทิศ นาคสวัสดิ์ (2546:47) ได้กล่าวไว้วา่ “มาตารฐานของดนตรี ไทยนั้นอยูท่ ี่ทานองอันเป็ นแม่บทซึ่งเรี ยก
กันว่า “ลูกฆ้อง”(basic melody) ลูกฆ้องนี้เป็ นหลักหรื อเป็ น “เนื้อเพลง”อันแท้จริ งของดุริยางค์ไทย เมื่อผูแ้ ต่ง
แต่งเพลงนั้น ท่านต้องแต่งทานองอันเป็ น “เนื้อ” หรื อ “ลูกฆ้อง” ขึ้นก่อน แล้วต่อ “ลูกฆ้อง” นี้ให้แก่ลูกศิษย์
หน้าที่ของศิษย์กค็ ือต้องแปลลูกฆ้องนี้ออกเป็ นทานองต่างๆ ให้เข้ากับเครื่ องดนตรี ที่ตนบรรเลง ผูท้ ี่จะบรรเลง
เนื้อเพลงหรื อ “ลูกฆ้อง” นี้กไ็ ด้แต่คนตี “ฆ้องวงใหญ่”เท่านั้น คนอื่นๆ จะเป็ นคนระนาดเอก ระนาดทุม้ ปี่ ฆ้อง
วงเล็ก ระนาดทอง หรื อระนาดทุม้ เหล็กก็ตาม มีหน้าที่แปลลูกฆ้องนี้ออกเป็ นทานองเต็ม(full melody) ให้เข้ากับ
เครื่ องดนตรี ที่ตนบรรเลงอยู”่

ฆ้องวงใหญ่เป็ นเครื่ องดนตรี ไทยที่บรรเลงทานองหลักในเพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ เพลงเถา เพลง


ตับและในอีกหลายๆเพลง ฆ้องวงใหญ่จะต้องทาหน้าที่บรรเลงทานองที่เป็ นเนื้อเพลงตรงๆหรื อที่เรี ยกกันว่ามือ
ฆ้อง เพื่อให้เครื่ องดนตรี ชนิดอื่นได้แปลทานองออกไปจากฆ้องวงใหญ่อีกทีหนึ่ง ในการแปลทานองของทุก
เครื่ องดนตรี ก็มกั จะใส่ ลูกเล่นเทคนิคที่เหมาะสมกับเครื่ องดนตรี น้ นั ๆ เช่นเดียวกัน ฆ้องวงใหญ่กส็ ามารถแปล
ทานองในทางของตัวเองได้ การบรรเลงเทคนิคของฆ้องวงใหญ่นบั ได้วา่ เป็ นการแสดงศักยภาพอย่างสูงสุ ดของผู ้
บรรเลง เพราะสามารถแสดงฝี มือได้อย่างเต็มที่ มีการใช้เทคนิคการสร้างเสี ยงอย่างโดดเด่นที่เหมาะสมกับ
ทานองในแต่ละประโยคของเพลง ดังที่ ทฤษฎีและหลักการปฏิบตั ิดนตรี ไทย และ พจนานุกรมดนตรี ไทย โดย
ศาสตราจารย์ ดร. อุทิศ นาคสวัสดิ์ (2546:62) ได้กล่าวไว้วา่ “เทคนิคเกี่ยวกับการดาเนินทานองต่างๆ เพลงไทย
แต่ละเพลงนั้นอาจดาเนินทานองได้หลายอย่าง การแปลนี้ทุกคนมีอิสระที่จะทาเอาตามที่ตนเห็นว่าไพเราะที่สุด
แต่น้ นั แหละทั้งหมดก็ยอ่ มขึ้นอยูก่ บั การควรและไม่ควรเป็ นสาคัญ”

ปัจจุบนั จะพบได้วา่ นักดนตรี ไทยรุ่ นใหม่มีไม่มากนักที่จะมีรสมือชัดเจน เหมือนนักดนตรี ไทยรุ่ นเก่า


ปัญหาดังกล่าวส่ งผลให้เกิดความไม่ชดั เจนของบทเพลง ดังที่ ได้ปรากฎคากล่าวไว้ใน หนังสื อ “๔๘ปี ของ
ข้าพเจ้าและบทความบางเรื่ อง โดย ศาสตราจารย์ อุทิศ นาคสวัสดิ์”(2526:136) ไว้วา่ “การบรรเลงปี่ พาทย์ที่จะให้
ได้เพลงไพเราะจริ งๆนั้น ผูบ้ รรเลงจาต้องใช่รสมือเข้าประกอบเท่าที่ปฏิบตั ิกนั ทัว่ ไปก็คือ จะต้องรู ้จกั ประคบมือ
ให้เกิดเป็ นเสี ยง แหนะ หนับ หนอด โหน่ง กรอด กรู บ โปร่ ง ปราย ฯลฯ ตามที่ตอ้ งการ แต่ท่านครู ได้คิดหาทาง
บรรเลงให้พิศดาลขึ้นไปอีก เช่นการตีระนาด ท่านก็วางหลักไว้เสร็ จเลยว่า ถ้าจับไม้ตีในลักษณะอย่างนั้น จะตี
เป็ นเสี ยงอย่างนั้นๆ ถ้าจับอีกอย่างหนึ่งก็จะเป็ นเสี ยงอย่างโน้นๆ”

จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูล ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาแนวทางการวิจยั เกี่บงกับเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ ผูว้ ิจยั ได้


รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการศึกษาการวิจยั กับเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ มีดงั นี้

ธนเนตร์ ชาพาลี (2549:บทคัดย่ อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เดี่ยวฆ้ องวงใหญ่ เพลงอาเฮีย


๓ ชั้น ทางครูหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) กับทางครูสอน วงฆ้ อง เดี่ยวฆ้องวงใหญ่เพลงอาเฮีย ๓
ชั้น ของบรมครู ท้ งั สองท่านนี้ มีลกั ษณะวิธีการบรรเลงและการใช้กลวิธีพิเศษของการเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ได้อย่าง
ครบถ้วน โดยผลงานของท่านทั้งสองได้แสดงออกซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิความรู ้ ประสบการณ์ สะท้อนถึงความมี
อัจฉริ ยภาพทางดุริยางค์ศิลไทยของแต่ละท่าน ผลจากการศึกษาพบว่า เดี่ยวฆ้องวงใหญ่เพลงอาเฮีย ๓ ชั้น ทางครู
หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ให้ความสาคัญกับการแปลทานองที่สมั พันธ์กบั ทานองหลัก ใน
ขณะเดียวกันก็ได้เพิม่ ความหลากหลาย ด้วยการใช้กลวิธีพเิ ศษของแต่ละท่อน ใช้การบรรเลงกลับต้นโดยซ้ ากับ
ทานองเดิม มีการใช้ช่วงเสี ยงกว้าง และมีการแปลทานองเป็ นทานองห่างๆ อีกทั้งใช้สานวนกลอนที่ไม่คานึงถึง
เสี ยงตกของทานองหลัก แต่คานึงถึงความสัมพันธ์กนั ของสานวนกลอนและความสวยงามของท่วงท่าการ
บรรเลง ส่ วนเดี่ยวฆ้องวงใหญ่เพลงอาเฮีย ๓ ชั้นทางครู สอน วงฆ้อง ให้ความสาคัญกับการแปรทานองที่
สัมพันธ์กบั ทานองหลัก แต่ใช้วิธีเพิ่มความหลากหลายด้วยการบรรเลงกลับต้นโดยไม่ซ้ าทานองเดิม มีการใช้
ช่วงเสี ยงกว้างน้อยกว่า และไม่มีการแปลทานองห่างๆ โดยให้ความสาคัญกับเสี ยงตกของทานองหลักในทุก
ประโยคได้อย่างครบถ้วน

นภดล คลาทัง่ (2551:บทคัดย่ อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง วิเคราะเดี่ยวฆ้ องวงใหญ่ เพลงทยอยเดี่ยว ทางครูสอน


วงฆ้ อง วัตถุประสงค์เพื่อทาการศึกษาทางเดี่ยวสาหรับฆ้องวงใหญ่เพลงทยอยเดี่ยว ทางครู สอน วงฆ้อง ทาการ
วิเคราะห์ ศึกษาตามหลักวิชาทางดุริยางคศิลป์ ไทย โดยศึกษาจากเอกสาร ทางวิชาการดนตรี ไทยและทาการ
สัมภาษณ์ผเู ้ ชี่ยวชาญ แล้วจึงทาการบรรทึกโน้ตเพลงเพือ่ ทาการวิเคราะ จากการวิเคราะเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ เพลง
ทยอยเดี่ยว ทางครู สอน วงฆ้อง พบว่าโครงสร้างของเพลงสามารถแบ่งออกเป็ นสองส่ วนสาคัญ ได้แก่ ทานองใน
เที่ยวโอด และทานองในเที่ยวพัน โดยทานองในเที่ยวโอด เป็ นการนาเค้าโครงจากเพลงทยอยในมาสร้างสรรค์
ทานองเดี่ยว ส่วนทานองในเที่ยวพันประกอบไปด้วยกลุ่มทานองโยนกลุ่มต่างๆที่มุ่งไปหาเสี ยงสาคัญตาม
บรรไดเสี ยง หลักที่ใช้ในทานองเดี่ยวเพลงนี้ คือ บรรไดเสี ยงทางใน ซึ่งมีกลุ่มเสี ยงปัญจมูล คือ ซ ล ท X ร ม X
ทานองมีการฉายให้เห็นถึง ทานองที่มีเค้าโครงที่มาจากเพลงทยอยในอีกครั้ง ช่วงท้ายและทานองลงจบเป็ น
ทานองที่มีลกั ษณะเดียวกันกับการลงจบของเพลงพญาโศก ทานองเดี่ยวเพลงทยอยเดี่ยวทางนี้ มีการใช้ศกั ยภาพ 4
ของการผลิตเสี ยงของฆ้องวงใหญ่ได้เต็มตามศักยภาพที่ฆอ้ งวงใหญ่จะสามารถผลิตเสี ยงต่างๆออกมาได้และยัง
ทาให้ทานองเดี่ยวเพลงทยอยเดี่ยวทางนี้มีความกลมกลืนของเสี ยงเป็ นอย่างมาก ในส่ วนอัตลักษณ์เฉพาะของ
ทานองเดี่ยว เพลงทยอยเดี่ยวทางนี้ มีการใช้กลวิธีพิเศษต่างๆในการดาเนินทานองแต่ละช่วงทั้งการใช้คู่ประสาน
การสะบัด ในลักษณะต่างๆ การตีไขว้มือ การตีกรอเสี ยง การตีดูดเสี ยง ทานองโยนแต่ละช่วงมีการประดับ
ประดาทานองโยนอย่างแยบยลคมคาย อีกทั้งทานองเพลงยังสามารถสะท้อนอารมณ์เศร้า ในรู ปแบบต่างๆ อัน
เป็ นไปตามลักษณะเฉพาะของเพลงทยอยออกมาได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้ภาพลักษณ์ของเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ เพลง
ทยอยเดี่ยว ทางครู สอน วงฆ้อง มีความสะอาด กระจ่างแจ่มชัด และสมบูรณ์เป็ นอย่างยิง่

นันทวัน ตอบงาม (2536:บทคัดย่ อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง การเรียนฆ้ องวงใหญ่ ข้นั พืน้ ฐาน จากการวิจยั
พบว่า ผูเ้ รี ยนฆ้องวงใหญ่ควรเริ่ มตั้งแต่เด็กอายุประมาณ 9-12 ปี เพราะเด็กวัยนี้มีความพร้อมเหมาะกับการเรี ยน
ฆ้องวงใหญ่ในทุกๆด้าน นอกจากนี้ผเู ้ รี ยนยังต้องมีศิลปนิสยั ทางดนตรี และมีบุคลิกภาพในการเรี ยนที่เหมาะสม 2
ประการ คือ ทั้งบุคลิกภาพภายในและบุคลิกภาพภายนอกกล่าวคือ มีใจรักในการเรี ยนฆ้อง วงใหญ่มีความ
ขยันหมัน่ เพียรอดทนในการฝึ กซ้อม และเป็ นผูท้ ี่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงและที่สาคัญจะต้องเป็ นผูท้ ี่มีความ
จาเป็ นเลิศ การเรี ยนฆ้องวงใหญ่ผเู ้ รี ยนต้องปฏิบตั ิตามขั้นตอน ในขั้นแรกผูเ้ รี ยนต้องครอบครู เพื่อที่จะเรี ยนฆ้อง
วงใหญ่ก่อน จากนั้นครู จะฝึ กให้ตีฆอ้ งในขั้นพื้นฐานโดยเริ่ มจากการตีไล่เสี ยงลูกฆ้อง ตีประสมเสี ยงลูกฆ้อง ตี
แบ่งมือซ้ายและมือขวา เพื่อให้เกิดความชานาญในการตีฆอ้ งวงใหญ่ เมื่อมีความชานาญและมีความคล่องตัวดี
แล้วครู จะเริ่ มต่อเพลง โดยต่อเพลงสาธุการเป็ นเพลงแรกและต่อเพลงในชุดโหมโรงเย็นโหมโรงเช้า และเพลง
เรื่ องซึ่งถือว่าเป็ นเพลงพื้นฐานสาคัญที่ผเู ้ รี ยนฆ้องวงใหญ่ตอ้ งฝึ กหัดในเบื้องต้น

ปานตา ศรีคง (2555:บทคัดย่ อ) ศึกษาวิจยั เรื่ อง คู่มือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญของ


ฆ้องวงใหญ่ เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว จากการวิจยั พบว่า งานวิจยั ครั้งนี้เป็ นงานวิจยั เชิงคุณภาพ ผูว้ ิจยั
ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร และการลงพื้นที่โดยการศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐาน เป็ น
การศึกษาเพื่อการสร้างคู่มือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญของฆ้องวงใหญ่เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว
โดยผูว้ ิจยั ทาการศึกษาจากเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ ตารา
รายงานการวิจยั และข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็ นข้อมูลทุติยภูมิ ในส่ วนของการสัมภาษณ์ ผูว้ ิจยั ใช้วิธีการ
สัมภาษณ์อย่างไม่เป็ นทางการ เป็ นการสัมภาษณ์แบบเจาลึก โดยขออนุญาตจดบันทึกภาคสนาม และบันทึกเสี ยง
ผูว้ ิจยั กาหนดตัวให้ขอ้ มูลแบบเจาะจงโดยพิจารณาจากความสามารถในการให้ขอ้ มูลที่ดี ลึกซึ้ง กว้างขวางเป็ น
พิเศษ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลสาคุญ นามาเขียนเป็ นความบรรยาย แล้วจึงนามาวิเคราะห์ขอ้ มูล สร้างเป็ นคู่มือการฝึ กเทคนิค
การบรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญของฆ้องวงใหญ่เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว จัดทาเป็ นรู ปเล่ม แล้วนาไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญ
ด้านฆ้องวงใหญ่ ๓ ท่านตรวจสอบ โดยสร้างแบบประเมินตรวจสอบคุณภาพของคู่มือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง
๘ เสี ยงสาคัญของฆ้องวงใหญ่เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ ซึ่งทาการประเมิน และ ตรวจสอบ
ความถูกต้องของรายละเอียด สร้างแบบประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านฆ้องวงใหญ่ แบ่งความพึง
พอใจออกเป็ น ๓ ระดับ และทาการวิเคราะข้อมูล สรุ ปผลการวิจยั ได้ดงั นี้ เมื่อได้ให้ผเู ้ ชี่ยวชาญทาการตรวจสอบ
คุณภาพคู่มือในด้านความถูกต้องของเนื้อหาในคู่มือ ประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีตอ้ คุณภาพของ
คู่มือและในด้านของลักษณะทางกายภาพ พบค่าและผลการประเมิน ดังนี้ ๑.)หัวข้อการประเมินความถูกต้องของ
เนื้อหาในคู่มือ มีผเู ้ ชี่ยวชาญทางด้านฆ้องวงใหญ่ ๓ คน โดยมาค่า IOC เท่ากับ 0.๙๒ ๒.)ประเมินความพึงพอใจ
ของผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านฆ้องวงใหญ่ที่ได้ มีระดับความพึงพอใจต่อคูม่ ือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญ
ของฆ้องวงใหญ่เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว ในส่ วนของคุณภาพของคู่มือ เท่ากับ ๒.๗๓ แสดงว่าระดับความพึง
พอใจของผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านฆ้องวงใหญ่อยูใ่ นระดับมากที่สุด และมีระดับความพึงพอใจต่อคู่มือการฝึ กเทคนิค
การบรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญของฆ้องวงใหญ่เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว ในส่ วนของลักษณะทางกายภาพ เท่ากับ
๓.00 แสดงว่าระดับความพึงพอใจของผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านฆ้องวงใหญ่อยูใ่ นระดับมากที่สุด

พิเชษฐ์ วิลยั พฤกษ์ (2551:บทคัดย่ อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง การบรรเลงเพลงเดี่ยว ฆ้ องวงใหญ่ เพลงสารถี


สามชั้น ของครูสุพตั ร แย้ มทับ จากการวิจยั พบว่า ประวัติความเป็ นมาของเพลงสารถี สามชั้นได้ขยายมาจาก
เพลงสารถีสองชั้น ของเดิมเป็ นเพลงไทยสมัยอยุธยา รวมอยูใ่ นประเภทเพลงช้าเรี ยกว่า”เพลงเรื่ องสารถี” หรื อ
เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า”สารถีชกั รถ”เป็ นเพลงทานองทางพื้น มีสามท่อนใช้บรรเลงประกอบการแสดง โขน ละคร
6
เป็ นที่น่าสังเกตว่าเมื่อนามาขับร้องประกอบการแสดงโขนละครนั้นนิยมร้องเฉพาะท่อนที่1 และท่อนที่2 เท่านั้น
ภายหลังบรมครู ดนตรี ไทยได้นามาแต่งขยายขึ้นเป็ นทานองสองชั้น โดยพระประดิษฐไพเราะ(ครู มีแขก) ได้ขยาย
ขึ้นในช่วงปลายรัชกาลที่ 3 ถึงต้นรัชกาลที่ 4 แห่งรัตนโกสิ นทร์จนกระทัง่ ถึงยุคที่นิยมเพลงเถาราวสมัยรัชการที่6
แห่งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ได้มีผชู ้ านาญการทางด้านดนตรี ไทยนาเพลงสารถีมาประดิษฐ์ข้ ึนเป็ นทางเดี่ยว เพื่อใช้
อวดฝี มือของเครื่ องดนตรี ทุกชนิด ในปัจจุบนั เพลงสารถี สามชั้น นิยมบรรเลงอย่างแพร่ หลายไม่วา่ จะเป็ นวง
มโหรี วงเครื่ องสาย และวงปี่ พาทย์ เนื่องจากเพลงสารถี สามชั้น เป็ นทางพื้นที่มีท่วงทานองไม่โลดโผนง่ายต่อ
การจดจา อีกทั้งยังเป็ นเพลงที่นกั ดนตรี ส่วนใหญ่จะชื่นชอบจึงได้นาเพลงสารถีมาบรรเลงรวมวงและบรรเลง
เดี่ยวจนได้รับความนิยมอย่างแพร่ หลายมาจนถึงปัจจุบนั

ผูว้ ิจยั ในฐานะเป็ นผูเ้ รี ยนฆ้องวงใหญ่ เกิดความสนใจที่จะค้นคว้าและรวมรวมเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่


ที่สามารถใช้ฝึกฝนได้อย่างเข้าใจ อีกทั้งยังสามารถฝึ กฝนได้ดว้ ยตนเองและถ่ายทอดให้ผอู ้ ื่นได้ฝึกฝนต่อ การ
ดาเนินงานวิจยั ให้มีคุณภาพและมีความน่าเชื่อถือ ผูว้ ิจยั จะมุ่งศึกษา ค้นคว้าข้อมูล จากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องใน
ข้อมูลพื้นฐานทัว่ ไป และเก็บข้อมูลจากผูเ้ ชี่ยวชาญและมีชื่อเสี ยงทางด้านดนตรี ไทยในข้อมูลที่เป็ นข้อมูลพิเศษ
ซึ่งจะมีประโยชน์มากต่อผูท้ ี่ได้มาศึกษางานวิจยั ฉบับนี้ที่จะนาข้อมูลที่ได้รวบรวมไปสานต่อในด้านอื่นๆ

วัตถุประสงค์ ของการวิจยั /โครงการ

1.เพื่อศึกษาและรวบรวมเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่

2.เพื่อพัฒนาคูม่ ือการฝึ กเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่


ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ

1.ได้ศึกษาและรวบรวมเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่
7
2.ได้คู่มือการฝึ กเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่

ขอบเขตของการวิจยั /โครงการ

การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาและรวบรวมข้อมูลการสร้างคู่มือการฝึ กเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ และ


พัฒนาการสร้างคู่มือการฝึ กเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่โดยการอธิบายผ่านทางลายลักษณ์อกั ษรและรู ปแบบวีดีโอ
ในข้อมูลบางส่ วนเพิ่มเติมจากผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านดนตรี ไทย เพื่อให้เข้าใจ และเห็นภาพชัดเจนยิง่ ขึ้น เท่านั้น

ระเบียบวิธีวจิ ยั

-การตี(ชื่อเรี ยก)มีอะไรบ้าง

-คาอธิบายการตี

-เก็บข้อมูล/สัมภาษณ์

ระยะเวลาการทาโครงการ วันที่ 10 มิถุนายน 2556 – วันที่ 4 ตุลาคม 2556

นิยามศัพท์ เฉพาะ -
บทที่ 2

เอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง


การวิจยั เรื่ อง วิเคราะห์เทคนิตการตีฆอ้ งวงใหญ่ กรณี ศึกษา อาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช ผูว้ ิจยั ได้
ตรวจสอบเอกสารและผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งน้ าเสนอตามลาดับ ดังนี้

1.ความหมายของเทคนิค

2.ความหมายของการตี

3.ความหมายของฆ้องวงใหญ่

4.งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับฆ้องวงใหญ่

1.ความหมายของเทคนิค

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาณ (๒๕๒๕:๔0๖) ให้ความหมายไว้วา่ “ศิลปะหรื อกลวิธีเฉพาะวิชา


นั้นๆ”

พจนานุกรมไทย (๒๕๑๘:๒๖๑) ให้ความหมายไว้วา่ “ศิลปะเฉพาะวิชานั้นๆ”

พจนะภาษา (๒๕๔๔:๒๒๔) ให้ความหมายไว้วา่ “ศิลปะและวิธีการในการปฏิบตั ิเกี่ยวกับวิชาการและ


กิจการต่างๆ”

พจนานุกรม ฉบับมติชน ( :๔๓๗) ให้ความหมายไว้วา่ “ศิลปะหรื อกลวิธีเฉพาะวิชานั้นๆ” 9


สารานุกรมภาษา อีสาน-ไทย-อังกฤษ (๒๕๓๒:๔๑๒) ให้ความหมายไว้วา่ “ศิลปะหรื อกลวิธีเฉพาะวิชา
นั้นๆ”

สรุป เทคนิค หมายถึง ศิลปะ วิธีการ กลวิธีในการปฏิบตั ิเฉพาะวิชานั้นๆ


2.ความหมายของการตี

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาณ (๒๕๒๕:๓๔๙) ให้ความหมายไว้วา่ “เอามือหรื อไม่เป็ นต้นฟาด


หรื อเข่นลงไป เช่น ตีเด็ก ตีดาบ, โดยปริ ยายหมายถึงกิริยาอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น ทาให้เกิดเสี ยง เช่น ตีระฆัง”

พจนานุกรมไทย (๒๕๑๘:๒๓๕) ให้ความหมายไว้วา่ “โบย, รัน, รบ, ทาให้แตก, แปลความหมาย, ทา


เส้นตรง, ทาให้เข้ารู ป, แผ่ให้แบน, ทาให้เกิดเสี ยง, กด, ประทับ, ทาให้เข้ากัน”

พจนานุกรม ฉบับมติชน ( :๓๗๔) ให้ความหมายไว้วา่ “ก. ตีเกราะเคาะไม้ เคาะไม้ให้เสี ยงสัญญาณ”

สารานุกรมภาษา อีสาน-ไทย-อังกฤษ (๒๕๓๒:๓๖๕) ให้ความหมายไว้วา่ “ตี ๓ ก. เสพ, งัน เสบงันด้วย


ดนตรี มีปี่ แคน ฆ้อง กลอง เรี ยก ตี อย่างว่า เขาก็ตีโพนพิณเสพสังข์ เสี ยงห้ าว ระงมงันก้ อง เสี ยงนันคีคื่น ปานดัง
เสพท่ อนท้ าวเมืองฟ้ าฟากสวรรค์ ”

สรุ ป การตี หมายถึง ในทางดนตรี คือ การทาให้เกิดเสี ยง

3.ความหมายของฆ้ องวงใหญ่ 10
ดุริยางคศิลป์ ไทย (๒๕๔๖:๘๔) ให้ความหมายว่า “ฆ้องวงเป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทตีชนิดหนึ่งที่เชื่อกันว่า
มีวิวฒั นาการมาจากฆ้องเดี่ยวต่างๆ เช่น โหม่ง หุ่ย ต่อมาได้พฒั นาเป็ นฆ้องคู่และฆ้องวงตามลาดับ”

อุทิศ นาคสวัสดิ์ (๒๕๔๒:๑๔๖) กล่าวว่า “ฆ้องวง หรื อ ฆ้องวงใหญ่ แบ่งเป็ น ๒ ส่ วน คือ ร้านฆ้อง กับ
ลูกฆ้อง ฆ้องวงใหญ่มี ๑๖ ลูกผูกเรี ยงจากลูกต่าสุ ดอยูภ่ ่ยใน ร้านฆ้อง ซึ่งทาด้วยหวายเป็ นรู ปวงรี (รู ปไข่) ที่ทา
เช่นนี้กป็ ราถนาจะให้คนตีเข้าไปนัง่ ขัดสมาธิ ฉีกเข่าออก ๒ ข้างได้โดยสะดวกนั้นแหละครับ ส่ วนร้านฆ้องจะ
กว้างเท่าใด ลูกฆ้องแต่ละลูกมีเส้นผ่านศูนย์กลางเท่าใดนั้นจะไม่อธิบายในที่น้ ี เพราะจะยาวเยิย่ เย้อไปเปล่าๆ”

ไพศาล อินทวงศ์ (๒๕๔๘:๑๒๖) ให้ความหมายว่า “ฆ้องวงใหญ่เป็ นเครื่ องดนตรี ที่คิดประดิษฐ์ข้ ึนมา


จากฆ้องเดี่ยวฆ้องค่ะและฆ้องราว วงฆ้องใช้ตน้ หวายโป่ งทาเป็ นร้าน สูงประมาณ ๒๔ ซม. ระหว่างหวายเส้น
นอกกับหวายเส้นในห่างกันประมาณ ๑๔-๑๗ ซม. ดัดให้โค้งเป็ นวงรอบตัวคนนัง่ ตี เปิ ดช่องด้านหลังคนตีเป็ น
ทางเข้า ระยะห่างประมาณ ๒0-๓0 ซม. วงฆ้องต้องตัดให้พอดีสาหรับคนเข้าไปนัง่ ตีได้ไม่อึดอัด ลูกฆ้องวงหนึ่ง
มี ๑๖ ลูก ลูกด้านต้นวัดผ่านศูนย์กลางประมาณ ๑๗ ซม. อยูท่ างซ้ายมือด้านหลังผูต้ ี ลูกยอดวัดผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ ๑๒ ซม. อยูท่ างด้านขวาด้านหลังผูต้ ี ไม้ตีทาด้วยแผ่นหนังดิบ ตัดเป็ นวงกลมเจาะกลางสอดด้ามไม้
สาหรับถือ”

สารานุกรมศัพท์ดนตรี ไทย ภาคคีตะ-ดุริยางค์ (๒๕๔0:๔๕) ให้ความหมายว่า “ฆ้องวงใหญ่มีลูกฆ้อง ๑๖


ลูก ลูกเสี ยงต่าสุ ดซึ่งเรี ยกว่า ลูกทวน มีขนาดกว้างประมาณ ๑๗ ซม. เทียบเสี ยงโดยอนุโลมตรงเสี ยง เร (D) แล้ว
ค่อยสูงขึ้นไปตามลาดับลูกละ ๑ เสี ยง ลูกเสี ยงสูงสุ ดซึ่งเรี ยกว่า ลูกยอด มีขนาดกว้างประมาณ ๑๒ ซม. มีเสี ยง
เทียบได้กบั เสี ยง มี (E) ในสมัยโบราฯมีแค่ฆอ้ งวงขนาดนี้อย่างเดียว เรี ยกว่า ฆ้องวง จวบจนมีผสู ้ ร้างฆ้องวง
ขนาดเล็กขึ้นมา ฆ้องวงขนาดนี้จึงเรี ยกว่า ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงใหญ่เป็ นเครื่ องดนตรี ที่บรรเลงอยูใ่ นวงปี่ พาทย์
เวลาบรรเลงร่ วมวงมีหน้าที่ดาเนินเนื้อฆ้องหรื อเนื้อเพลงเพื่อให้เป็ นหลักของวง แต่เวลาบรรเลงเดี่ยวจะตีโลด
โผนตามวิธีการของฆ้องวง ซึ่งมีท้ งั กรอ กวาด ไขว้ ประคบมือ ฯลฯ ตามความเหมาะสมของเพลงนั้นๆ ไม้ที่ใช้ต11

มี ๒ อัน ผูต้ ีนงั่ ขัดสมาธิหรื อนังพับเพียบ (สุ ดแต่กาลเทศะ) ในวงฆ้อง ถือไม้ตีมือละอัน”

สงบศึก ธรรมวิหาร (๒๕๔๒:๑๖๑) กล่าวว่า “ฆ้องวงใหญ่เป็ นเครื่ องดนตรี ที่มีวิวฒั นาการมาจากฆ้อง


เดี่ยว ฆ้องคู่และฆ้องราว ฆ้องชนิดนี้มีลกั ษณะเป็ นวง เปิ ดช่องว่างไว้สาหรับเป็ นทางเข้าของคนตีทางด้านหลัง
เล็กน้อย ผูกลูกฆ้องเรี ยงลาดับจากเสี ยงต่าไปกาเสี ยงสูง จานวน ๑๖ เสี ยง หรื อ ๒ Octaves ของชั้นเสี ยง ๘ ฆ้องนี้
ทาหน้าที่ดาเนินแม่บทหรื อหลักอันเป็ นทานองเพลงที่แท้จริ งของวงดุริยางค์ไทย ซึ่งเรี ยกว่า ลูกฆ้อง หมายถึง
ทานองพื้นฐานเครื่ องตีชนิดหนึ่ง จะแปลลูกฆ้องไปตามแนวของแต่ละชนิด”

สรุป ฆ้องวงใหญ่เป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทตี มีวิวฒั นาการมาจากฆ้องเดี่ยว แบ่งเป็ นสองส่ วน คือ ร้านฆ้อง กับ
ลูกฆ้อง ร้านฆ้องทาด้วยหวาย ดัดโค้งเป็ นวงล้อมรอบผูต้ ี ลูกฆ้องมี ๑๖ ลูก เทียบเสี ยงตามลาดับสูงขึ้นไปลูกละ ๑
เสี ยง ฆ้องวงใหญ่มีหน้าที่ดาเนินทานองหลัก ส่ วนการบรรเลงเดี่ยวจะตีโลดโผมตามความเหมาะสมของเพลง
นั้นๆ
4.งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ องกับฆ้ องวงใหญ่

ธนเนตร์ ชาพาลี (2549:บทคัดย่ อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เดี่ยวฆ้ องวงใหญ่ เพลงอาเฮีย ๓


ชั้น ทางครูหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) กับทางครูสอน วงฆ้ อง เดี่ยวฆ้องวงใหญ่เพลงอาเฮีย ๓
ชั้น ของบรมครู ท้ งั สองท่านนี้ มีลกั ษณะวิธีการบรรเลงและการใช้กลวิธีพิเศษของการเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ได้อย่าง
ครบถ้วน โดยผลงานของท่านทั้งสองได้แสดงออกซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิความรู ้ ประสบการณ์ สะท้อนถึงความมี
อัจฉริ ยภาพทางดุริยางค์ศิลไทยของแต่ละท่าน ผลจากการศึกษาพบว่า เดี่ยวฆ้องวงใหญ่เพลงอาเฮีย ๓ ชั้น ทางครู
หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ให้ความสาคัญกับการแปลทานองที่สมั พันธ์กบั ทานองหลัก ใน
12
ขณะเดียวกันก็ได้เพิ่มความหลากหลาย ด้วยการใช้กลวิธีพเิ ศษของแต่ละท่อน ใช้การบรรเลงกลับต้นโดยซ้ ากับ
ทานองเดิม มีการใช้ช่วงเสี ยงกว้าง และมีการแปลทานองเป็ นทานองห่างๆ อีกทั้งใช้สานวนกลอนที่ไม่คานึงถึง
เสี ยงตกของทานองหลัก แต่คานึงถึงความสัมพันธ์กนั ของสานวนกลอนและความสวยงามของท่วงท่าการ
บรรเลง ส่ วนเดี่ยวฆ้องวงใหญ่เพลงอาเฮีย ๓ ชั้นทางครู สอน วงฆ้อง ให้ความสาคัญกับการแปรทานองที่
สัมพันธ์กบั ทานองหลัก แต่ใช้วิธีเพิม่ ความหลากหลายด้วยการบรรเลงกลับต้นโดยไม่ซ้ าทานองเดิม มีการใช้
ช่วงเสี ยงกว้างน้อยกว่า และไม่มีการแปลทานองห่างๆ โดยให้ความสาคัญกับเสี ยงตกของทานองหลักในทุก
ประโยคได้อย่างครบถ้วน

นภดล คลาทัง่ (2551:บทคัดย่ อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง วิเคราะเดี่ยวฆ้ องวงใหญ่ เพลงทยอยเดี่ยว ทางครูสอน วง


ฆ้ อง วัตถุประสงค์เพื่อทาการศึกษาทางเดี่ยวสาหรับฆ้องวงใหญ่เพลงทยอยเดี่ยว ทางครู สอน วงฆ้อง ทาการ
วิเคราะห์ ศึกษาตามหลักวิชาทางดุริยางคศิลป์ ไทย โดยศึกษาจากเอกสาร ทางวิชาการดนตรี ไทยและทาการ
สัมภาษณ์ผเู ้ ชี่ยวชาญ แล้วจึงทาการบรรทึกโน้ตเพลงเพือ่ ทาการวิเคราะ จากการวิเคราะเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ เพลง
ทยอยเดี่ยว ทางครู สอน วงฆ้อง พบว่าโครงสร้างของเพลงสามารถแบ่งออกเป็ นสองส่ วนสาคัญ ได้แก่ ทานองใน
เที่ยวโอด และทานองในเที่ยวพัน โดยทานองในเที่ยวโอด เป็ นการนาเค้าโครงจากเพลงทยอยในมาสร้างสรรค์
ทานองเดี่ยว ส่วนทานองในเที่ยวพันประกอบไปด้วยกลุ่มทานองโยนกลุ่มต่างๆที่มุ่งไปหาเสี ยงสาคัญตาม
บรรไดเสี ยง หลักที่ใช้ในทานองเดี่ยวเพลงนี้ คือ บรรไดเสี ยงทางใน ซึ่งมีกลุ่มเสี ยงปัญจมูล คือ ซ ล ท X ร ม X
ทานองมีการฉายให้เห็นถึง ทานองที่มีเค้าโครงที่มาจากเพลงทยอยในอีกครั้ง ช่วงท้ายและทานองลงจบเป็ น
ทานองที่มีลกั ษณะเดียวกันกับการลงจบของเพลงพญาโศก ทานองเดี่ยวเพลงทยอยเดี่ยวทางนี้ มีการใช้ศกั ยภาพ
ของการผลิตเสี ยงของฆ้องวงใหญ่ได้เต็มตามศักยภาพที่ฆอ้ งวงใหญ่จะสามารถผลิตเสี ยงต่างๆออกมาได้และยัง
ทาให้ทานองเดี่ยวเพลงทยอยเดี่ยวทางนี้มีความกลมกลืนของเสี ยงเป็ นอย่างมาก ในส่ วนอัตลักษณ์เฉพาะของ
ทานองเดี่ยว เพลงทยอยเดี่ยวทางนี้ มีการใช้กลวิธีพิเศษต่างๆในการดาเนินทานองแต่ละช่วงทั้งการใช้คู่ประสาน
การสะบัด ในลักษณะต่างๆ การตีไขว้มือ การตีกรอเสี ยง การตีดูดเสี ยง ทานองโยนแต่ละช่วงมีการประดับ
ประดาทานองโยนอย่างแยบยลคมคาย อีกทั้งทานองเพลงยังสามารถสะท้อนอารมณ์เศร้า ในรู ปแบบต่างๆ อัน 13
เป็ นไปตามลักษณะเฉพาะของเพลงทยอยออกมาได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้ภาพลักษณ์ของเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ เพลง
ทยอยเดี่ยว ทางครู สอน วงฆ้อง มีความสะอาด กระจ่างแจ่มชัด และสมบูรณ์เป็ นอย่างยิง่

นันทวัน ตอบงาม (2536:บทคัดย่ อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง การเรียนฆ้ องวงใหญ่ ข้นั พืน้ ฐาน จากการวิจยั พบว่า
ผูเ้ รี ยนฆ้องวงใหญ่ควรเริ่ มตั้งแต่เด็กอายุประมาณ 9-12 ปี เพราะเด็กวัยนี้มีความพร้อมเหมาะกับการเรี ยนฆ้องวง
ใหญ่ในทุกๆด้าน นอกจากนี้ผเู ้ รี ยนยังต้องมีศิลปนิสยั ทางดนตรี และมีบุคลิกภาพในการเรี ยนที่เหมาะสม 2
ประการ คือ ทั้งบุคลิกภาพภายในและบุคลิกภาพภายนอกกล่าวคือ มีใจรักในการเรี ยนฆ้อง วงใหญ่มีความ
ขยันหมัน่ เพียรอดทนในการฝึ กซ้อม และเป็ นผูท้ ี่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงและที่สาคัญจะต้องเป็ นผูท้ ี่มีความ
จาเป็ นเลิศ การเรี ยนฆ้องวงใหญ่ผเู ้ รี ยนต้องปฏิบตั ิตามขั้นตอน ในขั้นแรกผูเ้ รี ยนต้องครอบครู เพื่อที่จะเรี ยนฆ้อง
วงใหญ่ก่อน จากนั้นครู จะฝึ กให้ตีฆอ้ งในขั้นพื้นฐานโดยเริ่ มจากการตีไล่เสี ยงลูกฆ้อง ตีประสมเสี ยงลูกฆ้อง ตี
แบ่งมือซ้ายและมือขวา เพื่อให้เกิดความชานาญในการตีฆอ้ งวงใหญ่ เมื่อมีความชานาญและมีความคล่องตัวดี
แล้วครู จะเริ่ มต่อเพลง โดยต่อเพลงสาธุการเป็ นเพลงแรกและต่อเพลงในชุดโหมโรงเย็นโหมโรงเช้า และเพลง
เรื่ องซึ่งถือว่าเป็ นเพลงพื้นฐานสาคัญที่ผเู ้ รี ยนฆ้องวงใหญ่ตอ้ งฝึ กหัดในเบื้องต้น

ปานตา ศรีคง (2555:บทคัดย่ อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง คู่มือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญของฆ้ องวง


ใหญ่ เพือ่ นาไปใช้ ในเพลงเดีย่ ว จากการวิจยั พบว่า งานวิจยั ครั้งนี้เป็ นงานวิจยั เชิงคุณภาพ ผูว้ ิจยั ดาเนินการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร และการลงพื้นที่โดยการศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐาน เป็ นการศึกษาเพื่อการ
สร้างคู่มือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญของฆ้องวงใหญ่เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว โดยผูว้ ิจยั
ทาการศึกษาจากเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ ตารา รายงานการวิจยั
และข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็ นข้อมูลทุติยภูมิ ในส่ วนของการสัมภาษณ์ ผูว้ จิ ยั ใช้วธิ ีการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็ น
ทางการ เป็ นการสัมภาษณ์แบบเจาลึก โดยขออนุญาตจดบันทึกภาคสนาม และบันทึกเสี ยง ผูว้ ิจยั กาหนดตัวให้
14

ข้อมูลแบบเจาะจงโดยพิจารณาจากความสามารถในการให้ขอ้ มูลที่ดี ลึกซึ้ง กว้างขวางเป็ นพิเศษ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลสา


คุญ นามาเขียนเป็ นความบรรยาย แล้วจึงนามาวิเคราะห์ขอ้ มูล สร้างเป็ นคู่มือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง ๘ เสี ยง
สาคัญของฆ้องวงใหญ่เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว จัดทาเป็ นรู ปเล่ม แล้วนาไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญด้านฆ้องวงใหญ่ ๓
ท่านตรวจสอบ โดยสร้างแบบประเมินตรวจสอบคุณภาพของคู่มือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญของ
ฆ้องวงใหญ่เพือ่ นาไปใช้ในเพลงเดี่ยว โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ ซึ่งทาการประเมิน และ ตรวจสอบความถูกต้องของ
รายละเอียด สร้างแบบประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านฆ้องวงใหญ่ แบ่งความพึงพอใจออกเป็ น ๓
ระดับ และทาการวิเคราะข้อมูล สรุ ปผลการวิจยั ได้ดงั นี้ เมื่อได้ให้ผเู ้ ชี่ยวชาญทาการตรวจสอบ คุณภาพคู่มือใน
ด้านความถูกต้องของเนื้อหาในคู่มือ ประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีตอ้ คุณภาพของคู่มือและในด้าน
ของลักษณะทางกายภาพ พบค่าและผลการประเมิน ดังนี้ ๑.)หัวข้อการประเมินความถูกต้องของเนื้อหาในคู่มือ
มีผเู ้ ชี่ยวชาญทางด้านฆ้องวงใหญ่ ๓ คน โดยมาค่า IOC เท่ากับ 0.๙๒ ๒.)ประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ชี่ยวชาญ
ทางด้านฆ้องวงใหญ่ที่ได้ มีระดับความพึงพอใจต่อคู่มือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญของฆ้องวงใหญ่
เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว ในส่ วนของคุณภาพของคู่มือ เท่ากับ ๒.๗๓ แสดงว่าระดับความพึงพอใจของ
ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านฆ้องวงใหญ่อยูใ่ นระดับมากที่สุด และมีระดับความพึงพอใจต่อคูม่ ือการฝึ กเทคนิคการ
บรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญของฆ้องวงใหญ่เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว ในส่ วนของลักษณะทางกายภาพ เท่ากับ ๓.00
แสดงว่าระดับความพึงพอใจของผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านฆ้องวงใหญ่อยูใ่ นระดับมากที่สุด

พิเชษฐ์ วิลยั พฤกษ์ (2551:บทคัดย่ อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง การบรรเลงเพลงเดี่ยว ฆ้ องวงใหญ่ เพลงสารถี สาม


ชั้น ของครูสุพตั ร แย้ มทับ จากการวิจยั พบว่า ประวัติความเป็ นมาของเพลงสารถี สามชั้นได้ขยายมาจากเพลง
สารถีสองชั้น ของเดิมเป็ นเพลงไทยสมัยอยุธยา รวมอยูใ่ นประเภทเพลงช้าเรี ยกว่า”เพลงเรื่ องสารถี” หรื อเรี ยกอีก
อย่างหนึ่งว่า”สารถีชกั รถ”เป็ นเพลงทานองทางพื้น มีสามท่อนใช้บรรเลงประกอบการแสดง โขน ละคร เป็ นที่
น่าสังเกตว่าเมื่อนามาขับร้องประกอบการแสดงโขนละครนั้นนิยมร้องเฉพาะท่อนที่1 และท่อนที่2 เท่านั้น
ภายหลังบรมครู ดนตรี ไทยได้นามาแต่งขยายขึ้นเป็ นทานองสองชั้น โดยพระประดิษฐไพเราะ(ครู มีแขก) ได้ขยาย
ขึ้นในช่วงปลายรัชกาลที่ 3 ถึงต้นรัชกาลที่ 4 แห่งรัตนโกสิ นทร์จนกระทัง่ ถึงยุคที่นิยมเพลงเถาราวสมัยรัชการที่6
แห่งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ได้มีผชู ้ านาญการทางด้านดนตรี ไทยนาเพลงสารถีมาประดิษฐ์ข้ ึนเป็ นทางเดี่ยว เพื่อใช้
อวดฝี มือของเครื่ องดนตรี ทุกชนิด ในปัจจุบนั เพลงสารถี สามชั้น นิยมบรรเลงอย่างแพร่ หลายไม่วา่ จะเป็ นวง
มโหรี วงเครื่ องสาย และวงปี่ พาทย์ เนื่องจากเพลงสารถี สามชั้น เป็ นทางพื้นที่มีท่วงทานองไม่โลดโผนง่ายต่อ
การจดจา อีกทั้งยังเป็ นเพลงที่นกั ดนตรี ส่วนใหญ่จะชื่นชอบจึงได้นาเพลงสารถีมาบรรเลงรวมวงและบรรเลง
เดี่ยวจนได้รับความนิยมอย่างแพร่ หลายมาจนถึงปัจจุบนั
บทที่ 3

วิธีการดาเนินงานวิจัย

การวิจยั ครั้งนี้เป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพ ทาการเก็บข้อมูลโดยการค้นคว้าจากเอกสาร งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง


และการสัมภาษณ์ ทั้งนี้เพื่อให้การวิจยั บรรลุวตั ถุประสงค์ของการวิจยั ที่กาหนดไว้ ผูว้ ิจยั ได้ดาเนินการ
ตามลาดับขั้นตอนดังนี้

1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

2.การค้นคว้ารวบรวมข้อมูล

3.เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั

4.วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

5.การวิเคราะห์ขอ้ มูล

1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง

ประชากรที่ใช้ในครั้งนี้ คือ เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่

กลุ่มตัวอย่างในการทาวิจยั ครั้งนี้ คือ อาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช

กลุ่มตัวอย่างในการทาวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการเลือกตัวอย่างที่มีคุณลักษณะพิเศษที่ตอ้ งการศึกษา และกลุ่ม 16


ตัวอย่างนั้นมีจานวนจากัดและมีลกั ษณะเฉพาะตามเรื่ องที่จะศึกษา เนื่องจาก อาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช เป็ น
ผูเ้ ชี่ยวชาญและมีชื่อเสี ยงทางด้านดนตรี ไทย

จากการสื บค้นข้อมูลจากหนังสื อ พบว่าเป็ นวิธีการสุ่ มกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธี


การสุ่ มกลุ่มตัวอย่ างโดยไม่ ใช้ หลักความน่ าจะเป็ น คือ การสุ่ มโดยไม่ตอ้ งคานึงถึงโอกาสความน่าจะเป็ น แต่เป็ น
การเลือกกลุ่มตัวอย่างตามความเหมาะสมตามสถานการณ์ ไม่ตอ้ งอ้างอิงถึงประชากร ดังนั้นการเลือกตัวอย่างจึง
ไม่ใช่ตวั แทนที่ดีของประชากร การเลือกตัวอย่างนี้มี 4 วิธี คือ

1.การเลือกแบบบังเอิญ

2.การเลือกแบบโควตา

3.การเลือกแบบเจาะจง

4.การเลือกแบบเสนอแนะให้เห็นพ้องกัน

ซึ่งงานวิจยั เรื่ อง เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ กรณี ศึกษา อาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช จัดอยูใ่ นตัวเลือก

การเลือกแบบเจาะจง คือ เป็ นการเลือกตัวอย่างที่มีคุณลักษณะพิเศษที่ตอ้ งการศึกษา และกลุ่มตัวอย่างนั้นมี


จานวนจากัดและมีลกั ษณะเฉพาะตามเรื่ องที่จะศึกษา เช่น การเลือกผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูท้ รงคุณวุฒิเฉพาะด้าน

2.การค้ นคว้ ารวบรวมข้ อมูล

2.1 เอกสารและตาราต่างๆ
17
2.1.1. หนังสื อเกี่ยวกับการบรรเลงฆ้องวงใหญ่

2.1.2 หนังสื อเกี่ยวกับทฤษฎีดนตรี

2.1.3. หนังสื อเกี่ยวกับสารานุกรมดนตรี

2.1.4. หนังสื อเกี่ยวกับครู ผเู ้ ชี่ยวชาญดนตรี


2.2 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

2.2.1. งานวิจยั ของ ธนเนตร์ ชาพาลี ศึกษาวิจยั เรื่ อง วิเคราะห์เปรี ยบเทียบ เดี่ยวฆ้องวงใหญ่
เพลงอาเฮีย ๓ ชั้น ทางครู หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) กับทางครู สอน วงฆ้อง

2.2.2. งานวิจยั ของ นภดล คลาทัง่ ศึกษาวิจยั เรื่ อง วิเคราะเดี่ยวฆ้องวงใหญ่เพลงทยอยเดี่ยว


ทางครู สอน วงฆ้อง

2.2.3. งานวิจยั ของ นันทวัน ตอบงาม ศึกษาวิจยั เรื่ อง การเรี ยนฆ้องวงใหญ่ข้นั พื้นฐาน

2.2.4. งานวิจยั ของ ปานตา ศรี คง ศึกษาวิจยั เรื่ อง คู่มือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง ๘ เสี ยง
สาคัญของฆ้องวงใหญ่ เพื่อนาไปใช้ในเพลงเดี่ยว

2.2.5 งานวิจยั ของ พิเชษฐ์ วิลยั พฤกษ์ ศึกษาวิจยั เรื่ อง การบรรเลงเพลงเดี่ยว ฆ้องวงใหญ่
เพลงสารถี สามชั้น ของครู สุพตั ร แย้มทับ

2.3 การเก็บข้อมูลภาคสนาม
18
2.3.1. ต่อติดขอเก็บข้อมูลจากอาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช

2.3.2. นัดวันขอเก็บข้อมูลจากอาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช

2.3.3. ทาการสัมภาษณ์และบันทึกวีดีโออาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช

2.3.4. รวบรวมและเรี ยบเรี ยงข้อมูล

3.เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจยั
3.1. แบบฟอร์มการสัมภาษณ์ โดยจะใช้การสัมภาษณ์ลกั ษณะที่เรี ยกว่า การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงร่ าง

การสั มภาษณ์ แบบไม่ มีโครงร่ าง

เป็ นการสัมภาษณ์ที่ไม่ทีคาถามกาหนดไว้ล่วงหน้าแน่นอน ผูส้ มั ภาษณ์สามารถเปลี่ยนแปลงคาถามได้


ตลอดเวลา ตามสถานการณ์ แต่ตอ้ งมุ่งให้ได้ขอ้ มูลตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ การสัมภาษณ์ในแบบนี้ ผูส้ มั
ภาษษณ์จะต้องมีความชานาญการและต้องจาคาถามต่างๆได้

การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ที่กล่าวมาจะเป็ นการสนทนาแบบตัวต่อตัวระหว่างผูส้ มั ภาษณ์กบั


ผูถ้ ูกสัมภาษณ์ ซึ่งวิธีการสัมภาษณ์แบบนี้ ผูว้ ิจยั จะใช้กนั มากในการเก็บข้อมูลงานวิจยั

3.3.1. ศึกษาวิธีการสร้างแบบสัมภาษณ์

3.3.2. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่

3.3.3. สร้างแบบฟอร์มการสัมภาษณ์
19
3.3.4. นาแบบฟอร์มการสัมภาษณ์ไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3.2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ใช้การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงพรรณนา

4. วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล

ในการดาเนินการวิจยั ครั้งนี้ ได้ดาเนินการเก็บข้อมูลดังนี้

4.1. ติดต่อขออนุญาติอาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพสนิช เพื่อทาการเก็บข้อมูลในเรื่ องของเทคนิคการตีฆอ้ งวง


ใหญ่
4.2. สื บค้นข้อมูลเกี่ยวกับเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่จากตารา และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

4.3. นัดวันและเวลาเพื่อขอสัมภาษณ์อาจารย์สุเชาว์ หริ มพานิช

4.4. ทาการเก็บข้อมูล บันทึกวีดีโอ

4.5. รวบรวม และ เรี ยบเรี ยงวิเคราะห์ขอ้ มูล

20

5. การวิเคราะห์ ข้อมูล

ในการศึกษาเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ กรณี ศึกษาอาจารย์สุเชาว์ หริ มพานิช ใช้การวิเคราะห์เชิง


พรรณนา โดยเริ่ มศึกษาข้อมูลจากการสื บค้าข้อมูลพื้นฐานเพื่อทาความเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคนิคการตีฆอ้ งวง
ใหญ่ ทั้งจากหนังสื อที่มีอยู่ หนังสื อจากห้องสมุดในที่ต่างๆ หนังสื อจากอาจารย์หลายๆท่าน รวมไปถึงงานวิจยั
ขั้นต่อมาได้ติดต่ออาจารย์สุเชาว์ หริ มพานิช เพื่ออย่างจะทาการสัมภาษณ์ โดยท่านมีความเต็มใจที่จะให้ขอ้ มูล
ทั้งในประเด็นที่ตรงกับงานวิจยั และความรู ้ในด้านอื่นๆ ทาให้การสัมภาษณ์เป็ นไปในแนวการพูดคุย ท่าน
ถ่ายทอดความรู ้ผา่ นการเล่าเรื่ องราวในอดีต ปัจจุบนั แล้วยังมีแนวทางสาหรับอนาคต ได้ความรู ้ใหม่ๆมาก
หลังจากผูว้ ิจยั ได้รวบรวมข้อมูลทั้งจากเอกสารต่างๆและการสัมภาษณ์แล้ว ก็ได้นามารวบรวมไว้ในงานวิจยั
ฉบับนี้
บทที่ 4

ผลการศึกษา
ในการศึกษาวิจยั เรื่ อง เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ กรณี ศึกษา อาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช มีวตั ถุประสงค์
เพื่อศึกษาและรวบรวมเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ มีการปฏิบตั ิเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ โดยเริ่ มจาก

ท่ าจับไม้ ฆ้องวงใหญ่

เริ่ มด้วยการหงายมือจับไม้ตีขา้ งละอัน ให้กา้ นไม้ตีพาดอยูใ่ นกลางร่ องอุง้ มือ พร้อมกับใช้นิ้วกลาง นาง
ก้อย จับก้านไม้ตีฆอ้ งไว้ และใช้นิ้วหัวแม่มือแตะอยูท่ ี่ดา้ นข้างปลายนิ้วชี้ กดที่ดา้ นข้างของก้านไม้ตีฆอ้ ง โดยให้
ปลายนิ้วชี้อยูช่ ิดกับหัวไม้ตีฆอ้ งในลักษณะที่จะใช้ควบคุมเสี ยงของฆ้องวงใหญ่ แล้วคว่ามือลง เมื่อพร้อมที่จะลง
มือบรรเลง แขนทั้งสองอยูข่ า้ งลาตัว งอข้อศอกเป็ นมุมฉากพองาม

การจับไม้ ให้จบั แน่น และสามารถหมุนไม้ฆอ้ งในขณะบรรเลงได้ในขั้นสูงขึ้น

วิธีตีฆ้องวงใหญ่

ลักษณะการตี

1. ต้องตีให้หน้าไม้ตีต้ งั ฉากกับลูกฆ้อง

2. ตีถูกตรงกลางปุ่ มฆ้องให้เต็มปื้ นไม้ตี

3. ใช้ขอ้ มือและกล้ามเนื้อแขนเป็ นหลัก


22
4. ยกไม้ตีสูงพอควร (ประมาณ 5-6 นิ้วฟุต) ในขั้น 1-3

5. ขณะบรรเลงควรหมุนหน้าไม้ตี เพื่อไม่ให้หวั ไม้ตีเสี ยรู ปทรง และกระทาได้ถูกกาละเทศะ

6. ขณะเตรี ยมปฏิบตั ิ ห้ามใช้ขอ้ ศอกท้าวไปที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของวงฆ้อง


วิธีการตี

1. ตีไล่เสี ยงทีละมือขึ้นลง

ใช้มือซ้ายตีที่ลูกทัง่ (ลูกทวน) หรื อลูกที่มีเสี ยงต่าสุ ด ซึ่งอยูท่ างซ้ายมือของผูบ้ รรเลง และตีเรี ยงเสี ยงขึ้น
ไป จนได้คู่แปดกับลูกทัง่ คือครึ่ งวงของลูกฆ้อง แล้วเปลี่ยนไปใช้มือขวาไล่ต่อจนถึงลูกยอด หรื อลูกที่มีเสี ยง
สูงสุ ด ซึ่งอยูท่ างขวามือของผูบ้ รรเลง และในทานองกลับกันใช้มือขวาตีที่ลูกยอดไล่เรี ยงเรี ยงลงมาให้ได้คู่แปด
กับลูกยอด แล้วเปลี่ยนไปใช้มือซ้ายไล่เรี ยงเสี ยงลงมาจนถึงลูกทัง่

2. ตีไล่เสี ยงสลับมือ

การตีสลับมือซ้ายมือขวาจากเสี ยงต่าสุ ดไปหาเสี ยงสูงโดยใช้มือซ้ายตีลงไปก่อนแล่วตามด้วยมือขวา เมื่อ


มือขวาตีถึงลูกยอด(เสี ยงสูงสุ ด) ให้ตีถอยลงมาโดยเริ่ มด้วยมือซ้ายตีลงที่ลูกรองยอดก่อน ตามด้วยมือขวาตีลงที่
ลูกยอดแล้วตีสลับกลับลงมาจนถึงเสี ยงต่าสุ ด

3. ตีสองมือพร้อมกันเป็ นคู่ต่างๆ

3.1. ลงน้ าหนักมือเท่ากัน ใช่มือซ้ายและมือขวาตีลงไปที่ลูกฆ้องพร้อมกัน โดยใช้น้ าหนักมือทั้งสอง


เท่ากันและมีเสี ยงประมาณกัน

3.2. เน้นน้ าหนักมือขวามากกว่ามือซ้าย ใช้มือซ้ายและมือขวาตีลงไปที่ลูกฆ้องพร้อมกันทั้งสองมือ


โดยเน้นน้ าหนักมือขวาที่ตีลงไปให้ดงั ชัดเจนกว่ามือซ้ายเล็กน้อย

3.3. เน้นน้ าหนักมือซ้ายมากกว่ามือขวา มือซ้ายและมือขวาตีลงไปที่ลูกฆ้องพร้อมกันทั้งสองมือ โดย 23


เน้นน้ าหนักมือซ้ายที่ตีลงไปให้ดงั ชัดเจนกว่ามือขวาเล็กน้อย

4. ตีกรอคู่ต่างๆ

4.1. ลงน้ าหนักมือเท่ากัน โดยการใช้มือซ้ายตีลงก่อนแล้วตามด้วยมือขวาสลับกันให้เกิดพยางค์ถี่ๆ มือ


ซ้ายและมือขวาต้องมีน้ าหนักเท่ากัน โดยให้จบลงด้วยมือขวา
4.2. ลงน้ าหนักมือขวามากกว่ามือซ้าย วิธีตีใช้มือซ้ายตีลงก่อนแล้วตามด้วยมือขวาสลับกันให้เกิด
พยางค์ถี่ๆ แต่ให้มือขวามีน้ าหนักมากกว่ามือซ้ายเล็กน้อย โดยให้จบลงด้วยมือขวา

4.3. ลงน้ าหนักมือซ้ายมากกว่ามือขวา วิธีตีใช้มือซ้ายตีลงก่อนแล้วตามด้วยมือขวาสลับกันให้เกิด


พยางค์ถี่ๆ เน้นน้ าหนักมือซ้ายให้ดงั ชัดเจนมากกว่ามือขวาเล็กน้อย โดยให้จบลงด้วยมือขวา

5. ตีสะบัดขึ้นลง

การใช้มือซ้ายตีลงไปหนึ่งเสี ยงและตามด้วยมือขวาสองเสี ยง โดยใช้ความเร็ วพอประมาณ และในทาง


กลับกัน ใช้มือขวาตีลงไปหนึ่งเสี ยงและตามด้วยมือซ้ายสองเสี ยง ด้วยความเร็ วพอประมาณ ทั้งแบบการตีเรี ยง
เสี ยงและข้ามเสี ยง

6. ตีประคบมือขวา

6.1.ตีหนึบ

ใช้มือขวาตีลงไปที่ปุ่มของลูกฆ้อง แล้วยังคงวางแตะไว้ คือ ไม่ยกมือและไม่กดมือที่ลูกฆ้อง

6.2.ตีหนับ

ใช้มือขวาตีลงไปที่ปุ่มของลูกฆ้อง แล้วยกไม้ตีข้ ึนเพียงเล็กน้อย เพื่อให้เกิดเสี ยงกังวาน 24


พอประมาณ แล้วจึงใช้ไม้ตีกดลงเพื่อห้ามเสี ยง

6.3.ตีหนอด

ใช้มือขวาตีลงไปที่ปุ่มของลูกฆ้อง แล้วยกไม้ตีข้ ึนเพื่อให้เกิดเสี ยงดังกังวานยาวพอควร แล้วจึง


ใช้ไม้ตีกดห้ามเสี ยง

6.4.ตีโหน่ง
ใช้มือขวาตีลงไปที่ปุ่มของลูกฆ้องด้วยการใช้กาลังแขนและข้อมือ ช่วยเน้นให้มีเสี ยงกังวาน
แล้วรี บยกมือขึ้นทันที

7. ตีประคบมือซ้าย

7.1. ตีแตะ

ใช้มือซ้ายตีลงไปที่ปุ่มลูกฆ้อง แล้วยังคงวางแตะไว้ คือไม่ยกมือ และไม่กดมือที่ลูกฆ้อง

7.2. ตีตะ

ใช้มือซ้ายตีลงไปที่ปุ่มลูกฆ้อง แล้วยกไม่ตีเพียงเล็กน้อย เพื่อให้เกิดเสี ยงดังกังวานพอประมาณ


แล้วใช้ไม่ตีกดลงไปเพื่อห้ามเสี ยงทันที

7.3. ตีตีด

ใช้มือซ้ายตีลงไปที่ปุ่มลูกฆ้อง แล้วยกไม้ตีข้ ึนเพื่อให้เกิดเสี ยงดังกังวานพอควร แล้วจึงใช้ไม้ตี


กดห้ามเสี ยง

7.4. ตีติง 25
ใช้มือซ้ายตีลงไปที่ปุ่มของลูกฆ้องด้วยการใช้กาลังแขนและข้อมือ ช่วยเน้นให้มีเสี ยงกังวาน
แล้วรี บยกมือขึ้นทันที

8. ตีกระทบคู่ 3

การตี 2 มือ เป็ นคู่ 3 ให้เลี่อมกัน โดยมือซ้ายตีนาลงก่อนแล้วกดไว้ ส่ วนมือขวาตีตามลงไปด้วยน้ าหนักที่


มากกว่าแล้วยกขึ้นด้วยเสี ยงกังวาน

9. ตีกวาด ขึ้นลง คู่ 4 คู่ 8

9.1. ตีกวาดขึ้น คู่ 4 คู่ 8


ใช้มือขวากวาดขึ้น จากเสี ยงที่กาหนด ผ่านปุ่ มของลูกฆ้องไปให้ตรงจานวนคู่ 4 หรื อคู่ 8 ใน
จังหวะที่มือขวาเริ่ มกวาดขึ้น ให้มือซ้ายตีลงไปยังเสี ยงที่เริ่ มกวาดขึ้น ให้มือซ้ายตีลงไปยังเสี ยงที่เริ่ ม
กวาด เมื่อกวาดถึงเสี ยงที่ตอ้ งการ (คู่ 4 หรื อ 8)แล้ว ทั้งมือซ้ายและมือขวาตีพร้อมกันให้ลงจังหวะ

9.2. ตีกวาดลง คู่ 4 คู่ 8

ใช้มือขวากวาดลง จากเสี ยงที่กาหนด ผ่านปุ่ มของลูกฆ้องไปให้ตรงจานวนคู่ 4 หรื อคู่ 8 ใน


จังหวะที่มือขวาเริ่ มกวาดลงถึงเสี ยงที่ตอ้ งการ (คู่ 4 หรื อ 8)แล้ว ทั้งมือซ้ายและมือขวาตีพร้อมกันให้ลง
จังหวะห่างกันคู่ 4 (มือขวาอยูต่ าแหน่งเสี ยงที่ตอ้ งการ)

9.3. ตีกวาด ขึ้น-ลง

ใช้มือขวากวาดลงจากเสี ยงที่ตอ้ งการ แล้วกวาดขึ้น ในขณะที่มือขวากวาดขึ้น ให้มือซ้ายตีลง


จังหวะไปยังเสี ยงที่ตอ้ งการ เมื่อมือขวากวาดขึ้นยังเสี ยงที่ตอ้ งการแล้ว ทั้งมือซ้ายและมือขวาตีพร้อมกัน
เป็ นคู่แปดให้ลงจังหวะ

10. ตีสองมือพร้อมกันเป็ นคู่ จากคู่ 8 ถึง 16 26


ใช้มือขวาตีลงที่ปุ่มของลูกฆ้องลูกยอดหรื อลูกรองยอด และใช้มือซ้ายตีให้ได้คู่แปดกับลูกยอดหรื อลูก
รองยอด ให้มือขวาตียนื เสี ยงอยูล่ ูกเดิม แล้วใช้มือซ้ายไล่เสี ยงจากคู่ 8 ลงไปจนครบคู่ 16

11. ตีกรอคู่ต่างๆ ตั้งแต่คู่ 8 ถึง คู่ 16

ใช้มือซ้ายตีลงที่ปุ่มของลูกฆ้องลูกทัง่ หรื อลูกทวน และใช้มือขวาตีให้ได้คู่แปดกับลูกทัง่ หรื อลูกทวน


และใช้มือขวาตีให้ได้คูแ้ ปดกับลูกทัง่ หรื อลูกทวนในลักษณะของการกรอใช้มือขวาตีกรอขึ้นไปทีละ
เสี ยง จนครบคู่ 16 โดยให้มือซ้ายตียมื เสี ยงอยูล่ ูกเดิม

12. ตีสะบัดสอดสานวน

ใช้วิธีตีสบัดตามปกติ สลับการดาเนินทานองเป็ นประโยคๆไป

13. ตีโปรย
ใช้วิธีตีสลับไล่เสี ยงซ้ายขวา พร้อมทั้งสะบัดข้อมือซ้ายขวาเล็กน้อยในลักษณะอาการเปิ ดมือพอประมาณ

14. ตีสะบัดเฉี่ยว

ใช้มือขวาตีสองเสี ยง และใช้มือซ้ายตีหนึ่งเสี ยงทั้งขาขึ้นและขาลง

15. ตีไขว้มือ

ใช้มือขวาตียนื่ หนึ่งเสี ยง และใช้มือซ้ายตีอีกหนึ่งเสี ยงเป็ นคู่สลับกับมือขวา แล้วยกมือซ้ายข้ามมือขวาใน


ลักษณะของกากบาท ให้ได้คู่ต่างๆตามที่ตอ้ งการ หรื อกลับกัน (คือยืนเสี ยงมือหนึ่งและเดินเสี ยงอีกมือ
หนึ่ง)

16. ตีสบัดห้ามเสี ยง

ใช้วิธีตีสบัดตามปกติ พร้อมทั้งมีการประคบมือ
27

17. ตีกรอด

ใช้มือขวาตียนื เสี ยงในลักษณะสปริ งข้อมือเล็กน้อย(ให้เกิดเสี ยงชิดกันไม่ต่ากว่า 2 ครั้ง) แล้วใช้มือซ้าย


กดห้ามเสี ยงทันที ตั้งแต่คู่สองขึ้นไป

18. ตีสะบัด 3 ลูกสบัดกันระหว่างช่วงคู่แปด

ใช้วิธีตีสะบัดตามปกติธรรมดาหนึ่งครั้ง และตามด้วยการตีสะบัดตามปกติอีกหนึ่งครั้ง แต่การตีในครั้งที่


สองนี้ตอ้ งให้ได้คู่แปดกับการตีสบัดครั้งแรก

19. ตีสะบัด นาเสี ยงคู่ 8

ใช้วิธีตีสะบัดขึ้นลงตามปกติให้เป็ นคู่ตามที่ตอ้ งการ จากต่าไปหาสูง หรื อกลับกัน

20. ตีกรุ บ
ใช้มือซ้ายตียนื เสี ยงในลักษณะสปริ งข้อมือเล็กน้อย แล้วใช้มือขวากดห้ามเสี ยงทันทีต้ งั แต่คู่สองขึ้นไป

21. ตีกวาดโฉบเฉี่ยว

ใช้วิธีการตีกวาดขวาตามปกติ และใช้มือซ้ายตีเรี ยงเสี ยงไปอีกสองเสี ยง มี 2 แบบ คือกวาดขึ้น และกวาด


ลง

22. ตีปริ บ

ใช้วิธีการตีโปรยตามปกติ และใช้นิ้วชี้ทางซ้ายและขวากดก้านไม้ตีหา้ มเสี ยงทันที

23. ตีสะบัดระหว่างซ้ายขวาระหว่าง คู่ 8


28
ใช้วิธีการตีสะบัดขึ้นซ้าย 3 เสี ยง ขวา 3 เสี ยง ให้เป็ นคู่ตามที่ตอ้ งการ

วิธีตีในกรณีพเิ ศษ

1. ตีไขว้สอดมือ

ใช้มือขวาตียนื หนึ่งเสี ยงและใช้มือซ้ายไขว้สลับกันกับมือขวาไปมาจนจบวรรคตอนของเพลงระหว่าง


ช่วงคู่ 8 และเมื่อจบประโยคเพลงต้องหมดที่มือซ้าย

2. ตีกวาดคู่ 16

ใช้วิธีตีกวาดตามปกติ และเพิ่มจานวนลูกในการกวาดให้ได้ครบ 16 ลูก ขาขึ้นใช้มือขวากวาดนา ขาลง


ใช้มือซ้ายกวาดนา

3. การประคบเสี ยงประสมมือ

ใช้มือซ้ายห้ามเสี ยงมือขวา หรื อใช้มือขวาห้ามเสี ยงมือซ้าย วิธีบรรเลงเป็ นลักษณะเดียวกับการตีดูดของ


ระนาดทุม้ ไม้
3.1. เป็ นเสี ยงที่เกิดจากการบังคับเสี ยง โดยใช้มือทั้งสองร่ วมกันบังคับเสี ยง คือการตีมือขวาด้วยเสี ยง
เปิ ด แล้วห้ามเสี ยงด้วยมือซ้าย หรื อการปฏิบตั ิในทางตรงข้าม โดยแบ่งเป็ นประคบเสี ยงขึ้นและประคบ
เสี ยงลง

3.2.เสี ยงประคบที่เกิดจากการบังคับเสี ยง โดยใช้มือข้างเดี่ยวทาให้เกิดเสี ยงเปิ ด แล้วห้ามเสี ยง โดยการ


กดหัวไม้กบั ลูกฆ้องที่เกิดเสี ยงนั้นๆ

4. การฉายมือ หรื อการตีฉายมือ

วิธีน้ ีมกั จะมีอยูใ่ นการบรรเลงเพลงเดี่ยว เป๋ นการตีที่เพิ่มทานองให้ละเอียดขึ้นกว่าธรรมดา

5. ตีกระทบคู่ 8 ในลักษณะสะบัด 3 ลูก

การสะบัดใช้มือขวาสองลูก และใช้มือซ้ายหนึ่งลูก ช่วงระยะคู่ 8


บทที่ 5

สรุปผล อภิปราย ข้ อเสนอแนะ


วิจยั เรื่ อง เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ กรณี ศึกษา อาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาและ
รวบรวมเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ มีการปฏิบตั ิเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ โดยเริ่ มจาก ท่าจับไม้ฆอ้ งวงใหญ่ ซึ่ง
อธิบายถึงลักษณะวิธีการจับไม้ เพื่อเตรี ยมพร้อมในการปฏิบตั ิ ,วิธีการตีฆอ้ งวงใหญ่ โดยแบ่งหัวข้อย่อยออกเป็ น
ลักษณะการตีฆอ้ งวงใหญ่ ซึ่งกล่าวถึงลักษณะการเคลื่อไหวของข้อมือและกล้ามเนื้อแขน และ วิธีการตี ที่ผวู ้ ิจยั
สามารถรวบรวมได้ท้ งั หมด 41 วิธี แต่ละวิธีอธิบายถึงการปฏิบตั ิไว้โดยละเอียด

จากการสัมภาษณ์ อาจารย์ สุ เชาว์ หริ มพานิช ในความรู ้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคนิดการตีฆอ้ งวงใหญ่ สรุ ป


โดยรวม คือ เทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ที่มีนอกเหนือจากในตาราต่างๆได้กาหนดไว้ คือการเอาสิ่ งที่มีในตารานั้น
มาประยุค ผสมผสานกันออกมาได้เป็ นเทคนิคการตีแบบใหม่ ซึ่งผูเ้ ชี่ยวชาญในแต่ละคนนั้นจะมีเทคนิคที่
แตกต่างกัน เทคนิกที่วา่ นั้นมีมากมาย เพราะเป็ นเทคนิคที่สามารถคิดขึ้นมาใหม่ได้เรื่ อยๆแล้วแต่สถาณการณ์ ณ
ขณะนั้น และในการฝึ กฝนจะศึกษาจากตาราอย่างเดียว ในบางกรณี ผฝู ้ ึ กจะไม่สามารถเข้าใจได้อย่างชัดเจน ทั้งนี้
ต้องได้รับการถ่ายทอดให้เห็นภาพด้วยคาพูดจากครู ผสู ้ อน ซึ่งสอดคล้องกับ สุ รวิทย์ ไชยพงศาวลี. (2526). อุทศิ
นาคสวัส. กล่าวว่า “ บัดนี้คุณหญิงชิ้นได้มอบ “มือฆ้อง” ซึ่งท่านครู เขียนไว้ดว้ ยลายมือของท่านเองมาให้ ใช้เวลา
อ่านละคิดกันนานพอควร มือฆ้องต่างๆเหล่านี้ ท่านครู เขียนเป็ นทานองบันทึกความทรงจาส่ วนตัวของท่าน
ฉะนั้นท่านจึงเขียนเองและเข้าใจเอาเอง ถ้าใครไม่เคยได้รับคาอธิบายเรื่ องนี้มาโดยตรงจากท่านก็เห็นจะแย่หน่อย

ปัญหาและอุปสรรคของงานวิจยั

ในการรวบรวมเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ครั้งนี้ ในการสัมภาษณ์ของผูว้ ิจยั ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ คือ อาจารย์สุ


เชาว์ หริ มพานิช ได้กล่าวไว้วา่ เทคนิคในการตีฆอ้ งวงใหญ่มีมากมายจนบอกไม่หมด กล่าวคือ สามารถคิดค้น
ขึ้นใหม่ได้เรื่ อยๆ ทาให้ผวู ้ จิ ยั รวบรวมเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ไว้น้ นั ยังไม่ท้ งั หมดที่มีของเทคนิคการตีฆอ้ งวง
ใหญ่ แต่กม็ ีมากพอที่ให้ผสู ้ นใจศึกษาได้ความรู ้ไปพอสมควร
ข้ อดีของงานวิจยั

1. ทาให้ผวู ้ จิ ยั ในฐานะผูเ้ รี ยนฆ้องวงใหญ่ ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลและได้สิ่งใหม่ๆ นามาใช้ในการเรี ยน

2.ได้ศึกษาการดาเนินการวิจยั ที่สามารถนาไปปรับใช้ได้กบั การเรี ยนต่อในขั้นสูง หรื อการทางานต่อในอนาคต

ข้ อเสี ยของงานวิจยั

1. ผูว้ ิจยั ยังด้อยประสบการณ์ในการทาวิจยั ในครั้งนี้ จึงทาให้บางขั้นตอนอาจจะยังไม่สมบูรณ์มากเท่าที่ควร

ข้ อเสนอแนะของงานวิจยั

1.ผูว้ ิจยั ควรศึกษาเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่จากผูเ้ ชี่ยวชาญ หรื อครู ผสู ้ อนฆ้องวงใหญ่ให้หลากหลายมากกว่านี้


เพื่อเป็ นการเพิม่ ทักษะในเทคนิคการตีฆอ้ งวงใหญ่ และได้เป็ นความรู ้เพื่อเติมเพื่อบันทึกไว้ให้ผทู ้ ี่สนใจศึกษาต่อ
ได้อย่างหลากหลาย
บรรณนุกรม

กาญจนา อินทรสุ นานนท์) .2545 .(สารานุกรม ดนตรี และ เพลงไทย .กรุ งเทพมหานคร:สานักพิมพ์

พ พิมพ์ครั้งที่) เกณฑ์มาตรฐานสาขาวิชา และ วิชาชีพดนตรี ไทย.พัฒนา จากัด .ศ.1) .(2538 .(

กรุ งเทพมหานคร:ห้างหุน้ ส่ วนจากัด สานักพิมพ์ประกายพรึ ก

คณะกรรมการจัดงานดนตรี ไทยอุดมศึกษา ครั้งที่37) .2552 .(ดนตรีพธิ ีกรรม .กรุ งเทพมหานคร:บริ ษทั

เท็คโปรโมชัน่ แอนด์ แอดเวอร์ไทซิ่ง จากัด.

ธนเนตร์ ชาพาลี .2549. วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เดี่ยวฆ้ องวงใหญ่ เพลงอาเฮีย ๓ ชั้น ทางครูหลวง

ประดิษฐไพเราะ .กับทางครูสอน วงฆ้ อง (ศร ศิลปบรรเลง)ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นันทวัน ตอบงาม .2536. การเรียนฆ้ องวงใหญ่ ข้นั พืน้ ฐาน .ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นภดล คลาทัง่ .2551. วิเคราะเดี่ยวฆ้ องวงใหญ่ เพลงทยอยเดี่ยว ทางครูสอน วงฆ้ อง .ภาควิชาดนตรี

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .

ประดิษฐ์ อินทนิล) .2536 .(ดนตรีไทย และ นาฏศิลป์ .กรุ งเทพมหานคร:สุ วีริยาสาน์น จัดพิมพ์.
32

ปานตา ศรี คง .2555. คู่มือการฝึ กเทคนิคการบรรเลง ๘ เสี ยงสาคัญของฆ้ องวงใหญ่

เพือ่ นาไปใช้ ในเพลงเดี่ยว .ชาดนตรี ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสาขาวิ .

พิเชษฐ์ วิลยั พฤกษ์ .2551. การบรรเลงเพลงเดี่ยว ฆ้ องวงใหญ่ เพลงสารถี สามชั้น ของครูสุพตั ร แย้ ม
ทับ.ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .

ไพศาล อินทวงศ์) .2548 .(คลินิคดนตรีไทย .กรุ งเทพมหานคร:สานักพิมพ์ สุ วีริยาสาส์น.

พงษ์ศิลป์ อรุ ณรัตน์) .2554 .(ปฐมบทดนตรีไทย .นครปฐม:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์.

ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และ อัจฉรา ชานิประศาสน์ , วิชา ระเบียบวิธีวจิ ัย , กรุ งเทพ:พิมพ์ดีการพิมพ์

จากัด , 2547,หน้า106-107.

ภิชาต เลณะสวัสดิ์) .2547 .(มือฆ้ อง .กรุ งเทพมหานคร:สานักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร.

มานิต หล่อพินิจ) .2543 .(ดนตรีไทย .กรุ งเทพมหานคร:หจก.ทิพยวิสุทธ์.

สงบศึก ธรรมวิหาร) .2542 .(ดุริยางค์ ไทย .กรุ งเทพมหานคร:สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงณ์มหาวิทยาลัย.

สารานุกรมศัพท์ดนตรี ไทย ภาคคีตะ-ดุริยางค์ พิมพ์ครั้งที่)1) .(2540กรุ งเทพมหานคร .(:โรงพิมพ์มหา

จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุ รพล กาญจนะจิตรา) .2549 .(ระเบียบวิธีวจิ ัยทางสั งคมศาสตร์ .กรุ งเทพมหานคร:โรงพิมพ์แห่ง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุ รวิทย์ ไชยพงศาวลี) .2526 .(อุทศิ นาคสวัส .กรุ งเทพมหานคร:เจริ ญวิทย์การพิมพ์. 33

สุ จิตต์ วงษ์เทศ) .2542 .(ร้ องราทาเพลง ดนตรีและนาฏศิลป์ ชาวสยาม .กรุ งเทพมหานคร:บริ ษทั พิฆเณศ

พริ้ นท์ติ้ง เซ็นเตอร์ จากัด.

สุ จิตต์ วงษ์เทศ) .2553 .(ดนตรีไทย มาจากไหน .นครปฐม:สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยดุริยางคศิลป์

มหาวิทยาลัยมหิ ดล.
สุ เชาว์ หริ มพานิช .สั มภาษณ์ วันศุกร์ ที่ .23 สิ งหาคม พ.ศ.2556.

อนันท์ นาคคง, อัษฎาวุธ สาคริ ก, สุ จิตต์ วงษ์เทศ) .2547 .(หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

มหาดุริยกวีล่มุ เจ้ าพระยาแห่ งอุษาคเนย์ . กรุ งเทพมหานคร:สานักพิมพ์มติชน.


ภาคผนวก
ภาคผนวก ก

ประวัติ อาจารย์ สุเชาว์ หริมพานิช

ผู้ให้ สัมภาษณ์
36

ประวัติ อาจารย์ สุเชาว์ หริมพานิช

เกิดเมื่อ วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2491

การศึกษา
พ.ศ. 2499 จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนป้ องแผลงไฟฟ้ า อาเภอพระประแดง จังหวัด
สมุทรปราการ

พ.ศ. 2509 จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนวัดทรงธรรม อาเภอพระประแดง จังหวัด


สมุทรปราการ

พ.ศ. 2512 จบหลักสูตรอาชีวศึกษาผูใ้ หญ่ 6 เดือน โรงเรี ยนช่างกลปทุมวัน กรุ งเทพฯ

พ.ศ. 2509-2510 ทางานครั้งแรงที่บริ ษทั ผลิตท่อเหล็กของญี่ปุ่น

พ.ศ. 2510-2511 ทางานบริ ษทั สร้างรถบรรทุก มิตรยิชิของญี่ปุ่น

พ.ศ. 2511-2545 ทาการรถไฟแห่งประเทศไทย หัวลาโพง ตาแหน่งสูงสุ ด คือ หัวหน้าช่าง

พ.ศ. 2545 ลาออกจากการรถไฟแห่งประเทศไทย

ปัจจุบนั เป็ นอาจารย์พิเศษสาขาวิชาดนตรี ไทยคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


37
และ
อาจารย์ประจาวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล

การศึกษาด้านดนตรี
อาจารย์สุเชาว์ หริ มพานิช เกิดทาในตระกูลนักดนตรี 2 สาย คือ สายบิดา เป็ นหัวหน้าวงปี่
พาทย์ไทย คุณลุงเป็ นครู สอนแตรวง คุณอาเป็ นหัวหน้าคณะลิเก สายมารดา มีคุณตาเป็ นหัวหน้าวงปี่
พาทย์มอญ จึงได้คลุกคลีกบั ดนตรี เหล่านี้มาตั้งแต่ยงั เด็ก และเมื่อถึงวัยเรี ยนรู ้ ก็ได้เริ่ มหัดตีฆอ้ งวง
ก่อน ได้เรี ยนระดับพื้นฐานทั้งปี่ พาทย์ไทยและปี่ พาทย์มอญควบคู่กนั ต่อมาได้ไปร่ วมกับวงดนตรี
อื่นๆ ทาให้มีประสบการณ์ทางด้านดนตรี มากขึ้น และได้มีโอกาสมอบตัวเป็ นศิษย์กบั ครู บุญยงค์
เกตุคง และครู บุญยัง เกตุคง ซึ่งเป็ นศิลปิ นแห่งชาติท้ งั สองท่าน ได้เรี ยนรู ้เพิ่มเติมตั้งแต่เพลงทัว่ ไป
ไปจนถึงเพลงเดี่ยว แล้วเรี ยนต่อด้วยเพลงหน้าพาทย์ช้ นั ต้น เพลงหน้าชั้นกลาง แล้วเพลงหน้าพาทย์
ชั้นสูงสุ ด จากนั้นได้รับมอบไม้ตีทุกชนิดในพิธีไหว้ครู เพื่อที่สามารถเป็ นครู ต่อเพลงให้แก่ผอู ้ ื่น
ต่อไปได้ ต่อมาอีกระยะหนึ่งได้เรี ยนการแต่งเพลงทัว่ ไป และเพลงประเภทเพลงเดี่ยว จนกระทัง่ ปี
พ.ศ. 2534 ในพิธีไหว้ครู อาจารย์สุเชาว์ หริ มพานิช ได้รับมอบโองการไหว้ครู จากครู บุญยัง เกตุคง
ให้เป็ นผูป้ ระกอบพิธีไหว้ครู ดนตรี ไทยได้
ภาคผนวก ข

ประวัตผิ ้ ูวจิ ัย
ประวัตผิ ้ ูวจิ ัย

นิสิตชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาดนตรีไทย ภาควิชาดนตรี

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร

ประวัติส่วนตัว
ชื่อ นางสาวมนชนก ใจตรง

เกิด วันเสาร์ ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534

ภูมิลาเนา เกิดที่จงั หวัดตราด อายุครบ 6 เดือน ได้ยา้ ยภูมิลาเนาไปที่จงั หวัดเชียงใหม่

บิดาชื่อ ร้อยตารวจตรี ประครอง ใจตรง มารดาชื่อ นาง อรพินทร์ ใจตรง

มีพี่นอ้ ง 2 คน เป็ นบุตรคนที่ 2 บุตรคนแรกชื่อ นางสาวหนึ่งฤทัย

ใจตรง
40

ประวัติการศึกษา
- สาเร็ จการศึกษาระดับชั้นอนุบาล จาก โรงเรี ยนอนุบาลสวนเด็ก เชียงใหม่ จังหวัด
เชียงใหม่
- สาเร็ จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยมศึกษา จาก โรงเรี ยนดารา
วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
- ปั จจุบนั เป็ นนิสิตชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาดนตรี ไทย ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประวัติการศึกษาด้านดนตรี
เรี ยนดนตรี ไทยครั้งแรก ที่โรงเรี ยนดาราวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ในชมรมดนตรี ไทย
ประจาโรงเรี ยน กับ อาจารย์กิตติ คุปตรัตน์ เริ่ มเรี ยนขิมเป็ นหลัก และเครื่ องดนตรี ไทยต่างๆในวง
เครื่ องสาย

ต่อมา อาจารย์กิตติ คุปตรัตน์ เกษียญอายุราชการ จึงได้ เรี ยนดนตรี ไทยต่อเนื่อง กับ อาจารย์
พิพฒั พงษ์ มาศิริ ตั้งแต่ช้ นั ประถมปลาย จนกระทัง่ จบการศึกษาระดับชั้นมัธยม เรื่ องเรี ยนเครื่ อง
ดนตรี ในวงปี่ พาทย์ครั้งแรกชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ในเครื่ องระนาดเอก และฆ้องวงใหญ่

หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาตรี สาขาวิชาดนตรี ไทย ภาควิชาดนตรี คณะ


มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื่ องดนตรี เอกฆ้อววงใหญ่ ได้ต่อเพลงตามหลักสู ตร
ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด และได้เรี ยนฆ้องวงใหญ่ กับอาจารย์ 2 ท่าน คือ อาจารย์ทวีศกั ดิ์ ศรี ผอ่ ง
และ อาจารย์สุเชาว์ หริ มพานิช

You might also like