You are on page 1of 2

มานุษยดนตรี วิทยา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มานุษยดนตรีวทิ ยา (อังกฤษ: Ethnomusicology) เป็ นศัพท์บญั ญัติขนในปี


ึ ค.ศ. (พ.ศ. ) โดย Jaap Kunst
ซึงนําคํานีมาใช้แทนคําว่า Comparative Music (ดนตรี เปรี ยบเทียบ) เป็ นสาขาหนึงของวิชาดนตรี และมีนิยามว่า "การศึกษาการณ์
ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของดนตรี และการเต้นรําในบริ บทท้องถินและบริ บทสากล"[ ] หรื อทีเจฟฟ์ ทอดด์ ติตอนกล่าวว่าเป็ น
"การศึกษาผูส้ ร้างดนตรี "[ ]
ื อง ศิลปะดนตรี ตะวันออก และดนตรี ร่วมสมัยในวิธีการสืบทอดแบบมุขปาฐะ (Oral
มนุษยดนตรี วทิ ยาเป็ นการศึกษาดนตรี พนเมื
Tradition) โดยมีประเด็นในการศึกษา อาทิเช่น รากฐานการก่อเกิดดนตรี การพัฒนาและความเปลียนแปลงทางดนตรี สัญลักษณ์และ
ลักษณะดนตรี เรื องราวทีเกียวข้องกับดนตรี โดยรอบ (บริ บท) บทบาทของหน้าทีของดนตรี ต่อสังคม โครงสร้างของดนตรี วิถีการดํารงอยูข่ อง
ดนตรี และดนตรี ทีเกียวข้องกับการเต้นรํา รวมถึงศิลปะดนตรี ประจําท้องถินหรื อดนตรี พนเมื
ื อง (Folk Song) ของตะวันตกด้วย
นักมานุษยดนตรี วทิ ยาจะมุ่งเน้นในการศึกษาดนตรี ทียังคงอยู่ (Living Music) ของวัฒนธรรมทีใช้การถ่ายทอดด้วยปากเปล่า
ไม่มีการบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร มุ่งศึกษาดนตรี ของผูไ้ ม่รู้หนังสื อ ดนตรี ของชนกลุ่มน้อย ดนตรี ทีถ่ายทอดด้วยปากเปล่าของชาติทีมี
วัฒนธรรมอันเก่าแก่ในซีกโลกตะวันออกและดนตรี พนเมื ื อง ใช้การรวบรวมข้อมูลในแง่พฤติกรรมของมนุษย์เพืออธิบายว่า มนุษย์เล่นดนตรี
เพืออะไร อย่างไร และวิเคราะห์บทบาทของดนตรี กบั พฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมนัน ๆ ดําเนินการศึกษาโดยการลงพืนทีภาคสนามเพือเก็บ
ข้อมูลและการบันทึกดนตรี ทีพบเพือนํามาจดบันทึก วิเคราะห์ และเก็บเป็ นหลักฐาน
การจดบันทึกดังกล่าวทําได้ วิธี คือ

1. การบันทึกโน้ตอย่างพอสังเขป (Prescriptive) เป็ นการบันทึกโน้ตอย่างคร่ าว ๆ ใช้เก็บเป็ นหลักฐานประกอบมากกว่านํามา


วิเคราะห์ทางทฤษฎีดนตรี
2. การบันทึกโน้ตอย่างละเอียด (Descriptive) เป็ นการบันทึกเสี ยงและจังหวะทีได้ยนิ อย่างละเอียดทีสุ ดเท่าทีจะทําได้
การวิเคราะห์ดนตรี ทาํ ได้ แบบ คือ

1. ทําการศึกษาโครงสร้างโดยสังเขปของดนตรี ชนิดนัน ๆ
2. ทําการศึกษาโดยลงลึกในแต่ละวัฒนธรรมดนตรี ซึงการศึกษาลักษณะลงลึกนี ในบางครังผูศ้ ึกษาสามารถรวบรวมเป็ นทฤษฎีดนตรี
โดยเฉพาะของชนชนาตินนั ๆ ได้เลย การศึกษาดนตรี แล้วลงลึกถึงวัฒนธรรมถือเป็ นสิ งสําคัญทีสุ ดของการศึกษามานุษยดนตรี วทิ ยา
เพราะจะทําให้ทราบถึงประวัติศาสตร์ ของประเทศ ประวัติศาสตร์ ดนตรี ความเปลียนแปลงของดนตรี ทีสอดคล้องกับสภาพสังคมและ
วัฒนธรรม สิงทียังคงอยู่ ทีกําลังพัฒนา และทีกําลังหมดสิ นไป

ความเป็ นมาของการศึกษาสาขาวิชามานุษยดนตรี วิทยา[แก้]


การศึกษาสาขาวิชานีเกิดขึนเมือศตวรรษที โดยเริ มมีการศึกษาดนตรี ต่างฃาติ หรื อดนตรี ต่างถิน พบหลักฐานเมือ ค.ศ. และยัง
พบหลักฐานทางวรรณคดีตะวันตกในศตวรรษที โดยเป็ นการศึกษากนตรี พนเมื ื องของชาวจีน แคนนาดา อินเดีย และฟิ นแลนด์ดว้ ย ใน
ศตวรรษที กลุม่ นักดนตรี วทิ ยาเริ มใช้การบันทึกเสี ยงลงกระบอกเสี ยงเพือเป็ นตัวอย่างสัน ๆ และเก็บเป็ นข้อมูลทางดนตรี
ในปี ค.ศ. คาร์ ล สตัมฟ์ (Carl Stumpf) ร่ วมกับ อ๊อตโต อับบราฮัม (Otto Abraham) ได้ศึกษาดนตรี ไทยจากการ
บันทึกกระบอกเสี ยงทีประเทศเยอรมัน และได้สรุ ประบบเสี ยงดนตรี ไทยไว้ในหนังสื อชือ Tonsystem and Musik der
Siamese
ในปี ค.ศ. ได้มีการศึกษาทางมานุษยดนตรี วทิ ยาอย่างจริ งจัง โดยการตังเป็ นสมาคมด้านมานุษยดนตรี วทิ ยาขึน (Society for
Ethnomusicology) มีการจัดประชุมกันของผูเ้ ชียวชาญดนตรี พนเมื ื องและนักมานุษยดนตรี วทิ ยา โดยมีบทบาทสําคัญต่อการพัฒนา
งานดนตรี ของซีกโลกตะวันออกอย่างมาก
ในช่วงปี ค.ศ. - มีการสรางทฤษฎีดา้ นมานุษยดนตรี วทิ ยาและระเบียบวิธีวจิ ยั ขึน ในช่วงนีความสนใจในการศึกษาเปลียนจาก
ส่ วนต่าง ๆ ของดนตรี ไปยังกรรมวิธีการสร้างดนตรี และการปฏิบตั ิดนตรี โดยเฉพาะในด้านการประพันธ์และแนวคิดทางดนตรี
ดนตรี วทิ ยา (Musicology) จึงเป็ นสาขาวิชาหลักทางด้านดนตรี ทีนอกเหนือจากสาขาวิชาทฤษฎีและปฏิบตั ิ ซึงจะเป็ นสาขาวิชา
ทีศึกษา รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ องค์ความรู ้ทีเกียวกับดนตรี บริ บททางด้านดนตรี และบริ บททางด้านวัฒนธรรมทีเกียวข้องกับดนตรี โดย
ใช้กระบวนการทางการวิจยั ทีเกียวเนืองกับองค์ความรู ้หลายๆด้านในเชิงวิชาการ เพือให้ได้ขอ้ มูล องค์ความรู ้ทีมีคุณภาพ และเป็ นประโยชน์ต่อ
กระบวนการศึกษา กระบวนการเรี ยนรู ้ และการพัฒนาทางด้านดนตรี ในสาขาวิชาต่างๆ ให้เติบโตไม่มีทีสิ นสุ ด และมีฐานทีมันคง เหมือนกับ
ต้นไม้ใหญ่ ทีเติบโตยิงใหญ่ แตกกิงก้านสาขาสร้างร่ มเงา มีดอกผลเพือขยายพันธุ์ มีรากแก้วทีหยังลึก สร้างความมันคง แข็งแรง ยืนหยัดต่อไป
อย่างทรงคุณค่า

อ้างอิง[แก้]
1. กระโดดขึน↑ Pegg, Carole: 'Ethnomusicology', Grove Music Online ed. L. Macy (Accessed February 3, 2008),
<http://www.grovemusic.com>
2. กระโดดขึน↑ Titon, Jeff Todd: Worlds of Music, 2nd ed. New York: Schirmer Books, 1992, p. xxi.

You might also like