You are on page 1of 14

รายงานเชิงวิชาการ

่ ขัตติยพันธกรณี
การอ่านและพิจารณาวรรณคดี เรือง

โดย


นางสาว กานต ์ชนก ชัยพิทก ้ ธยมศึกษาปี ท่ี 5/8 เลขที่ 5


ั ษ ์โรจน์ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ท่ี 5/8 เลขที่
นางสาว ธัญวร ัตม ์ คูอาริยะกุล ชันมั

นาย กุลธัช ยิงถาวรกุ ้ ธยมศึกษาปี ท่ี 5/8 เลขที่
ล ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ท่ี 5/8 เลขที่
นาย ดารํน ชันมั
คํานํ า
รายงานเล่มนี เป็ ้ นส่วนหนึ่ งของวิชาภาษาไทยซึงถู ่ กทําโดย ชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่
5โดยมีเป้ าหมายในการศึกษาวิเคราะห ์และวิจารณ์วรรณคดีเรืองขั ่ ตติยพันธกร
ณี แนวทางการนํ าเสนอเกียวกั ่ ้
บเนื อหามุ ่งเน้นให ้คณะผูจ้ ด ั ทําและผูศ้ ก
ึ ษาได ้เรีย

นทุกคนได ้ศึกษาเรืองราวความเป็ นมาของบทขัตติยพันธกรณี รวมถึงการอ่านแ
ละพิจารณาวรรณคดีในด ้านต่างๆเช่นเนื อหาและกลวิ้ ธกี ารใช ้ภาษาและประโย
ชน์กบ ่ ้ร ับ
ั คุณค่าทีได
คณะผูจ้ ด ้
ั ทําหวังว่ารายงานวิชาการเล่มนี จะเป็ นประโยชน์ตอ ่ การศึกษาและต่อย
อดความรู ้ได ้อย่างมีประสิทธิภาพถ ้ามีการผิดพลาดในเนื อหา ้ ขออภัยมา ณ
่ ด
ทีนี ้ ้วย
สารบัญ

คํานํ า ข
บทนํ า ค

การอ่านและพิจารณาเนื ้อหาและกลวิธ ี
้ อง
เนื อเรื ่ 1

โครงเรือง
2
บทเจรจา 2

แก่นเรือง
3
การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษา

การสรรคํา 4

การเรียบเรียงคํา
4
การใช ้โวหาร
4
การอ่านและพิจารณาประโยชน์และคุณค่า
คุณค่าทางด ้านวรรณศิลป์
5
คุณค่าด ้านสังคม
5

คุณค่าด ้านอืนๆ 5

การอ่านและพิจารณาเนื ้อหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณก


รรม
้ องหรื
เนื อเรื ่ อเนื ้อเรืองย่่ อ
ในพระราชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั
ประเทศไทยต ้องพบเจอกับการคุกคามจากชาติมหาอํานาจตะวันตกอันประกอ
บด ้วย อังกฤษเเละฝรงเศส ่ั
การเข ้ามาของฝรงเศษได ่ั ้มีเหตุการณ์ความขัดแย ้งเกิดขึนเกี ้ ยวกั ่ ่
บเรืองเขตแด
นทางด ้านเขมรจึงทําให ้ฝรงเศสได ่ั ้เรียกร ้องค่าเสียหาย
ทางด ้านแผ่นดินแถบประเทศลาวได ้มีการกระทบกระทังกั ้ นทังการทหารและการ

ทูต ความรุนแรงได ้ทวีขน ึ ้ จนเมือทางการฝร
่ ่ั
งเศสได ้นํ ากองเรือรบ
เข ้ามาลุ่มแม่นํ้าเจ ้าพระยา และปิ ดอ่าวไทย เรียกร ้องสิทธิตา่ งๆ จนสุดท ้าย
ไทยต ้องยินยอมสนธิสญ ั ญากรุงเทพ ในวันที่ 3 ตุลาคม ร.ศ. 112
ส่งผลให ้สูญเสียดินแดนฝั่งซ ้ายแม่นํ้าโขง และเสียการควบคุม
ประชาชนชาวอินโดจีน อีกทังยั ้ งถูกฝรงเศสยึ
่ั ด จันทบุรไี ว ้เป็ นตัวประกัน
เนื่ องด ้วยการสูญเสียดินแดน และภัยจากมหาอํานาจตะวันตก
ทําให ้สมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั ทรงงานเป็ นอย่างหนัก

เพือปกป้ องดินแดนของประเทศไทยไว ้ ท ้ายทีสุ ่ ด
ประเทศไทยสามารถรอดพ้นจากการครอบงําของมหาอํานาจ
แต่ก็ต ้องแลกกับดินแดนบางแห่ง เพือร ่ กั ษาอธิปไตยของไทยเอาไว ้
แต่ด ้วยเหตุการณ์ ร.ศ. 112ทําให ้พระองค ์ประชวรทรุดลง
ทําใหห้ มดพระทัยทีจะดํ ่ ารงพระชนม ์ชีพต่อไปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเ
จ ้าอยู่หวั ทรงส่งบทพระราชนิ พนธ ์ไปอําลาเจ ้านายบางพระองค ์รวมถึงสมเด็จกร
มพระยาดํารงราชานุ ภาพผูเ้ ป็ นพระเจ ้าน้องยาเธอโดยเนื อ้

ความเป็ น การระบายความโทมนัสทังทางพระราชหฤทั ยและพระวรกาย
จนไม่ทรงปรารถนาจะดํารงพระชนม ์ชีพต่อไปเพราะไม่ทรงอยากเป็ น
ภาระแก่ผูเ้ ฝ้ าพยาบาลโดยทรงระบายถึงความทุกข ์ยากจากพระอาการประชวร
และความกังวลทีจะทรงเสี่ ยเมืองไปโดยสมเด็จพระยาดํารงราชานุ ภาพได ้ทรงนิ
พนธ ์บทประพันธ ์ตอบกลับแสดงความทุกข ์ของประชาชนต่อพระอาการประชวร
และความจงร ักภักดีททุ ่ี กคนมีต่อพระองค ์พระองค ์ยังกราบทูลถึงความจริงทีว่่ าก
ารจะทํางานใดๆล ้วนแต่มอ ี ป
ุ สรรคต ้องอาศัยการร่วมมือร่วมใจ
ความพยายามแก ้ไขปัญหาจนสุดความสามารถโดยถ ้าสุดท ้ายไม่สามารถแก ้ไ
ขได ้ก็จะไม่มผ ี ูใ้ ดมากล่าวโทษได ้ลงท ้ายด ้วยทรงขอให ้
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั ทรงหายจากพระอาการ

ประชวรทังพระวรกายและพระราชหฤทั ย

โครงเรือง่
่ โครงเรืองที
ขัตติยพันธกรณี ได ้ถูกเเบ่งเป็ น2ส่วนทีมี ่ เเตกต่
่ ่
างกันเเต่เชือมโยงกั น
โดย:

ส่วนเเรกทีประพั นธ ์โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั นั้นมีโครงเรือ่

งคือ การรําพึงรําพันตัดพ้อเกียวกั ้ นใจ ความเศร ้าใจ
บความอัดอันตั
เเละความอับอาย ไม่ว่าจะเป็ นในเรือง่
อาการประชวรและความไร ้ความสามารถของพระองค ์เองทีไม่ ่ สามารถหาทางอ
่ ให ้กับประเทศไทยให ้รอดจากสถานการณ์คบ
อกทีดี ้ั ้
ั ขันในครงนี
ดังความตอนหนึ่ งว่า

“เจ็บนานหนักอกผู ้ บริรกั ษ ์ ปวงเฮย


คิดใคร่ลาลาญหัก ปลดเปลือง ้

ความเหนื อยเเห่ งสูจกั พลันสร่าง

ตูจกั สู่ภพเบือง ้
หน้านันพลั
นเขษม”

ส่วนทีสองที ่
ประพั นธ ์โดยสมเด็จพระเจ ้าบรมวงศ ์เธอ
กรมพระยาดํารงเดชานุ ภาพนั้นมีโครงเรืองคื ่ อการใหก้ าํ ลังใจให ้พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั ให ้มีกาํ ลังใจในการต่อสูก้ บ
ั อาการประชวรและเเก ้ไขปั
ญหาวิกฤติของประเทศไทย
โดยการเปรียบเทียบประเทศไทยเป็ นเรือล่องสมุทธทีมี ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอ
มเกล ้าเจ ้าอยู่หวั เป็ นกัปตันเเละข ้าราชบริพารเป็ นชาวเรือ ดังความตอนหนึ่ งว่า

“ดุจเหว่าพละนา วะเหว่กะปิ ตัน


นายท ้ายฉงนงัน ทิศทางก็คลางเเคลง
นายกลประจําจักร จะใช ้หนักก็นึกแหนง
จะรอก็ระเเวง จะไม่ทนั ธุรการ”

ต ัวละคร
1. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั
ทรงร ักและเป็ นห่วงประชาชนอนึ่ งทรงกังวลและวิตกกับสถานการณ์บ ้านเมืองทีไ่
ม่สามารถปฏิบต ั พิ ระราชกรณี ยกิจได ้เต็มพระกําลังและ

ทรงมีพระปรีชาสามารถในการประพันธ ์เรืองราวต่ างๆ

รวมทังประพั ่
นธ ์โคลงและอินทรวิเชียรฉันท ์เพือบอกลาญาติ ่ี องและคนสนอท
พน้
ของพระองค ์
่ ดพระองค ์ทรงเข ้มแข็งและกล ้าเผชิญหน้ากับปัญหาได ้โดยการพูดคุ
แต่ท ้ายทีสุ
ยกับสมเด็จพระยาดํารงราชานุ ภาพผ่านบทกลอน ดังความตอนหนึ่ งว่า

“ตะปูดอกใหญ่ตรึง้ บาทา อยู่เฮย


จึง บ อาจลีลา คล่องได ้”
2. สมเด็จพระยาดํารงราชานุ ภาพ
แสดงใหเ้ ห็นถึงความเคารพรกั และความจงร ักภักดีตอ
่ สถาบันพระมหากษัตริย ์ร

วมทังความสามารถด ้านการประพันธ ์บทโคลงและความเฉลียวฉลาดในการให ้

กําลังใจเพือตอบกลับจดหมายอําลาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่
หัว ดังความตอนหนึ่ งว่า
“อันพระประชวรครัง้ ้
ทังไผทสยาม
เหล่าข ้าพระบาทความ วิตกพ้นจะอุปมา
ประสาแต่อยู่ใกล ้ ้ ้ใช่ว่าหนักหนา
ทังรู
้ เจือยา
เลือดเนื อผิ ให้หายได ้จะชิงถวาย”


และ มีความตังใจ หมั่นเพียรทีจะต่
่ อสู ้กับอุปสรรค ดังความตอนหนึ่ งว่า

“ขอตายให้ตาหลับ ่ บว่าชายชาญ
ด ้วยชือนั
เกิดมาประสบภาร ธุระได ้บําเพ็ญทํา”


ฉากท้องเรือง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั ได ้มีพระอาการประชวรเนื่ องจากเหตุ
การณ์ทางการเมืองระหว่างเขตเเดนไทยกับฝรงเศสซึ ่ั ่ าลังทวีความรุนแรงขึนเ
งกํ ้

รือยๆ ดังความตอนหนึ่ งว่า

“เป็ นฝี สามยอดเเล้ว ยังรายส่านอ


ปวดเจ็บใครจักหมาย เชือได ่ ้
ใช่เป็ นเเต่ส่วนกาย เศียรกลัด กลุม้ เเฮ
่ ้
ใครต่อเป็ นจึงผู ่ นเห็
นันนั ้ นจริง”
ได ้เขียนจดหมายรําพึงรําพันท ้อเเท ้ถึงกลุ่มข ้าราชการคนสนิ ท
ส่งผลให ้ข ้าราชการคนสนิ ทต ้องรีบเขียนจดหมายตอบโต ้เพือให ่ ้กําลังใจพระบา
ทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั ให ้มีกาํ ลังใจในการต่อสูก้ บ ั อาการประชวรเเ
ละเเก ้ไขปัญหาประเทศชาติ ดังความตอนหนึ่ งว่า

“ชาวเรือก็ย่อมรู ้ ้ ่ทุกจิตใจ
ฉะนี อยู
เเต่ลอยอยู่ตราบใด ต ้องจําแก ้ด ้วยเเรงระดม”

บทเจรจาหรือราพึงราพัน
่ ตติยพันธกรณี น้ันมีบทรําพึงรําพันของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้
ในเรืองขั
่ ต่อราษฎรและบ ้านเมืองของพระองค ์หลังจากทีฝร
าเจ ้าอยู่หวั ทีมี ่ งเศสพยายามที
่ั ่
จะเข ้ามามีอาณานิ คมกับประเทศไทยแล ้วขณะที่
่ ้าใจง่ายทําให ้ผูอ้ า่ นรู ้
พระองค ์ยังทรงพระประชวรอยู่โดยใช ้ถ ้อยคําทีเข

ถึงความเป็ นห่วงทีพระองค ์มีตอ
่ ราษฎรของพระองค ์

“เจ็บนานหนักอกผู ้ บริรกั ษ ์ ปวงเฮย


คิดใคร่ลาลาญหัก ปลดเปลือง ้

ความเหนื อยปห่ งสูจกั พลันสร่าง

ตูจกั สู่ภพเบือง หน้านันพบั้ นเขษม”

จากบทประพันธ ์ข ้างต ้นแสดงใหเ้ ห็นถึงความรู ้สึกเหน็ ดเหนื่ อยต่างๆนานาจ


นพระองค ์หมดพระทัยทีจะดํ ่ ารงพระชนม ์ชีพต่อไป เป็ นการเปรียบเปรย

ถึงความรู ้สึกทุกข ์ทีมากจนจะร ับไหว

“เป็ นฝี สามยอดแล้ว ยังราย ส่านอ


ปวดเจ็บใครจักหมาย ่ ้
เชือได
ใช่เป็ นแต่ส่วนกาย เศียรกลัด กลุม้ แฮ
่ ้
ใครต่อเป็ นจึงผู ่ นเห็
นันน้ ั นจริง”

ทรงบรรยายถึงพระอาการประชวรทีเจ็่ บปวดอย่างแสนสาหัสและไม่เพียงแต่ประ
ชวรพระวรกายยังทรงกลัดกลุ ้มพระพราชหฤหัยด ้วยเพราะ
สถานการณ์บ ้านเมืองในตอนนั้นกําลังตกอยู่ในช่วงวิกฤตทีโดนคุ
่ กคาม
จากชาติมหาอํานาจ

“ตะปูดอกใหญ่ตรึง้ บาทา อยู่เฮย


จึง บ อาจลีลา คล่องได ้
เชิญผูม้ เี มตตา แก่สตั ว ์ ปวงแฮ
ชักตะปูนีให้ ้ ส่งข ้สอัญขยม”

บทประพันธ ์มีการใช ้โวหารในการเปรียบเทียบ พระองค ์ทรงพรรณนา


่ ต
ถึงหน้าทีที ่ ้องปกป้ องและร ักษาบ ้านเมือง

จึงไม่สามารถสินพระชนม ่
์ได ้ดังปรารถนา ดังตะปู ่ี วประองค ์เอาไว ้
ทตรึ

“กลัวเป็ นทวิราช บ ตริป้องอยุธยา


เสียเมืองจึงนิ นทา บ ละเว้น ฤ ว่างวาย”
พระองค ์ทรงวิตกกังวลถึงสถานการณ์ทเกิ ่ี ดขึน้ หากต ้องเสียอธิปไตยไป
คงถูกกล่าวหาว่าเป็ นทรราช ทําให ้แผ่นดินตกเป็ นของชาติอน ่ื
ถูกติฉินนิ นทาให ้ภายภาคหน้า

บทประพันธ ์ส่วนหนึ่ งของ ขัตติยพันธกรณี เป็ นบทกลอนตอบกลับของ



สมเด็จพระเจ ้าบรมวงศ ์เธอกรมพระยาดํารงราชานุ ภาพทีประพั
นธ ์
พระนิ พนธ ์ขึนเพื้ อถวายกํ
่ าลังพระราชหฤทัยใจแก่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเก
ล ้าเจ ้าอยู่หวั

“ประสาแต่อยู่ใกล้ ้ ้ใช ้ว่าหนักหนา


ทังรู
้ เจือยา
เลือดเนื อผิ ให้หายได ้จะชิงถวาย”

แสดงใหเ้ ห็นถึงความเป็ นห่วงต่ออาการของพระบาทสมเด็จพระจุลจอม


เกล ้าเจ ้าอยู่หวั และความจงร ักภักดีตอ
่ พระมหากษัตริย ์
ถ ้าหากเสียสละชีพตนเองได ้ก็จะยอมถวายแด่ทา่ น

“ขอจงวราพาธ บรมนาถเร่งเคลือนคลาย่
พระจิตพระวรกาย จงผ่องพ้นทีหม่่ นหมอง
ขอจงสําเร็จรา- ่
ชะประสงค ์ทีทรงปอง
ปกข ้าฝ่ าละออง พระบาทให้สามัคคี
ี่ น
ขอเหตุทขุ ่ ขัด จะวิบตั พ
ิ ระขันตี
จงคลายเหมือนหลายปี ละลืมเลิกละลายสูญ
ขอจงพระชนมา- ยุสถาวรพูน
่ ยรติอนุ กล
เพิมเกี ู สยามรฐั พิพฒ ั น์ผลฯ”

้ นการอวยพรและให ้กําลังใจแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้


บทนี เป็
าอยู่หวั ให ้มีพระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง พ้นจากอาการประชวรโดยไว
่ ญกําลังใจแก่ประเทศชาติตอ
และเป็ นมิงขวั ่ ไป

เเก่นเรือง
เนื่ องจากขัตติยพันธกรณี ได ้ถูกเเบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ:
1. ส่วนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั
่ เเก่นเรืองคื
ซึงมี ่ อการระบายความอัดอันใจในเรื
้ ่ างๆ อาทิ อาการประชวร
องต่
ความตึงเครียดทางการเมือง
ดังความตอนหนึ่ งทีท่
่ านได ้เปรียบปัญหาทังหมดเป็
้ ่
นดังตะปู ว่า

“ตะปูดอกใหญ่ตรึง้ บาทาอยูเฮย
จึง บ อาจลีลา คล่องได ้
ี่
เชิญผูท้ เมตตา แก่สตั ว ์ ปวงแฮ

ชักตะปูนีให้ ส่งข ้าอัญขยม”

2. ส่วนของสมเด็จพระยาดํารงราชานุ ภาพ
่ เเก่นเรืองคื
ซึงมี ่ อการให ้กําลังใจพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ ้าอยู่หวั ให ้มี

กําลังใจในการต่อสู ้กับปัญหาต่างๆ ดังความตอนหนึ ่ งว่า

“ด ้วยเดชะบุญญา ภินิหาระเเห่งคํา
สัตย ์ข ้าจงได ้สัม ฤทธิดงั มโนหมาย
ขอจงวราพาธ ่
บรมนาถเร่งเคลือนคลาย
พระจิตพระวรกาย จงผ่องพ้นทีหม่่ นหมอง
ขอจงสําเร็จรา- ่
ชะประสงค ์ทีทรงปอง
ปกข ้าฝ่ าละออง พระบาทให้สามัคคี
ขอเหตุทขุ ี่ น
่ ขัด จะวิบตั พ
ิ ระขันตี
จงคลายเหมือนหลายปี ละลืมเลิกละลายสูญ
ขอจงพระชนมา- ยุสถาวรพูน
่ ยรติอนุ กล
เพิมเกี ู สยามรฐั พิพฒ ั น์ผลฯ”
การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

การสรรคํา
จากบทประพันธ ์ของสมเด็จพระเจ ้าบรมวงศ ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุ ภาพ
่ ตติยพันธกรณี
ในบทกวีเรืองขั
่ นการกล่าวให ้กําลังพระหฤทัยแก่พระบาทสมเ
พระองค ์ท่านได ้ใช ้สํานวนเพือเป็
ด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั อีกทังต ้ ้องการเพิมความงามของบทประพั
่ นธ ์

พระองค ์จะต ้องเลือกใช ้คําเพือให ต้ รงกับความต ้องการ
เหมาะสมกับฐานะของบุคคล รวมถึงตรงตามความหมายของเนื อเรื ้ อง ่
และจุตประสงค ์ทีต่ ้องการจะสือ ่ โดยมีการสรรคําตามหลักการดังนี ้

่ ความหมายทีถู
ผูป้ ระพันธ ์จะต ้องเลือกใช ้คําทีมี ่ กต ้องตามความเหมาะสม

เพือให ้มีความหมายตามความต ้องการ
้ ความสวยงามทางเสียงและการใช ้
อีกทังมี
มีตวั อย่างดังนี ้

“อึดอัดทุกหน้าที ่ ทุกข ์ทวีทก


ุ วันวาร
เหตุห่างบดียาน อันเคยไวน้ า้ ใจชน”

ผูป้ ระพันธ ์จะต ้องเลือกใช ้คําให ้เหมาะสมกับฐานะของบุคคลในเรือง
เนื่ องด ้วยบทประพันธ ์ดังกล่าว เป็ นการสือสารระหว่
่ าง
่ กต ้องแหละเหมาะ
พระมหากษัตริย ์และพระอนุ ชาทําให ้จําเป็ นจะต ้องใช ้ภาษาทีถู
สม ต่อไปนี ้


“ขอเดชะเบืองบาท วรราชะปกศี
ั่
โรตม ์ข ้าผูม้ นมี ้ ญญู”
มะนะตังกตั
ผูป้ ระพันธ ์เลือกใช ้บทโคลงและคําฉันท ์โดยไม่ได ้เคร่งคัดแตท ่
้ รงใช ้คําทีออกเสี

งหนักเบาตามธรรมชาติ เช่น
้ ้ใช่ว่าหนักหนา
“ประสาแต่อยู่ใกล้ ทังรู
้ เจือยา
เลือดเนทชือผื ให้หายได ้ชิงถวาย”

ผูป้ ระพันธ ์จะต ้องเลือกใช ้คํานึ งถึงเสียง เพือความไพเราะของบทประพั
นธ ์
้ าให ้ผูอ้ า่ นสามารถสร ้างจินตนาการจากการอ่านบทความได ้
อีกทังทํ

“ด ้วยเดชะบุญญา ภินิหาระแห่งคา
สัตย ์ข ้าจงได ้สัม ฤทธดังมโนหมาย”

การเรียบเรียงคํา
สมเด็จพระเจ ้าบรมวงศ ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุ ภาพทรงประพันธ ์
้ ปแบบของคําฉันท ์
บทประพันธ ์นี ในรุ
่ี
โดยพระองค ์มิได ้เคร่งคร ัดการใช ้คําแบบครุ-ลหุทคณะฉั นท ์ใช ้
แต่หากเน้นการให ้กําลังพระหฤทัยโดยการเล่นคําและการสร ้างจินตภารวมถึงก
ารสร ้างอารมณ์สะเทือนใจแทน

การใช้โวหาร
การใช ้โวหารภาพพจน์ในบทประพันธ ์ ขัตติยพันธกรณี
สามารถพบเห็นได ้มากในบทกวี
เนื่ องจากผูแ้ ต่งทรงอยากให ้ผูอ้ า่ นเข ้าพระทัยและเห็ นภาพอย่างชัดเจน
โดยใช ้อุปมาโวหาร ด ้วยคําว่า’ดุจ’ เพือเปรี่ ่
ยบเทียบสิงสองสิง่ ยกตัวอย่างเช่น

“ดุจเหล่าพละนา- วะเหว่วา้ กะปิ ตัน


นายท ้ายฉงนงัน ทิศทางก็คลางแคลง”
้ ยบให ้เห ้นได ้ว่าพระองค ์ต ้องการเปรียบเทียบพระเจ ้าอยู่หวั กับกะปิ ตัน
บทนี เปรี

และทําให ้สามารถกล่าวได ้ว่า นายท ้ายทีพระองค ์เขียนขึน้ หมายถึง

ประชาชนทังหลายของพระเจ ้าอยู่หวั หรือใช ้คําว่า ‘เปรียบ’
“เปรียบตัวเหมือนอย่างม้า ่ นพาหนยาน
ทีเป็
่ งเหียนอาน
ผูกเครืองบั ประจาหน้าพลับพลาชัย”

้ ยบตัวพระองค ์เองดังม
บทนี เปรี ่ า้ เพือแสดงความจงร
่ ักพรรคดีตอ
่ พระ
เจ ้าอยู่หวั
การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกร
รม

คุณค่าด้านอารมณ์
สภาพสังคม ณ ขณะนั้นเป็ นสังคมของการเอาตัวรอด
เพราะปัญหาต่างๆทีรุ่ มเร ้าทําให ้ราชวงศ ์และประชาชนทัวไปต ่ ้องดูแลตัวเอง ว่า
ิ คนเรานั้นเปลียนแปลงอยู
ชีวต ่ ๋
่เสมอ เดียวทุ ๋
กข ์ เดียวสุ ข สลับกันไป

คุณค่าด้านคุณธรรม
่ ้องดูแลความเป็ นอยู่ของประช
แสดงใหเ้ ห็ นถึงคุณธรรมของพระมหากษัตริย ์ซึงต
าชนและให ้ประเทศชาติสงบสุข ปลอดภัย พ้นจากภัยอันตรายทีมาคุ่ กคาม

คุณค่าด้านอืนๆ

สะท ้อนความคิดความเชือของคนไทยในอดี ตได ้เป็ นอย่างดีปลุกจิตสํานึ กใหค้ น
ในชาติหวงแหนรกั ษาผืนแผ่นดินไทยไว ้ให ้ดํารงอยู่สบ ื ไปและตระหนักถึงความเ
หนื่ อยยากของบรรพบุรษ ่ ้องยอมแลกด ้วยชีวต
ุ ทีต ่ กั ษาฝื นแผ่นดินนี ไว
ิ เพือร ้

บรรณานุ กรม

http://elsd.ssru.ac.th/bualak_na/pluginfile.php/67/mod_page/intr
o/ถอดความ-ขัตติยพันธกรณี -60.pdf

You might also like