You are on page 1of 28

บัณฑิต แนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.

6 (เลม 2) 1

คํานํา
คลังโจทย ชั้น ป.6 เปนหนังสือคูมือเตรียมสอบแนวใหม เหมาะอยางยิ่งสําหรับนักเรียน
สําหรับใชทบทวนความรู- วัดผลตัวเอง เพื่อพัฒนาความเปนเลิศในแตละวิชาและเตรียมสอบศึกษาตอใน
ระดับชั้นที่สูงขึ้น ซึง่ ปจจุบนั มีอตั ราการแขงขันสูงขึ้นทุกป ในเลมจะประกอบดวยแบบทดสอบ ครบทั้ง 8 กลุม สาระ
คือ คณิตศาสตร, วิทยาศาสตร, ภาษาอังกฤษ, ภาษาไทย, สังคมศึกษาฯ และสุขศึกษา-พลศึกษาฯ วิชาละ 2 ชุด
โดยในแตละวิชาจะมีเนื้อหาครอบคลุมตามหลักสูตรใหมของกระทรวงศึกษาธิการ มีระดับความยาก-งาย และ
พลิกแพลงตามแนวขอสอบแขงขันระดับประเทศ และยังไดจัดพิมพเฉลยอยางละเอียด พรอมแนวการประเมินผล
ของขอสอบแตละชุดใหอีก เพื่อใหนักเรียนสามารถอานทําความเขาใจและประเมินผลคะแนนที่ทําไดดวยตัวเอง
อนึ่ง คลังโจทย เลมนี้ เปนสวนหนึ่งของหนังสือชุด “โจทยขั้นเทพ และ คลังโจทย” ที่จัดทําขึ้น
แยกเปน 2 ชุดใหญๆ โดยรวบรวม-ปรับปรุงมาจาก “คลังขอสอบของบัณฑิตแนะแนว” ซึ่งไดเคยผานการ
ใชสอบวัดความรูนักเรียนทั่วประเทศในแตละปกวา 100,000 คนมาแลว ดังนี้
1. ชุด โจทยขั้นเทพ เปนหนังสือรวมโจทยขอสอบระดับสูง เชน ขอสอบแขงขัน, ขอสอบชิงทุน หรือ
ขอสอบคัดเลือกเขาเรียนตอในสถาบันชั้นนํา ปจจุบันจัดพิมพแยกเปนหลายเลม ตามระดับชัน้ ของนักเรียน
2. ชุด คลังโจทย เปนหนังสือรวมโจทยขอสอบวัดพื้นฐานความรูใ นแตละวิชาของชั้นนั้นๆ เหมาะสําหรับ
ฝกทําหาประสบการณ และเพิม่ เกรดใหสูงขึ้น ปจจุบันจัดพิมพแยกเปนหลายเลม ตามระดับชั้นของนักเรียน
สํานักงานบัณฑิตแนะแนวหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือชุด “โจทยขั้นเทพ และ คลังโจทย” เลมนี้
จะเปนประโยชนสําหรับผูที่จะมีไวศึกษาคนควา และใชเปนแนวทางในการเตรียมตัวสอบใหประสบความสําเร็จ
และหากพบขอบกพรองประการใดโปรดแจงใหทราบดวย เพื่อจะไดปรับปรุงใหดียิ่งขึ้นในโอกาสตอไป

สํานักงานบัณฑิตแนะแนว

คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)


กองบรรณาธิการ : ไพจิตร ศุภพิมล กัญญาณัฏฐ ฟูผล สิทธิชัย นิยมสิทธิ์ วิภาพร ประมวล
เพยาว ชาวบานซอง สุจิตตา ไชยจันลา สาริกา โกยรัมย เพชรไพลิน รอดนาค ประไพพร ไขมวง
วุฒิภัทร จันทรนาค ธีรยุทธ พงษศิริรัตน ปรีดาวรรณ ชลชีพ สันติ วิเศษสุทธิ์ ณรงคศักดิ์ รอดนาค
เจาของ : สํานักงานบัณฑิตแนะแนว โทรศัพท 02-2794808 แฟกซ 02-6171820
เลขที่ 1033/4 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400
พิมพที่ : หางหุนสวนจํากัดรุงเรืองสาสนการพิมพ
เลขที่ 195/6 หมู 5 ซอยพุทธบูชา 44 แขวงบางมด เขตทุงครุ กทม. 10140 โทรศัพท 02-8706301-3
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2537 : หามลอกเลียน คัดลอก จัดพิมพ หรือทําซ้ํา
ไมวาสวนใดสวนหนึ่งของหนังสือเลมนี้กอนไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร
2 บัณฑิต แนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)

สารบัญ
สวนที่ 1 : คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชาคณิตศาสตร (ชุดที่ 1).........................................................................................3
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชาภาษาไทย (ชุดที่ 1)........................................................................................... 13
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชาวิทยาศาสตร (ชุดที่ 1)..................................................................................... 21
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชาสังคมศึกษาฯ (ชุดที่ 1) .................................................................................... 31
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชาภาษาอังกฤษ (ชุดที่ 1)..................................................................................... 39
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชาคณิตศาสตร (ชุดที่ 2)...................................................................................... 47
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชาภาษาไทย (ชุดที่ 2)........................................................................................... 57
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชาวิทยาศาสตร (ชุดที่ 2)..................................................................................... 65
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชาสังคมศึกษาฯ (ชุดที่ 2) .................................................................................... 79
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชาภาษาอังกฤษ (ชุดที่ 2)..................................................................................... 87
- คลังโจทย ชั้น ป.6 วิชา LAS-NT & ONET (8 กลุมสาระ) ................................................................ 95
สวนที่ 2 : เฉลยคลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
- เฉลยคลังโจทย ชั้น ป.6 (ชุดที่ 1).............................................................................................................122
- เฉลยคลังโจทย ชั้น ป.6 (ชุดที่ 2).............................................................................................................165
- เฉลยคลังโจทย ชั้น ป.6 วิชา LAS-NT & ONET (8 กลุม สาระ) ......................................................215
ภาคผนวก : คําอธิบาย “วิธีใชตารางสรุปคาสถิติของนักเรียนทั่วประเทศ” ...........................240
ซ.พหลโยธิ น 2

TV สีชอง 5
ไปดิ นแดง

สถานีรถไฟฟา
สนามเปา
ไปสะพานควาย BTS ถ.พหลโยธิน ไปราชเทวี
ซ.พหลโยธิ น 3

ซ.พหลโยธิ น 1

รพ.พญาไท 2
ถ.ราชวิถี

รพ.ราชวิถี
รพ.พระมงกุฎ

สํานักงานบัณฑิตแนะแนว 1033/4 ถ.พหลโยธิน สามเสนใน พญาไท กทม. 10400


เวลาทํางาน 08.00-17.00 น. Website : www.bunditnaenaew.com
ฝายประชาสัมพันธ เปดทุกวัน (จันทร-อาทิตย) โทรศัพท 02-2794808 แฟกซ 02-6171820
ฝายประสานงานโรงเรียน-รานคา เปดเฉพาะวันจันทร-วันศุกร โทรศัพท 02-2794433 แฟกซ 02-2796611
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 3

บัณฑิตแนะแนว

ขอสอบเสริมประสบการณเพื่อวัดความรูระดับประถมศึกษา

วิชา คณิตศาสตร (ชุดที่ 1)


ชื่อ-นามสกุล....................................................................... เลขที่นงั่ สอบ..........................................
สถานทีส่ อบ......................................................................... หองสอบ.................................................
______________________________________________________________________________

คําอธิบาย
1. ขอสอบชุดนี้ มีจํานวน 50 ขอ คะแนนเต็ม 100 คะแนน ใหเวลาทํา 1 ชั่วโมง
2. ในการทําขอสอบ ใหเลือกคําตอบที่ถูกตองหรือเหมาะสมที่สุด เพียงคําตอบเดียว กรณีขอใด
ไมมีตัวเลือกที่ถูกตองใหตอบตัวเลือกที่ 5) แทน
3. นักเรียนจะตองพยายามทําขอสอบและจับเวลาเหมือนกับการสอบแขงขันจริง
หามใชเวลาสอบเกินที่กําหนดและหามเปดตําราดู หรือนําอุปกรณชวยในการคิดคํานวณมาใช
เด็ดขาด ทั้งนี้เพื่อประโยชนในการทดสอบวัดความรูของตัวนักเรียนเอง (อาจใหผูปกครองชวย
ควบคุมการสอบ หรืออาจใชนาฬิกาปลุกตั้งเวลาก็ได) เมื่อหมดเวลาสอบ ใหตรวจคะแนนจาก
สวนเฉลย เรื่องใดทําไมไดหรือทําผิดใหกลับไปอานหนังสือทบทวนใหม
4. การประเมินผล นักเรียนสามารถนํา “คะแนนสอบทีท่ ําได” ไปเปรียบเทียบกับ ตารางสรุป
คาสถิติในวิชานี้ของนักเรียนทั่วประเทศ (หลังปกขอสอบนี้) ก็จะทําใหเห็นระดับความสามารถ
ของตัวเองไดอยางชัดเจน

ขอสอบชุดนี้จดั ทําขึ้นโดยรวบรวม-ปรับปรุงมาจาก “ขอสอบ PRE-ประถมศึกษา 5 ปลาสุด”


ของบัณฑิตแนะแนว ซึ่งเคยผานการใชทดสอบนักเรียนทั่วประเทศกวา 50,000 คน มาแลว จึงเหมาะที่จะใช
ทบทวนความรูและวัดผลตนเอง เพื่อพัฒนาความเปนเลิศในแตละวิชาและเตรียมสอบแขงขันในทุกสนาม
4 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
ตารางสรุปคาสถิติวิชานี้ของนักเรียนทั่วประเทศ
ที่เคยเขาสอบ PRE-ประถมศึกษา ในวิชา คณิตศาสตร (ชุดที่ 1)
เมื่อสอบเสร็จใหนํา “คะแนนที่ทําได” มาเปรียบเทียบเพื่อวัดความสามารถกับ “คาสถิติ” นี้ไดเลย

ภาค สูงสุด ฐานนิยม มัธยฐาน คาเฉลี่ย


(MAXIMUM) (MODE) (MEDIAN) (MEAN)
กทม. 98.00 26.00 28.00 29.09
เหนือ 100.00 26.00 28.00 29.63
ใต 94.00 28.00 28.00 29.61
อีสาน 92.00 26.00 28.00 28.59
ตะวันออก 80.00 28.00 28.00 29.05
กลาง-ตะวันตก 98.00 28.00 28.00 30.33
รวมทั้งประเทศ 100.00% 26.00% 28.00% 29.44%

ชวงคะแนน จํานวนนักเรียน (%) ที่ทําคะแนนสอบวิชานีไ้ ดในแตละชวงของแตละภาค


(%) กทม. เหนือ ใต อีสาน ตะวันออก กลาง ทั้งประเทศ
0-10 0.51 0.24 0.48 0.56 0.59 0.53 0.48
>10-20 15.28 15.93 14.30 16.70 15.93 14.46 15.35
>20-30 49.87 46.91 48.26 50.17 48.78 46.60 48.35
>30-40 26.33 27.38 27.31 25.10 25.39 27.37 26.58
>40-50 5.42 6.11 6.34 4.74 6.39 6.65 5.94
>50-60 1.38 1.72 2.06 1.87 2.18 2.02 1.87
>60-70 0.56 1.24 0.94 0.52 0.63 1.15 0.86
>70-80 0.34 0.33 0.17 0.23 0.11 0.56 0.31
>80-90 0.19 0.09 0.08 0.07 0.00 0.47 0.17
>90-100 0.12 0.05 0.06 0.04 0.00 0.19 0.09
รวม 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100%

ดูคําอธิบาย “วิ ธี ใช ตารางสรุ ป ค า สถิ ติข องนั กเรี ย นทั่ ว ประเทศ” ไดที่หนาสุดทายของเลม
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 5

กระดาษคําตอบ
วิชา....................................................................................

1 cdefg 41 cdefg 81 c d e f g 121 c d e f g


2 cdefg 42 cdefg 82 c d e f g 122 c d e f g
3 cdefg 43 cdefg 83 c d e f g 123 c d e f g
4 cdefg 44 cdefg 84 c d e f g 124 c d e f g
5 cdefg 45 cdefg 85 c d e f g 125 c d e f g
6 cdefg 46 cdefg 86 c d e f g 126 c d e f g
7 cdefg 47 cdefg 87 c d e f g 127 c d e f g
8 cdefg 48 cdefg 88 c d e f g 128 c d e f g
9 cdefg 49 cdefg 89 c d e f g 129 c d e f g
10 cdefg 50 cdefg 90 c d e f g 130 c d e f g
11 cdefg 51 cdefg 91 c d e f g 131 c d e f g
12 cdefg 52 cdefg 92 c d e f g 132 c d e f g
13 cdefg 53 cdefg 93 c d e f g 133 c d e f g
14 cdefg 54 cdefg 94 c d e f g 134 c d e f g
15 cdefg 55 cdefg 95 c d e f g 135 c d e f g
16 cdefg 56 cdefg 96 c d e f g 136 c d e f g
17 cdefg 57 cdefg 97 c d e f g 137 c d e f g
18 cdefg 58 cdefg 98 c d e f g 138 c d e f g
19 cdefg 59 cdefg 99 c d e f g 139 c d e f g
20 cdefg 60 cdefg 100 c d e f g 140 c d e f g
21 cdefg 61 cdefg 101 c d e f g 141 c d e f g
22 cdefg 62 cdefg 102 c d e f g 142 c d e f g
23 cdefg 63 cdefg 103 c d e f g 143 c d e f g
24 cdefg 64 cdefg 104 c d e f g 144 c d e f g
25 cdefg 65 cdefg 105 c d e f g 145 c d e f g
26 cdefg 66 cdefg 106 c d e f g 146 c d e f g
27 cdefg 67 cdefg 107 c d e f g 147 c d e f g
28 cdefg 68 cdefg 108 c d e f g 148 c d e f g
29 cdefg 69 cdefg 109 c d e f g 149 c d e f g
30 cdefg 70 cdefg 110 c d e f g 150 c d e f g
31 cdefg 71 cdefg 111 c d e f g 151 c d e f g
32 cdefg 72 cdefg 112 c d e f g 152 c d e f g
33 cdefg 73 cdefg 113 c d e f g 153 c d e f g
34 cdefg 74 cdefg 114 c d e f g 154 c d e f g
35 cdefg 75 cdefg 115 c d e f g 155 c d e f g
36 cdefg 76 cdefg 116 c d e f g 156 c d e f g
37 cdefg 77 cdefg 117 c d e f g 157 c d e f g
38 cdefg 78 cdefg 118 c d e f g 158 c d e f g
39 cdefg 79 cdefg 119 c d e f g 159 c d e f g
40 cdefg 80 cdefg 120 c d e f g 160 c d e f g
6 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
1. ยอดตองการซื้อถวยโฟมและชอนพลาสติกเพื่อนําไปใชในการออกคายพักแรม ถวยโฟมขายเปนหอ หอละ 9 ใบ
สวนชอนพลาสติกขายเปนโหล โหลละ 12 คัน ยอดจะตองซื้อถวยและชอนอยางนอยที่สุดเทาใดจึงจะมีจํานวนถวย
และชอนเทากัน
1) ถวย 3 หอ และชอน 4 โหล 2) ถวย 4 หอ และชอน 3 โหล
3) ถวย 6 หอ และชอน 8 โหล 4) ถวย 8 หอ และชอน 6 โหล
2. จํานวนที่มากที่สุดที่หารดวย 120, 124 และ 160 ลงตัว โดยที่จํานวนนั้นนอยกวา 50,000 คือจํานวนใด
1) 14,880 2) 29,760
3) 44,640 4) 49,880
3. กําหนดให m เปนจํานวนนับที่มากที่สุดที่นําไปหาร 43, 77 และ 60 แลวเหลือเศษเทากัน ดังนั้น m + เศษ มีคา
เทาใด
1) 17 2) 26
3) 34 4) 43
4. ขอใดถูกตอง
1) (33 + 24)2 = 36 + 28 2) 69 × 10x = 690 × 105 แลว x = 7
3) (20 × 14) + (20 × 6) = 20 + (14 × 6) 4) 2 + 4 + 6 + 8 + ... + 48 = 12 × 50
5. กําหนดให 3 61 - 2 72 + 2 31 = 3 42x แลว x มีคาเทาใด
1) 9 2) 11
3) 13 4) 15
6. คาของ 56 + 43 × 21 - 218 ÷ 4 คือขอใด
1) 67269 2) 117
168
17
3) 1 168 19
4) 1 168
7. สาม, เดี่ยว, เอก และตอยเดินทางจากบานไปโรงเรียนเปนระยะทาง 43 กิโลเมตร, 23 กิโลเมตร, 54 กิโลเมตร
และ 89 กิโลเมตร ตามลําดับ ถาทั้ง 4 คนเดินทางดวยความเร็วเทากันมาถึงโรงเรียนเวลา 07.20 น. พรอมกัน
ใครออกจากบานเปนคนรองสุดทาย
1) สาม 2) เดี่ยว
3) เอก 4) ตอย
8. จากจํานวน 58,489,765 คาประจําหลักของเลข 4 เปนกี่เทาของคาประจําหลักของเลข 7
1) 100 เทา 2) 1,000 เทา
3) 10,000 เทา 4) 100,000 เทา
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 7
3 ของ 1 3
9. ผลลัพธของ 2 - 7 4 คือขอใด
3+ 25
9- 2
1- 5
1) 1 23 2) 1 139
3) 1 56 43 4) 1 78
10. ถังน้ําใบหนึ่งมีน้ําอยู 23 ของถัง เมื่อใชน้ําไป 51 ของที่มีอยู และเติมน้ําลงไปอีก 10 ลิตร ปรากฏวามีน้ําอยูในถัง
240 ลิตร อยากทราบวาเดิมมีน้ําอยูกี่ลิตร
1) 287.50 ลิตร 2) 328.57 ลิตร
3) 448.13 ลิตร 4) 492.86 ลิตร
11. นายอดออมใชเงินเดือนของเขาดังนี้ เปนคาอาหาร 52 ของเงินเดือน คาเชาบาน 31 ของที่เหลือ และคาใชจายอื่นๆ
อีก 3,000 บาท ปรากฏวายังเหลือเงินอีก 2,000 บาท อยากทราบวานายอดออมไดเงินเดือนเดือนละกี่บาท
1) 12,500 บาท 2) 15,000 บาท
3) 18,750 บาท 4) 25,000 บาท
คาของ 10 + (3 ×210 ) - (6 ×310 ) คือขอใด
5 3 2
12.
(2 × 10 ) + (3 × 10 )
1) 24 2) 32
3) 240 4) 320
13. กําหนดให 7 * 2 = 9 และ 11 * 8 = 83 แลว 9 * 13 มีคาเทาใด
1) 92 2) 112
3) 115 4) 117
2 - 0.21  3
14. คาของ  (0.92 ++ 0.2)
3.8 + 4.2  คือขอใด

1) 0.001 2) 0.01
3) 0.1 4) 1
15. สุพจนซื้อเสื้อมา 5 ตัว ราคาตัวละ 220.25 บาท และซื้อกางเกงมา 3 ตัว ราคาตัวละ 425.75 บาท ถาเขามีเงินอยู
5,000 บาท เขาจะเหลือเงินกี่บาท
1) 2,378.50 บาท 2) 2,434.50 บาท
3) 2,621.50 บาท 4) 2,721.50 บาท
16. โจทยกําหนดใหหาคา … × 12 = ? แตเตยอานโจทยผิดคิดวาโจทยใหหาคา … + 12 = ? ผลปรากฏวา
คําตอบของเตยนอยกวาคําตอบที่ถูกตองอยู 32 อยากทราบวา … มีคาเทาใด
1) 1 23 2) 2
3) 4 4) 20
8 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
17. ทศนิยมตําแหนงที่ 82 ของ 131 มีคาเทาใด
1) 3 2) 6
3) 7 4) 9
18. จากสมการ 8x12- 3 - 2x18+ 5 = 2 แลว 2x + 1 มีคาเทาใด
1) 3.55 2) 4.55
3) 8.1 4) 10.1
19. คําตอบของสมการ 19 - 2(3x + 1) = 5(x - 1) มีคาเทาใด
1) 1 117 2) 1 1011
3) 2 4) 19
20. กําหนดให a4 = a × a × a × a = 1,296
b3 = b × b × b = 343
c5 = c × c × c × c × c = 243
แลวคาของ ac × b2 ÷ 2b คือขอใด
1) 216 2) 656
3) 706 4) 756
21. ไกมีเงินอยูจํานวนหนึ่งเมื่อนําไปซื้อรองเทา 2 คู จะขาดเงินอยู 120 บาท แตถาซื้อรองเทาชนิดเดิมเพียงคูเดียวจะ
เหลือเงิน 120 บาท อยากทราบวาไกมีเงินกี่บาท
1) 360 บาท 2) 240 บาท
3) 180 บาท 4) 120 บาท
22. หาญมีธนบัตรฉบับละ 100 บาท และ 500 บาท รวมกันอยู 50 ฉบับ ซึ่งนับเปนเงินได 12,200 บาท อยากทราบวา
เขามีธนบัตรทั้ง 2 ชนิดตางกันกี่ฉบับ
1) 14 ฉบับ 2) 16 ฉบับ
3) 18 ฉบับ 4) 26 ฉบับ
+ 6n + 4p
23. กําหนดให m = 3n2 = 4p แลวคาของ 3m 2m - 3n + 8p คือขอใด
1) 0 2) 2
3) 4 4) 8
24. กําหนดให 16 28
A = B แลว 2A : 3B มีคาเทาใด
1) 4 : 7 2) 6 : 7
3) 8 : 21 4) 21 : 8
25. ขอใดไมถูกตอง
1) 54 < 32 2) 26% = 13
50
3) 4021 = 51.5% 4) 20 + 10 ÷ 5 = 22
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 9
26. ปองขายโทรศัพทมือถือไปในราคา 3,600 บาท ปรากฏวาขาดทุนไป 10% ปองจะตองขายในราคากี่บาทจึงจะทําให
เขามีกําไร 10%
1) 3,800 บาท 2) 3,960 บาท
3) 4,040 บาท 4) 4,400 บาท
27. แมใหเงินบอยและเบียรคนละ 200 บาทตอวัน บอยเก็บเงินไววันละ 15% และนําเงินที่เก็บไวมาจายคาโทรศัพท
เดือนละ 450 บาท สวนเบียรเก็บเงินไววันละ 8% อยากทราบวาใครเก็บเงินไว 2,400 บาท กอนกันและใชเวลากี่
วัน (ถาให 1 เดือนมี 30 วัน)
1) บอย 80 วัน 2) เบียร 150 วัน
3) บอย 160 วัน 4) เบียร 160 วัน
28. พอคาขายเครื่องซักผาไปราคา 6,600 บาท ไดกําไร 10% ถาเขาตองการกําไร 20% จะตองขายเครื่องซักผาในราคา
กี่บาท
1) 7,200 บาท 2) 7,260 บาท
3) 7,920 บาท 4) 7,960 บาท
29. แจนขายเสื้อตัวหนึ่งราคา 99 บาท ไดกําไร 25% ถาเขาขายในราคา 109 บาท จะไดกําไรรอยละเทาใด
1) รอยละ 30.1 2) รอยละ 35.0
3) รอยละ 36.7 4) รอยละ 37.6
30. สุเทพกูเงินจากธนาคาร 500,000 บาท ดอกเบี้ยรอยละ 8 ตอป เพื่อเปนคาใชจายในการปลูกขาวโพด พอถึงสิ้นปสุเทพ
เก็บขาวโพดได 1,000 ถัง สุเทพตองขายขาวโพดถังละกี่บาทหลังจากใชหนี้แลวยังมีเงินเหลืออีก 100,000 บาท
1) 504 บาท 2) 540 บาท
3) 604 บาท 4) 640 บาท
31. A ให ABC เปนสามเหลี่ยมดานเทา และ BEC เปน
สามเหลี่ยมหนาจั่ว ACˆ E = 20°, AD ⊥ BC แลว
E AEˆ B กางกี่องศา
1) 130 องศา
2) 90 องศา
B D C
3) 50 องศา
4) 40 องศา
32. B จากรูป AB // CD แลว x มีคาเทาใด
D
1) 10 องศา
x 2) 15 องศา
150 ° 3) 30 องศา
E
A 4) 37.5 องศา
3x
C
10 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
33. เมื่อมุมแหลม A + มุมแหลม B = มุมฉาก ขอใดกลาวถูกตอง
1) มุมแหลม A + มุมปานจะไดมุมตรง 2) มุมแหลม B + มุมปานจะไดมุมปาน
3) มุมแหลม A + มุมตรงจะไดมุมกลับ 4) มุมแหลม B + มุมตรงอาจไดมุมกลับ
34. จากรูป สวนที่แรเงามีพื้นที่กี่ตารางเซนติเมตร ถาวงกลมมี
O รัศมียาว 14 เซนติเมตร  π = 227 
1) 308 ตารางเซนติเมตร
2) 196 ตารางเซนติเมตร
28 ซม. 3) 161 ตารางเซนติเมตร
4) 154 ตารางเซนติเมตร
35. A พื้นที่ของรูป ∆ ABC เปนรอยละเทาใดของพื้นที่ของรูป
∆ ACD
1) รอยละ 10
2) รอยละ 15
B C D 3) รอยละ 20
4 16
4) รอยละ 25
36. จากรูป กําหนดให ABˆ C = 2x - 3 องศา
D A E
BAˆ C = x - 9 องศา
ACˆ B = 3x องศา
แลว BAˆ D มีขนาดกี่องศา
1) 23 องศา
B C 2) 32 องศา
3) 53 องศา
4) 61 องศา
37. A จากรูป AB = AC = 7 นิ้ว ED // AC และ AE // DF
แลวรูปสี่เหลี่ยม AEDF มีเสนรอบรูปยาวกี่นิ้ว
F 1) 7 นิ้ว
E
2) 14 นิ้ว
3) 18 นิ้ว
B D C 4) 21 นิ้ว
38. มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมีขนาด 3A องศา และ 2A + 21 องศา แลวมุมยอดของสามเหลี่ยมนี้มีขนาด
กี่องศา
1) 54 องศา 2) 63 องศา
3) 64 องศา 4) 154.8 องศา
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 11
39. มีจุด 8 จุด อยูบนเสนรอบวงของวงกลมตองการลากเสนตรงเชื่อมจุดทั้ง 8 จะลากเสนไดทั้งหมดกี่เสน
1) 7 เสน 2) 14 เสน
3) 28 เสน 4) 56 เสน
40. ถา x -8 6 เปนจํานวนเต็มบวก แลวจะมีคา x ที่เปนไปไดทั้งหมดกี่จํานวน
1) 1 จํานวน 2) 2 จํานวน
3) 4 จํานวน 4) มากมายนับไมถวน
41. A E จากรูป AB // EF จงหาคา x
x 1) 210°
C 30° 2) 250°
50° 70°
3) 270°
B D
F 4) 290°
42. จากรูป AC = 8 นิ้ว, BD = 14 นิ้ว และ O เปน
A จุดศูนยกลางวงกลม แลวบริเวณที่แรเงามีพื้นที่กี่ตารางนิ้ว
1) 42 ตารางนิ้ว
B O D
2) 98 ตารางนิ้ว
C 3) 108 ตารางนิ้ว
4) 154 ตารางนิ้ว
43. ลวดเสนหนึ่งยาว 66 นิ้ว นํามาขดเปนรูปวงกลม แลวรูปวงกลมนี้มีพื้นที่กี่ตารางนิ้ว
1) 346.50 ตารางนิ้ว 2) 345.40 ตารางนิ้ว
3) 336.50 ตารางนิ้ว 4) 235.40 ตารางนิ้ว
44. กําหนดใหจุด P อยูที่ (3, 0), จุด Q อยูที่ (7, 9) และจุด R อยูที่ (10, 0) แลวรูปสามเหลี่ยม PQR มีพื้นที่
กี่ตารางหนวย
1) 31.5 ตารางหนวย 2) 32.5 ตารางหนวย
3) 36 ตารางหนวย 4) 63 ตารางหนวย
45. ถาสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปเล็กมีความยาวเสนรอบรูปยาวเปนหนึ่งในสามของความยาวเสนรอบรูปของสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปใหญ
แลวพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปเล็กคิดเปนกี่เปอรเซ็นตของพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปใหญ
1) 11.11% 2) 16.67%
3) 33.33% 4) 75%
46. ลูกบาศกรูปหนึ่งมีพื้นที่ผิวทั้งหมดเปน v ตารางหนวย และมีปริมาตรเทากับ v ลูกบาศกหนวย แลว v มีคาเทาใด
1) 64 2) 186
3) 216 4) 243
12 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
47. ถังน้ําทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดกวาง 20 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร บรรจุน้ําปริมาตร 60 ลิตรไวเต็มถังพอดี
อยากทราบวาถังน้ําใบนี้สูงกี่เซนติเมตร
1) 10 เซนติเมตร 2) 100 เซนติเมตร
3) 1,000 เซนติเมตร 4) 10,000 เซนติเมตร
48. รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีดานกวาง p หนวย, ดานยาว q หนวย และสวนสูง r หนวย ถาดานกวางเพิ่มขึ้น 10%
ดานยาวลดลง 20% และสวนสูงเพิ่มขึ้น 10% แลวปริมาตรใหมของรูปทรงนี้จะเปนเชนใด
1) ลดลง 3.2% 2) เพิ่มขึ้น 3.2%
3) เทาเดิม 4) ขอมูลไมเพียงพอ
49. ผลการสอบปลายภาคเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้น
A ประถมศึกษาปที่ 6 ของโรงเรียนแหงหนึ่งจํานวน 200 คน
F 2% B จําแนกตามเกรด (A, B, C, D หรือ F) ดังรูป อยาก
72° D ทราบวานักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สอบไดเกรด A
นอยกวาเกรด D กี่คน
C 50% 1) 54 คน
2) 46 คน
3) 44 คน
4) 6 คน
50. จากขอ 49 ถาสุมเลือกนักเรียนมาหนึ่งคนโอกาสที่จะไดนักเรียนที่สอบไดเกรด B เปนเทาใด
1) 21 2) 52
3) 41 4) 51

————————————————————
122 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)

วิชา คณิตศาสตร (ชุดที่ 1)


1. 2) 2. 3) 3. 2) 4. 4) 5. 1) 6. 4) 7. 1) 8. 2) 9. 4) 10. 1)
11. 1) 12. 2) 13. 2) 14. 1) 15. 3) 16. 3) 17. 4) 18. 4) 19. 3) 20. 4)
21. 1) 22. 1) 23. 3) 24. 3) 25. 3) 26. 4) 27. 2) 28. 1) 29. 4) 30. 4)
31. 1) 32. 2) 33. 3) 34. 2) 35. 4) 36. 4) 37. 2) 38. 1) 39. 3) 40. 3)
41. 3) 42. 2) 43. 1) 44. 1) 45. 1) 46. 3) 47. 2) 48. 1) 49. 3) 50. 4)

1. เฉลย 2) ถวย 4 หอ และชอน 3 โหล


หา ค.ร.น. ของ 9 กับ 12 ดังนี้
3 9 12
3 4

ค.ร.น. ของ 9 กับ 12 เทากับ 3 × 3 × 4 = 36
ดังนั้น ซื้อถวยหอละ 9 ใบ จํานวน 36 ÷ 9 = 4 หอ
และซื้อชอนโหลละ 12 คัน จํานวน 36 ÷ 12 = 3 โหล
2. เฉลย 3) 44,640
หา ค.ร.น. ของ 120, 124 และ 160 ดังนี้
2 120 124 160
2 60 62 80
10 30 31 40
3 31 4
∴ ค.ร.น. ของ 120, 124 และ 160 เทากับ 2 × 2 × 10 × 3 × 31 × 4 = 14,880
ดังนั้น จํานวนที่มากที่สุดที่นอยกวา 50,000 และหารดวย 120, 124 และ 160 ลงตัว
คือ 14,880 × 3 = 44,640
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 123
3. เฉลย 2) 26
ให m เปนจํานวนที่มากที่สุดที่หาร 43, 77 และ 60 แลวเหลือเศษเทากันจะไดวา
43 = m(a) + r ...(1)
77 = m(b) + r ...(2) a, b, c เปนผลหาร และ r เปนเศษ
60 = m(c) + r ...(3)
(2) - (1) ; 34 = m(a) - m(b) = m(a - b) ...(4)
(2) - (3) ; 17 = m(b) - m(c) = m(b - c) ...(5)
(3) - (1) ; 17 = m(c) - m(a) = m(c - a) ...(6)
จาก (4), (5), (6) พบวา m หาร 34, 17 ลงตัว และจากโจทย m เปนจํานวนนับที่มากที่สุด
ดังนั้น m เปน ห.ร.ม. ของ 34 และ 17
∴ m = 17
นํา 17 ไปหาร 43, 77 และ 60 ไดผลดังนี้
43 = (17 × 2) + 9
77 = (17 × 4) + 9
60 = (17 × 3) + 9
นั่นคือ เมื่อนํา 17 ไปหาร 43, 77 และ 60 แลวเหลือเศษ 9 เทากัน
∴ m + เศษ = 17 + 9 = 26
4. เฉลย 4) 2 + 4 + 6 + 8 + ... + 48 = 12 × 50
2
1) Q (33 + 24) = (27 + 16)2 = 432 = 1,849
และ 36 + 28 = 729 + 256 = 985
ดังนั้น (33 + 24)2 ≠ 36 + 28 ตัวเลือก 1) ผิด
2) 69 × 10 = 690 × 10
x 5
69 × 10x = 69 × 106
x = 6 ≠ 7 ตัวเลือก 2) ผิด
3) Q (20 × 14) + (20 × 6) = 280 + 120 = 400
และ 20 + (14 × 6) = 20 + 84 = 104
ดังนั้น (20 × 14) + (20 × 6) ≠ 20 + (14 × 6) ตัวเลือก 3) ผิด
24
4) Q 2 + 4 + 6 + 8 + ... + 48 = 2 × (48 + 2) = 12 × 50 = 600
และ 12 × 50 = 600
ดังนั้น 2 + 4 + 6 + 8 + ... + 48 = 12 × 50 ตัวเลือก 4) ถูก
124 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
5. เฉลย 1) 9
3 61 - 2 72 + 2 31 = 3 42x
19 - 16 + 7 = 126 + x
6 7 3 42
133 - 96 + 98 = 126 + x
42 42
135 = 126 + x
x = 135 - 126
= 9
19
6. เฉลย 4) 1 168
5 + 3 × 1 - 8 ÷ 4 = 5 +  3 × 1  -  8 ÷ 4 
6 4 2 21 6  4 2   21 
= 56 + 83 -  218 × 41 
= 56 + 83 - 212
= 140 +168
63 - 16
= 187
168 = 1 168
19
7. เฉลย 1) สาม
บานสามหางจากโรงเรียน 43 กิโลเมตร = 0.75 กิโลเมตร
บานเดี่ยวหางจากโรงเรียน 23 กิโลเมตร = 0.67 กิโลเมตร
บานเอกหางจากโรงเรียน 54 กิโลเมตร = 0.80 กิโลเมตร
บานตอยหางจากโรงเรียน 89 กิโลเมตร = 0.89 กิโลเมตร
บานของสามอยูใกลโรงเรียนเปนอันดับที่ 2 รองจากบานของเดี่ยว
ดังนั้น สามออกจากบานเปนคนรองสุดทาย
8. เฉลย 2) 1,000 เทา
จากจํานวน 58,489,765 พบวา
คาประจําหลักของเลข 4 คือ 100,000
คาประจําหลักของเลข 7 คือ 100
ดังนั้น คาประจําหลักของเลข 4 มีคาเปน 100,000
100 = 1,000 เทาของคาประจําหลักของเลข 7
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 125
9. เฉลย 4) 1 78
7×4
3 3 3 7
2- 7 ของ 1 4 = 2-
3+ 25 3+ 2
9- 2 9 - 5 -5 2
1- 5 5
3
= 2- 4
3+ 2
9 - 53
5
3
= 2- 4
3+ 2
9 - 253
3
= 2- 4
3+ 2
27 - 25
3
3 3 3
= 2- 4 4 4
= 2 - 3+3 = 2 - 6
3 + 22
3
= 2- 8 1 = 168- 1 = 158
= 1 78
10. เฉลย 1) 287.50 ลิตร
ใหถังจุน้ําได y ลิตร
เดิมมีน้ําอยู 23 y ลิตร
ใชน้ําไป 51 ×  23 y  = 152 y ลิตร
เติมน้ําอีก 10 ลิตร เหลือน้ําในถัง 240 ลิตร เขียนเปนสมการไดดังนี้
2 y - 2 y + 10 = 240
3 15
นํา 15 คูณตลอดสมการ ; 10y - 2y + 150 = 3,600
8y = 3,450
y = 3,450 8
ดังนั้น เดิมมีน้ําอยู 2× 3,450 = 4 1,150
3 8
= 287.50 ลิตร
126 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
11. เฉลย 1) 12,500 บาท
นายอดออมใชเงินเดือน ดังนี้
คาอาหาร 52 ของเงินเดือน
คาเชาบาน 31 ของที่เหลือ = 31  1 - 52  = 31 × 53 = 51 ของเงินเดือน
เหลือเงินอีก 1 - 52 - 51 = 5 - 52 - 1 = 52 ของเงินเดือน
คาใชจายอื่นๆ 3,000 บาท และเหลือเงินอีก 2,000 บาท
นั่นคือ 2 สวนคิดเปนเงิน 3,000 + 2,000 = 5,000 บาท
5 สวนคิดเปนเงิน 5,0002 × 5 = 12,500 บาท
ดังนั้น นายอดออมไดเงินเดือนเดือนละ 12,500 บาท
12. เฉลย 2) 32
105 + (3 × 103 ) - (6 × 10 2 ) = 10 2 × (103 + 30 - 6)
(2 × 10 2 ) + (3 × 103 ) 10 2 × (2 + 30)
+ 30 - 6
= 1,000 32
= 1,02432
= 32
13. เฉลย 2) 112
เพราะ 7 * 2 = (7 × 2) - 5 = 14 - 5 = 9
และ 11 * 8 = (11 × 8) - 5 = 88 - 5 = 83
ดังนั้น 9 * 13 = (9 × 13) - 5 = 117 - 5 = 112
14. เฉลย 1) 0.001
 (0.9 + 0.2)2 - 0.21  3  (1.1)2 - 0.21  3
  
 2 + 3.8 + 4.2 
=
 10 
=  1.2110 - 0.21 3

3
=  101 
= 1,000 1
= 0.001
15. เฉลย 3) 2,621.50 บาท
สุพจน ซื้อเสื้อมา 5 ตัว ราคาตัวละ 220.25 บาท เปนเงิน 5 × 220.25 = 1,101.25 บาท
ซื้อกางเกง 3 ตัว ราคาตัวละ 425.75 บาท เปนเงิน 3 × 425.75 = 1,277.25 บาท
ดังนั้น สุพจนซื้อของทั้งหมดเปนเงิน 1,101.25 + 1,277.25 = 2,378.50 บาท
สุพจนมีเงินอยู 5,000 บาท ดังนั้น เขาเหลือเงิน 5,000 - 2,378.50 = 2,621.50 บาท
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 127
16. เฉลย 3) 4
{… × 12} - {… + 12} = 32
(12 × …) - … - 12 = 32
(12 × …) - … = 32 + 12
… × (12 - 1) = 44
… × 11 = 44
… = 44 = 4
11
17. เฉลย 4) 9
1
13 = 0.076923076923076923..........076923..........
ตําแหนงที่ 6 12 18 84
(6 × 2) (6 × 3) (6 × 14)
พบวา ทศนิยมจะเริ่มวนซ้ําเดิมรอบละ 6 ตําแหนง กลาวคือ
เลข 0 เปนทศนิยมตําแหนงที่ 1, 7, 13, 19, 25, ...
7 เปนทศนิยมตําแหนงที่ 2, 8, 14, 20, 26, ...
6 เปนทศนิยมตําแหนงที่ 3, 9, 15, 21, 27, ...
9 เปนทศนิยมตําแหนงที่ 4, 10, 16, 22, 28, ...
2 เปนทิศนิยมตําแหนงที่ 5, 11, 17, 23, 29, ...
3 เปนทศนิยมตําแหนงที่ 6, 12, 18, 24, 30, ...
ดังนั้น ทศนิยมตําแหนงที่ 82 คือ 9
18. เฉลย 4) 10.1
8x - 3 - 2x + 5 = 2
12 18
นํา 36 คูณตลอดสมการจะได
3(8x - 3) - 2(2x + 5) = 72
24x - 9 - 4x - 10 = 72
20x - 19 = 72
20x = 91
x = 20 91 = 4.55
∴ 2x + 1 = 2(4.55) + 1 = 10.1
19. เฉลย 3) 2
19 - 2(3x + 1) = 5(x - 1)
19 - 6x - 2 = 5x - 5
19 - 2 + 5 = 5x + 6x
22 = 11x
x = 22 11 = 2
128 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
20. เฉลย 4) 756
a4 = a × a × a × a = 1,296 = 6 × 6 × 6 × 6
ดังนั้น a = 6
b3 = b × b × b = 343 = 7 × 7 × 7
ดังนั้น b = 7
และ c5 = c × c × c × c × c = 243 = 3 × 3 × 3 × 3 × 3
ดังนั้น c = 3
∴ ac × b2 ÷ 2b = 6 2 × = 21614× 49 = 108 × 7 = 756
3 72
×7
21. เฉลย 1) 360 บาท
ใหรองเทาราคาคูละ m บาท
ซื้อ 2 คู ขาดเงิน 120 บาท แสดงวาไกมีเงินอยู 2m - 120 บาท
ซื้อ 1 คู เหลือเงิน 120 บาท แสดงวาไกมีเงินอยู 2m + 120 บาท
สมการคือ 2m - 120 = m + 120
2m - m = 120 + 120
m = 240
ดังนั้น ไกมีเงินอยู 240 + 120 = 360 บาท
22. เฉลย 1) 14 ฉบับ
ใหหาญมีธนบัตรฉบับละ 100 บาท x ฉบับ คิดเปนเงิน 100x บาท
มีธนบัตรฉบับละ 100 บาท และ 500 บาท รวมกันอยู 50 ฉบับ
ดังนั้น เขามีธนบัตรฉบับละ 500 บาท อยู 50 - x ฉบับ คิดเปนเงิน 500(50 - x) บาท
นับเปนเงินไดทั้งหมด 12,200 บาท
∴ จะไดสมการ คือ
100x + 500(50 - x) = 12,200
100x + 25,000 - 500x = 12,200
25,000 - 400x = 12,200
25,000 - 12,200 = 400x
12,800 = 400x
x = 12,800 400 = 32
ดังนั้น หาญมีธนบัตรฉบับละ 100 บาท 32 ฉบับ และ 500 บาท 18 ฉบับ
∴ มีธนบัตรทั้ง 2 ชนิดตางกัน 32 - 18 = 14 ฉบับ
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 129
23. เฉลย 3) 4
จาก m = 3n2 = 4p
จะได m = 3n2 และ p = 3n2 × 41 = 3n8
 3n   3n 
3m + 6n + 4p = 3 2  + 6n + 4  8 
2m - 3n + 8p 2 3n2  - 3n + 8 3n8 
9n + 6n + 3n
= 3n2 2
- 3n + 3n
= 12n
3n
= 4
24. เฉลย 3) 8 : 21
16 = 28
A B
16B = 28A
A = 16 = 4
B 28 7
A × 2 = 4 × 2
B 3 7 3
2A = 8
3B 21
∴ 2A : 3B = 8 : 21
21 = 51.5%
25. เฉลย 3) 40
1) ถูก เพราะ 32 = 64 > 54
2) ถูก เพราะ 26% = 100 26 = 13
50
21 21
3) ผิด เพราะ 40 = 40 × 100 = 52.5%
4) ถูก เพราะ 20 + 10 ÷ 5 = 20 + (10 ÷ 5) = 20 + 2 = 22
26. เฉลย 4) 4,400 บาท
ปองขายโทรศัพทมือถือในราคา 3,600 บาท ขาดทุน 10% (ทุน 100 บาท ขาย 90 บาท)
ใหปองซื้อโทรศัพทมาราคา x บาท
จะได x 100
3,600 = 90
x = 100 90 × 3,600 = 4,000 บาท
ตองการกําไร 10% ตองขายในราคา 4,000 +  4,000 × 100
10  = 4,400 บาท

130 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
27. เฉลย 2) เบียร 150 วัน
แมใหเงินบอยและเบียรคนละ 200 บาทตอวัน
บอยเก็บเงินไววันละ 15% คิดเปนเงิน 200 × 100 15 = 30 บาทตอวัน
1 เดือนมี 30 วัน ดังนั้น เขาเก็บเงินได 30 × 30 = 900 บาทตอเดือน
บอยจายคาโทรศัพทเดือนละ 450 บาท ฉะนั้นเขาเหลือเงินเก็บ 450 บาทตอเดือน
เบียรเก็บเงินไววันละ 8% คิดเปนเงิน 200 × 1008 = 16 บาทตอวัน
1 เดือนมี 30 วัน ดังนั้น เขาเก็บเงินได 16 × 30 = 480 บาทตอเดือน
บอยจะเก็บเงินได 2,400 บาท ตองใชเวลา 2,400 ÷ 450 30
30 = 2,400 × 450 = 160 วัน
เบียรจะเก็บเงินได 2,400 บาท ตองใชเวลา 2,400 ÷ 16 = 150 วัน
ดังนั้น เบียรเก็บเงินได 2,400 บาท กอนบอยโดยใชเวลา 150 วัน
28. เฉลย 1) 7,200 บาท
พอคาขายเครื่องซักผาไปราคา 6,600 บาท ไดกําไร 10% (ทุน 100 บาท ขาย 110 บาท)
ใหตนทุนของเครื่องซักผา คือ x บาท
จะได x 100
6,600 = 110
x = 100 110 × 6,600 = 6,000 บาท
ตองการกําไร 20% พอคาตองขายเครื่องซักผาในราคา 6,000 +  6,000 × 100
20 

= 6,000 + 1,200
= 7,200 บาท
29. เฉลย 4) รอยละ 37.6
แจนขายเสื้อตัวหนึ่งราคา 99 บาท ไดกําไร 25% (ทุน 100 บาท ขาย 125 บาท)
ใหแจนซื้อเสื้อมาราคาตัวละ x บาท
จะได x 100
99 = 125
x = 100125 × 99 = 79.20 บาท

ถาขายเสื้อตัวนี้ในราคา 109 บาท จะไดกําไร 109 - 79.20 = 29.80 บาท


หรือรอยละ 29.80 2,980
79.20 × 100 = 79.2 ≈ 37.6
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 131
30. เฉลย 4) 640 บาท
สุเทพกูเงิน 500,000 บาท ดอกเบี้ยรอยละ 8 ตอป
ฉะนั้น 1 ป สุเทพเสียดอกเบี้ยทั้งหมด 500,000 × 1008 = 40,000 บาท
ดังนั้น สุเทพตองใชหนี้ทั้งหมด 500,000 + 40,000 = 540,000 บาท
ครบ 1 ป สุเทพเก็บขาวโพดได 1,000 ถัง และเมื่อขายขาวโพดไดเงินไปใชหนี้แลวยังเหลือเงินอีก
100,000 บาท
เขาตองขายขาวโพดไดเงินทั้งหมด 540,000 + 100,000 = 640,000 บาท
ดังนั้น สุเทพตองขายขาวโพดถังละ 640,000
1,000 = 640 บาท
31. เฉลย 1) 130 องศา
A Q BEC เปนสามเหลี่ยมหนาจั่ว
ดังนั้น EBˆ C = ECˆ B (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมีขนาดเทากัน)
E Q ABC เปนสามเหลี่ยมดานเทา
ดังนั้น ABˆ C = ACˆ B = BAˆ C = 60°
EBˆ C = ECˆ B = ACˆ B - ACˆ E
B D C
= 60° - 20° = 40°
EBˆ D + EDˆ B + BEˆ D = 180° (ผลบวกมุมภายในรูปสามเหลี่ยมเทากับ 180°)
40° + 90° + BEˆ D = 180° ( AD ⊥ BC และ EBˆ D = EBˆ C = 40°)
130° + BEˆ D = 180°
BEˆ D = 180° - 130° = 50°
ดังนั้น AEˆ B = 180° - 50° = 130° (มุมตรง = 180°)
32. เฉลย 2) 15 องศา
Q AB // CD และลาก MN ใหขนานกับ AB และ CD ดังรูปจะได
B M D x = BEˆ M (มุมแยงมีขนาดเทากัน)
x MEˆ C + 3x = 180° (ผลบวกมุมภายในบนขางเดียวกันของเสนตัด
E 150°
ของเสนขนานเทากับ 180°)
∴ (150° - x) + 3x = 180° (จากรูป MEˆ C = 150° - BEˆ M )
A
N
3x -x + 3x = 180° - 150°
C 2x = 30°
o
x = 302 = 15°
132 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
33. เฉลย 3) มุมแหลม A + มุมตรงจะไดมุมกลับ
1) ผิด เพราะถามุมแหลม A = 30° และมุมปาน = 120°
จะไดวามุมแหลม A + มุมปาน = 30° + 120° = 150° เปนมุมปาน ไมใชมุมตรง
2) ผิด เพราะถามุมแหลม B = 89° และมุมปาน = 179°
จะไดวามุมแหลม B + มุมปาน = 89° + 179° = 268° เปนมุมกลับ ไมใชมุมปาน
3) ถูก เพราะ 0° < มุมแหลม A < 90° ดังนั้น 0° + 180° < มุมแหลม A + 180° < 90° + 180°
หรือ 180° < มุมแหลม A + มุมตรง < 270°
นั่นคือ มุมแหลม A + มุมตรง จะไดมุมกลับเสมอ (180°)
4) ผิด เพราะมุมแหลม B + มุมตรงจะไดมุมกลับเสมอ [ทํานองเดียวกันกับตัวเลือก 3)]
34. เฉลย 2) 196 ตารางเซนติเมตร
จากรูป วงกลมมีรัศมียาว 14 เซนติเมตร
ฉะนั้นวงกลมมีพื้นที่ = πr2 = 227 × 14 × 14 = 616 ตารางเซนติเมตร
O
และวงกลมนี้มีเสนรอบรูปยาว = 2πr = 2 × 227 × 14 = 88 เซนติเมตร
สวนที่แรเงาคิดเปน 8828 = 7 ของวงกลม (สวนที่แรเงามีสวนโคงยาว 28 เซนติเมตร)
22
28 ซม. 7
ดังนั้น สวนที่แรเงามีพื้นที่ 22 × 616 = 7 × 28 = 196 ตารางเซนติเมตร
35. เฉลย 4) รอยละ 25
A จากรูป พบวา ∆ ABC กับ ∆ ACD มีสวนสูงเทากันโดยใหสูง h หนวย
เมื่อ BC = 4 หนวย และ CD = 16 หนวย
h จะไดวา พื้นที่ ∆ ABC = 21 × h × 4 = 2h ตารางหนวย
และพื้นที่ ∆ ACD = 21 × h × 16 = 8h ตารางหนวย
B C D
4 16
2h × 100 = 200 = 25 ของพื้นที่ ∆ ACD
ดังนั้น พื้นที่ ∆ ABC คิดเปนรอยละ 8h 8
36. เฉลย 4) 61 องศา
D A E ∆ ABC มี ABˆ C = 2x - 3 องศา, BAˆ C = x - 9 องศา และ ACˆ B = 3x องศา
จะไดวา (2x - 3) + (x - 9) + 3x = 180 องศา
6x - 12 = 180 องศา
6x = 180 + 12 = 192 องศา
x = 192
6 = 32 องศา
B C
Q DE // BC ดังนั้น BAˆ D = ABˆ C = 2(32) - 3 = 64 - 3 = 61 องศา
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 133
37. เฉลย 2) 14 นิ้ว
A Q AB = AC = 7 นิ้ว ดังนั้น ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
และมี ABˆ C = ACˆ B
F
Q ED // AC ดังนั้น EDˆ B = ACˆ B (มุมภายนอกกับมุมภายในที่อยู
E
ตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดของเสนขนานเทากัน)
B D C
ฉะนั้น ABˆ C = EDˆ B ทําให ∆ BED เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว และ EB = ED

AB // DF ดังนั้น ABˆ C = FDˆ C (มุมภายนอกกับมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด


Q
ของเสนขนานเทากัน)
ฉะนั้น FDˆ C = ACˆ B ทําให ∆ DFC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว และ FD = FC
Q AB = AE + EB = AE + ED = 7 นิ้ว
และ AC = AF + FC = AF + FD = 7 นิ้ว
ดังนั้น รูปสี่เหลี่ยม AEDF มีเสนรอบรูปยาว = AE + ED + AF + FD = 7 + 7 = 14 นิ้ว
38. เฉลย 1) 54 องศา
มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมีขนาดเทากัน
ดังนั้น 3A = 2A + 21
3A - 2A = 21
A = 21
ฉะนั้น มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมนี้มีขนาด 3 × 21 = 63 องศา
∴ มุมยอดมีขนาด 180° - 2(63°) = 180° - 126° = 54 องศา
39. เฉลย 3) 28 เสน
มี 8 จุด อยูบนเสนรอบวงของวงกลม ซึ่งแตละจุดลากเสนตรงไปยังจุดอื่นได 8 - 1 = 7 เสน
ดังนั้น สามารถลากเสนตรงไดทั้งหมด 7 ×2 8 = 7 × 4 = 28 เสน
(หาร 2 เพราะมีการนับซ้ํา เชน เสนที่ลากจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 2 และเสนที่ลากจากจุดที่ 2 ไปจุดที่ 1
คือ เสนตรงเดียวกัน)
40. เฉลย 3) 4 จํานวน
8 8
x - 6 เปนจํานวนเต็มบวก นั่นคือ x - 6 > 0 ฉะนั้น x - 6 > 0
ทําให x > 6 ดังนั้น คา x ที่เปนไปได คือ 7, 8, 9, 10, 11, ...
แตคา x ที่ทําให x -8 6 เปนจํานวนเต็มบวก ไดแก 7, 8, 10, 14
ดังนั้น จะมีคา x ที่เปนไปไดทั้งหมด 4 จํานวน
134 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
41. เฉลย 3) 270°
Q AB // EF และลาก MN , PQ ใหขนานกับ AB และ EF ดังรูป
M P
A E จะได ABˆ C = BCˆ N = 50° (มุมแยงมีขนาดเทากัน)
x FEˆ D = EDˆ P = 30° (มุมแยงมีขนาดเทากัน)
C 30° PDˆ C = 70° - 30° = 40°
50° 70°
PDˆ C = DCˆ N = 40° (มุมแยงมีขนาดเทากัน)
B D BCˆ D = 50° + 40° = 90°
F
N Q ดังนั้น x = 360° - 90° = 270°
42. เฉลย 2) 98 ตารางนิ้ว
จากรูป AC = 8 นิ้ว, BD = 14 นิ้ว และ O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม
A
ดังนั้น วงกลมมีรัศมียาว 142 = 7 นิ้ว
B O D และมีพื้นที่ = 227 × 7 × 7 = 154 ตารางนิ้ว
สี่เหลี่ยม ABCD มีพื้นที่ = 21 × 14 × 8 = 56 ตารางนิ้ว
C
ดังนั้น บริเวณที่แรเงามีพื้นที่ 154 - 56 = 98 ตารางนิ้ว
43. เฉลย 1) 346.50 ตารางนิ้ว
ลวดเสนหนึ่งยาว 66 นิ้ว
นํามาขดเปนรูปวงกลมไดเสนรอบวงยาว 66 นิ้ว
นั่นคือ 2πr = 66
2 × 227 × r = 66
r = 66 × 227 × 21 = 212 = 10.5 นิ้ว
ดังนั้น วงกลมมีพื้นที่ 227 × 10.5 × 10.5 = 346.5 ตารางนิ้ว
44. เฉลย 1) 31.5 ตารางหนวย
y
10 Q (7, 9)
8
6
4
2 P (3, 0) R (10, 0)
x
0 2 4 6 S 8 10
จากรูป พบวา ∆ PQR มีฐาน PQ ยาว 7 หนวย และสวนสูง QS ยาว 9 หนวย
ดังนั้น ∆ PQR มีพื้นที่ = 21 × 7 × 9
= 632
= 31.5 ตารางหนวย
บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2) 135
45. เฉลย 1) 11.11%
ใหสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปเล็กมีดานยาวดานละ m หนวย
ดังนั้น เสนรอบรูปยาว 4m หนวย และมีพื้นที่ m2 ตารางหนวย
ความยาวเสนรอบรูปของสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปเล็กเปนหนึ่งในสามของรูปใหญ
ดังนั้น สี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปใหญมีเสนรอบรูปยาว 3 × 4m = 12m หนวย
ทําใหดานยาว ยาวดานละ 12m 4 = 3m หนวย ฉะนั้น มีพื้นที่ (3m) × (3m) = 9m ตารางหนวย
2
2
ดังนั้น สี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปเล็กมีพื้นที่เปน m 2 × 100 = 100 9 %
9m
= 11.11% ของพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปใหญ
46. เฉลย 3) 216
พื้นที่ผิวแตละดานของลูกบาศกมีคาเทากัน เนื่องจากลูกบาศกนั้นมีความยาว, ความกวาง และความ
สูงเทากัน และลูกบาศกมีทั้งหมด 6 ดาน
จาก พื้นที่ผิวทั้งหมด = v ตารางหนวย
จะไดวา 6 × ความกวาง × ความยาว = v ...(1)
และ ลูกบาศกมีปริมาตร = v ลูกบาศกหนวย
จะไดวา ความกวาง × ความยาว × ความสูง = v ...(2)
(1) = (2) ; 6 × ความกวาง × ความยาว = ความกวาง × ความยาว × ความสูง
∴ ความสูงของลูกบาศก = 6 หนวย
ดังนั้น ลูกบาศกมีขนาด 6 × 6 × 6
นั่นคือ v = 6 × 6 × 6 = 216
47. เฉลย 2) 100 เซนติเมตร
ถังน้ําจุน้ําได = 20 × 30 × ความสูง ลูกบาศกเซนติเมตร
ปริมาตร 60 ลิตร = 60 × 1,000 = 60,000 ลูกบาศกเซนติเมตร
(1 ลิตร = 1,000 ลูกบาศกเซนติเมตร)
ฉะนั้น 20 × 30 × ความสูง = 60,000
60,000
ความสูง = 20 × 30
= 100 เซนติเมตร
136 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
48. เฉลย 1) ลดลง 3.2%
รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง p หนวย, ยาว q หนวย และสูง r หนวย
มีปริมาตร = pqr ลูกบาศกหนวย
ดานกวางเพิ่มขึ้น 10% เปน p + 100 10 p = p + p = 11p หนวย
10 10
20
ดานยาวลดลง 20% เปน q - 100 q = 5 หนวย 4q
สวนสูงเพิ่มขึ้น 10% เปน r + 10010 r = 11r หนวย
10
ดังนั้น ปริมาตรใหม = 10 × 5 × 10 = 121pqr
11p 4q 11r
125 ลูกบาศกหนวย
∴ ปริมาตรใหมลดลง pqr - 125
121pqr = 4pqr125 ลูกบาศกหนวย
คิดเปน 4pqr 100
125 × pqr = 3.2%
49. เฉลย 3) 44 คน
A 3% นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีทั้งหมด 200 คน
2 × 200 = 4 คน
นักเรียนที่สอบไดเกรด F มี 100
F 2% B
72° D 72° × 200 = 40 คน
นักเรียนที่สอบไดเกรด B มี 360 °
C 50% 50 × 200 = 100 คน
นักเรียนที่สอบไดเกรด C มี 100
90° × 200 = 50 คน
นักเรียนที่สอบไดเกรด D มี 360 °
และนักเรียนที่สอบไดเกรด A มี 200 - (4 + 40 + 100 + 50) = 6 คน
ดังนั้น นักเรียนที่สอบไดเกรด A มีจํานวนนอยกวาเกรด D = 50 - 6 = 44 คน
50. เฉลย 4) 51
จากขอ 49 นักเรียนที่สอบไดเกรด B มี 40 คน
จากนักเรียนทั้งหมด 200 คน
40 = 1
ดังนั้น โอกาสที่เปนนักเรียนที่สอบไดเกรด B เทากับ 200 5

————————————————————
240 บัณฑิตแนะแนว คลังโจทย ชั้น ป.6 (เลม 2)
วิธีใชตารางสรุปคาสถิติของนักเรียนทั่วประเทศ
“คาสถิติแตละชุด” รวบรวมมาจากขอมูลการสอบจริงในวิชานั้นๆ ของนักเรียนทั่วประเทศที่เคยรวมสอบ
วัดความรูกับบัณฑิตแนะแนว ในแตละปกวา 100,000 คน ซึ่งจะทําใหผูที่ใชหนังสือนี้ไดรับประโยชนสูงสุดยิ่งขึ้น
ตัวอยาง A ซึ่งอยูในจังหวัดราชบุรี (ภาคกลาง) ทําคะแนนสอบวิชานี้ได 45.00% เมื่อนําคะแนนไป
เปรียบเทียบกับ “ตารางสรุปคาสถิติในวิชานี้ของนักเรียนทั่วประเทศ” ก็จะสามารถอธิบายไดดังนี้

ขอสอบชุดนี้ มีคะแนนสูงสุด (MAXIMUM) ..............................ในภาคกลาง = 93.00%


รวมทั้งประเทศ = 95.00%
มีคะแนนคาเฉลี่ย (MEAN)....................................ในภาคกลาง = 33.32%
รวมทั้งประเทศ = 33.38%
มีผูทําคะแนนไดใกลเคียง A (>40-50%) ......ในภาคกลาง ≈ 13.45%
รวมทั้งประเทศ ≈ 11.91%
มีผูทําคะแนนไดนอยกวา A (0-40%) ..............ในภาคกลาง ≈ 80.41%
รวมทั้งประเทศ ≈ 81.99%
มีผูทําคะแนนไดมากกวา A (>50-100%)......ในภาคกลาง ≈ 6.14% รวมทั้งประเทศ ≈ 6.10%
อนึ่ง ขอใหทานตระหนักวา “คาสถิต”ิ ที่พิมพเผยแพรในหนังสือนี้ รวบรวมจากกลุม ตัวอยางของ
ผูสมัครสอบทั่วประเทศในอดีต มิใชขอมูลในปปจจุบัน จึงควรศึกษาในลักษณะเทียบเคียงจากอดีตเพื่อนํามา
ปรับใชในปจจุบัน พี่ๆ จากบัณฑิตแนะแนวทุกคนขอเปนกําลังใจ และขออวยพรใหนองทุกคนมีความมุมานะ
ขยันหมั่นเพียรทบทวนความรูอยางสม่ําเสมอ สามารถกาวผานอุปสรรค ความยากลําบากนานัปการไปสู
ความสําเร็จที่มุงหวัง นําความรู-ประสบการณเสริมสรางอนาคตที่งดงามใหแกตนเอง และสังคมสืบตอไป
สําหรับการแบงภาคเพื่อใหสามารถเปรียบเทียบกับนักเรียนที่อยูในภาคเดียวกันไดดวย ซึ่งจะแบงเปน 6 ภาค ดังนี้
- กรุงเทพมหานคร เปนจังหวัดใหญ มีนักเรียนและโรงเรียนเปนจํานวนมาก แมจะมีเพียงจังหวัดเดียว แตก็จัดเปน 1 ภาค
- ภาคเหนือ มี 17 จังหวัด คือ อุทยั ธานี, พิษณุโลก, กําแพงเพชร, ตาก, นครสวรรค, พิจิตร, เพชรบูรณ, สุโขทัย, อุตรดิตถ, เชียงใหม, เชียงราย,
นาน, พะเยา, แพร, แมฮองสอน, ลําปาง และ ลําพูน
- ภาคใต มี 14 จังหวัด คือ ยะลา, นราธิวาส, ปตตานี, สตูล, สงขลา, ชุมพร, นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สุราษฎรธานี, ภูเก็ต, กระบี่, ตรัง, พังงา และ ระนอง
- ภาคอีสาน มี 20 จังหวัด คือ อุดรธานี, ขอนแกน, เลย, สกลนคร, หนองคาย, อุบลราชธานี, กาฬสินธุ, นครพนม, มุกดาหาร, มหาสารคาม, ยโสธร,
รอยเอ็ด, นครราชสีมา, ชัยภูมิ, บุรีรัมย, ศรีสะเกษ, สุรินทร, หนองบัวลําภู, อํานาจเจริญ และ บึงกาฬ
- ภาคตะวันออก มี 9 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา, จันทบุรี, ชลบุรี, นครนายก, ปราจีนบุรี, ระยอง, ตราด, สมุทรปราการ และ สระแกว
- ภาคกลาง-ตะวันตก มี 16 จังหวัด คือ ปทุมธานี, นครปฐม, สมุทรสาคร, ราชบุรี, กาญจนบุรี, ประจวบคีรีขันธ, เพชรบุรี, สมุทรสงคราม,
สุพรรณบุรี, ชัยนาท, พระนครศรีอยุธยา, ลพบุรี, สระบุรี, สิงหบุรี, อางทอง และ นนทบุรี

You might also like