You are on page 1of 41

บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.

มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 1

คํานํา
โจทยขั้นเทพ เขา มหิดลฯ เปนหนังสือคูมือเตรียมสอบแนวใหม เหมาะอยางยิ่งสําหรับนักเรียน
สําหรับใชทบทวนความรู- วัดผลตัวเอง เพื่อพัฒนาความเปนเลิศในแตละวิชาและเตรียมสอบศึกษาตอใน
ระดับชั้นที่สูงขึ้น ซึ่งปจจุบันมีอตั ราการแขงขันสูงขึ้นทุกป ในเลมจะประกอบดวยแบบทดสอบ ใน 2 วิชาหลัก
คือ คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร วิชาละ 3 ชุด โดยในแตละวิชาจะมีเนื้อหาครอบคลุมตามหลักสูตรใหม
ของกระทรวงศึกษาธิการ มีระดับความยาก-งาย และพลิกแพลงตามแนวขอสอบแขงขันระดับประเทศ และ
ยังไดจัดพิมพเฉลยอยางละเอียด พรอมแนวการประเมินผลของขอสอบแตละชุดใหอีก เพื่อใหนักเรียนสามารถ
อานทําความเขาใจและประเมินผลคะแนนที่ทําไดดวยตัวเอง
อนึ่ง โจทยขั้นเทพ เลมนี้ เปนสวนหนึ่งของหนังสือชุด “โจทยขั้นเทพ และ คลังโจทย” ที่จัดทําขึ้น
แยกเปน 2 ชุดใหญๆ โดยรวบรวม-ปรับปรุงมาจาก “คลังขอสอบของบัณฑิตแนะแนว” ซึ่งไดเคยผานการ
ใชสอบวัดความรูนักเรียนทั่วประเทศในแตละปกวา 100,000 คนมาแลว ดังนี้
1. ชุด โจทยขั้นเทพ เปนหนังสือรวมโจทยขอสอบระดับสูง เชน ขอสอบแขงขัน, ขอสอบชิงทุน หรือ
ขอสอบคัดเลือกเขาเรียนตอในสถาบันชั้นนํา ปจจุบันจัดพิมพแยกเปนหลายเลม ตามระดับชัน้ ของนักเรียน
2. ชุด คลังโจทย เปนหนังสือรวมโจทยขอสอบวัดพื้นฐานความรูใ นแตละวิชาของชั้นนั้นๆ เหมาะสําหรับ
ฝกทําหาประสบการณ และเพิม่ เกรดใหสูงขึ้น ปจจุบันจัดพิมพแยกเปนหลายเลม ตามระดับชั้นของนักเรียน
สํานักงานบัณฑิตแนะแนวหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือชุด “โจทยขั้นเทพ และ คลังโจทย” เลมนี้
จะเปนประโยชนสําหรับผูที่จะมีไวศึกษาคนควา และใชเปนแนวทางในการเตรียมตัวสอบใหประสบความสําเร็จ
และหากพบขอบกพรองประการใดโปรดแจงใหทราบดวย เพื่อจะไดปรับปรุงใหดียิ่งขึ้นในโอกาสตอไป

สํานักงานบัณฑิตแนะแนว

โจทยขั้นเทพ เขา มหิดลฯ (เลม 1)


กองบรรณาธิการ : ไพจิตร ศุภพิมล กัญญาณัฏฐ ฟูผล สิทธิชัย นิยมสิทธิ์ วิภาพร ประมวล
เพยาว ชาวบานซอง สุจิตตา ไชยจันลา สาริกา โกยรัมย เพชรไพลิน รอดนาค ประไพพร ไขมวง
วุฒิภัทร จันทรนาค ธีรยุทธ พงษศิริรัตน ปรีดาวรรณ ชลชีพ สันติ วิเศษสุทธิ์ ณรงคศักดิ์ รอดนาค
เจาของ : สํานักงานบัณฑิตแนะแนว โทรศัพท 02-2794808 แฟกซ 02-6171820
เลขที่ 1033/4 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400
พิมพที่ : หางหุนสวนจํากัดรุงเรืองสาสนการพิมพ
เลขที่ 195/6 หมู 5 ซอยพุทธบูชา 44 แขวงบางมด เขตทุงครุ กทม. 10140 โทรศัพท 02-8706301-3
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2537 : หามลอกเลียน คัดลอก จัดพิมพ หรือทําซ้ํา
ไมวาสวนใดสวนหนึ่งของหนังสือเลมนี้กอนไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร
2 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)

สารบัญ
สวนที่ 1 : โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
- โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาคณิตศาสตร (ชุดที่ 1) ............................................................3
- โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาวิทยาศาสตร (ชุดที่ 1)......................................................... 17
- โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาคณิตศาสตร (ชุดที่ 2) ......................................................... 43
- โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาวิทยาศาสตร (ชุดที่ 2)......................................................... 61
- โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาคณิตศาสตร (ชุดที่ 3) ......................................................... 95
- โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาวิทยาศาสตร (ชุดที่ 3).......................................................111
สวนที่ 2 : เฉลยโจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
- เฉลยโจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาคณิตศาสตร (ชุดที่ 1)..............................................148
- เฉลยโจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาวิทยาศาสตร (ชุดที่ 1).............................................172
- เฉลยโจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาคณิตศาสตร (ชุดที่ 2)..............................................197
- เฉลยโจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาวิทยาศาสตร (ชุดที่ 2).............................................220
- เฉลยโจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาคณิตศาสตร (ชุดที่ 3)..............................................244
- เฉลยโจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลฯ วิชาวิทยาศาสตร (ชุดที่ 3).............................................263
ภาคผนวก : คําอธิบาย “วิธีใชตารางสรุปคาสถิติของนักเรียนทั่วประเทศ”...........................288
ซ.พหลโยธิ น 2

TV สีชอง 5
ไปดิ นแดง

สถานีรถไฟฟา
สนามเปา
ไปสะพานควาย BTS ถ.พหลโยธิน ไปราชเทวี
ซ.พหลโยธิ น 3

ซ.พหลโยธิ น 1

รพ.พญาไท 2
ถ.ราชวิถี

รพ.ราชวิถี
รพ.พระมงกุฎ

สํานักงานบัณฑิตแนะแนว 1033/4 ถ.พหลโยธิน สามเสนใน พญาไท กทม. 10400


เวลาทํางาน 08.00-17.00 น. Website : www.bunditnaenaew.com
ฝายประชาสัมพันธ เปดทุกวัน (จันทร-อาทิตย) โทรศัพท 02-2794808 แฟกซ 02-6171820
ฝายประสานงานโรงเรียน-รานคา เปดเฉพาะวันจันทร-วันศุกร โทรศัพท 02-2794433 แฟกซ 02-2796611
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 3

บัณฑิตแนะแนว

ขอสอบเสริมประสบการณเพื่อวัดความรูระดับมัธยมตน

วิชา คณิตศาสตร (ชุดที่ 1)


ชื่อ-นามสกุล....................................................................... เลขที่นงั่ สอบ..........................................
สถานทีส่ อบ......................................................................... หองสอบ.................................................
______________________________________________________________________________

คําอธิบาย
1. ขอสอบชุดนี้ มีจํานวน 60 ขอ คะแนนเต็ม 100 คะแนน ใหเวลาทํา 2 ชั่วโมง 30 นาที
2. ในการทําขอสอบ ใหเลือกคําตอบที่ถูกตองหรือเหมาะสมที่สุด เพียงคําตอบเดียว กรณีขอใด
ไมมีตัวเลือกที่ถูกตองใหตอบตัวเลือกที่ 5) แทน
3. นักเรียนจะตองพยายามทําขอสอบและจับเวลาเหมือนกับการสอบแขงขันจริง
หามใชเวลาสอบเกินที่กําหนดและหามเปดตําราดู หรือนําอุปกรณชวยในการคิดคํานวณมาใช
เด็ดขาด ทั้งนี้เพื่อประโยชนในการทดสอบวัดความรูของตัวนักเรียนเอง (อาจใหผูปกครองชวย
ควบคุมการสอบ หรืออาจใชนาฬิกาปลุกตั้งเวลาก็ได) เมื่อหมดเวลาสอบ ใหตรวจคะแนนจาก
สวนเฉลย เรื่องใดทําไมไดหรือทําผิดใหกลับไปอานหนังสือทบทวนใหม
4. การประเมินผล นักเรียนสามารถนํา “คะแนนสอบทีท่ ําได” ไปเปรียบเทียบกับ ตารางสรุป
คาสถิติในวิชานี้ของนักเรียนทั่วประเทศ (หลังปกขอสอบนี้) ก็จะทําใหเห็นระดับความสามารถ
ของตัวเองไดอยางชัดเจน

ขอสอบชุดนี้จดั ทําขึ้นโดยรวบรวม-ปรับปรุงมาจาก “ขอสอบ PRE-ม.ตน 5 ปลาสุด”


ของบัณฑิตแนะแนว ซึ่งเคยผานการใชทดสอบนักเรียนทั่วประเทศกวา 50,000 คน มาแลว จึงเหมาะที่จะใช
ทบทวนความรูและวัดผลตนเอง เพื่อพัฒนาความเปนเลิศในแตละวิชาและเตรียมสอบแขงขันในทุกสนาม
4 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
ตารางสรุปคาสถิติวิชานี้ของนักเรียนทั่วประเทศ
ที่เคยเขาสอบ PRE-ม.ตน ในวิชา คณิตศาสตร (ชุดที่ 1)
เมื่อสอบเสร็จใหนํา “คะแนนที่ทําได” มาเปรียบเทียบเพื่อวัดความสามารถกับ “คาสถิติ” นี้ไดเลย

ภาค สูงสุด ฐานนิยม มัธยฐาน คาเฉลี่ย


(MAXIMUM) (MODE) (MEDIAN) (MEAN)
กทม. 84.00 28.00 29.00 30.32
เหนือ 89.00 29.00 30.00 30.46
ใต 94.00 27.00 29.00 29.75
อีสาน 97.00 30.00 29.00 29.84
ตะวันออก 83.00 27.00 29.00 30.23
กลาง-ตะวันตก 92.00 24.00 30.00 31.01
รวมทั้งประเทศ 97.00% 27.00% 29.00% 30.17%

ชวงคะแนน จํานวนนักเรียน (%) ที่ทําคะแนนสอบวิชานีไ้ ดในแตละชวงของแตละภาค


(%) กทม. เหนือ ใต อีสาน ตะวันออก กลาง ทั้งประเทศ
0-10 0.13 0.07 0.04 0.11 0.28 0.00 0.09
>10-20 10.51 9.18 11.01 11.01 10.72 9.84 10.44
>20-30 46.52 44.67 47.65 48.00 45.44 43.99 46.41
>30-40 31.74 35.09 31.80 30.92 31.32 33.26 32.36
>40-50 8.00 8.92 6.98 7.52 9.11 8.51 7.91
>50-60 1.93 1.59 1.71 1.41 2.08 3.23 1.88
>60-70 0.92 0.37 0.47 0.66 0.95 0.72 0.62
>70-80 0.17 0.07 0.18 0.22 0.00 0.28 0.17
>80-90 0.08 0.04 0.14 0.11 0.10 0.06 0.09
>90-100 0.00 0.00 0.02 0.04 0.00 0.11 0.03
รวม 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100%

ดูคําอธิบาย “วิ ธี ใช ตารางสรุ ป ค า สถิ ติข องนั กเรี ย นทั่ ว ประเทศ” ไดที่หนาสุดทายของเลม
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 5

กระดาษคําตอบ
วิชา....................................................................................

1 cdefg 41 cdefg 81 c d e f g 121 c d e f g


2 cdefg 42 cdefg 82 c d e f g 122 c d e f g
3 cdefg 43 cdefg 83 c d e f g 123 c d e f g
4 cdefg 44 cdefg 84 c d e f g 124 c d e f g
5 cdefg 45 cdefg 85 c d e f g 125 c d e f g
6 cdefg 46 cdefg 86 c d e f g 126 c d e f g
7 cdefg 47 cdefg 87 c d e f g 127 c d e f g
8 cdefg 48 cdefg 88 c d e f g 128 c d e f g
9 cdefg 49 cdefg 89 c d e f g 129 c d e f g
10 cdefg 50 cdefg 90 c d e f g 130 c d e f g
11 cdefg 51 cdefg 91 c d e f g 131 c d e f g
12 cdefg 52 cdefg 92 c d e f g 132 c d e f g
13 cdefg 53 cdefg 93 c d e f g 133 c d e f g
14 cdefg 54 cdefg 94 c d e f g 134 c d e f g
15 cdefg 55 cdefg 95 c d e f g 135 c d e f g
16 cdefg 56 cdefg 96 c d e f g 136 c d e f g
17 cdefg 57 cdefg 97 c d e f g 137 c d e f g
18 cdefg 58 cdefg 98 c d e f g 138 c d e f g
19 cdefg 59 cdefg 99 c d e f g 139 c d e f g
20 cdefg 60 cdefg 100 c d e f g 140 c d e f g
21 cdefg 61 cdefg 101 c d e f g 141 c d e f g
22 cdefg 62 cdefg 102 c d e f g 142 c d e f g
23 cdefg 63 cdefg 103 c d e f g 143 c d e f g
24 cdefg 64 cdefg 104 c d e f g 144 c d e f g
25 cdefg 65 cdefg 105 c d e f g 145 c d e f g
26 cdefg 66 cdefg 106 c d e f g 146 c d e f g
27 cdefg 67 cdefg 107 c d e f g 147 c d e f g
28 cdefg 68 cdefg 108 c d e f g 148 c d e f g
29 cdefg 69 cdefg 109 c d e f g 149 c d e f g
30 cdefg 70 cdefg 110 c d e f g 150 c d e f g
31 cdefg 71 cdefg 111 c d e f g 151 c d e f g
32 cdefg 72 cdefg 112 c d e f g 152 c d e f g
33 cdefg 73 cdefg 113 c d e f g 153 c d e f g
34 cdefg 74 cdefg 114 c d e f g 154 c d e f g
35 cdefg 75 cdefg 115 c d e f g 155 c d e f g
36 cdefg 76 cdefg 116 c d e f g 156 c d e f g
37 cdefg 77 cdefg 117 c d e f g 157 c d e f g
38 cdefg 78 cdefg 118 c d e f g 158 c d e f g
39 cdefg 79 cdefg 119 c d e f g 159 c d e f g
40 cdefg 80 cdefg 120 c d e f g 160 c d e f g
6 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
แบบทดสอบชุดนี้แบงเปน 2 ตอน ตอนที่ 1 ขอ 1-40 ขอละ 1 คะแนน
ตอนที่ 2 ขอ 41-60 ขอละ 3 คะแนน
ขอ 1-40 (ขอละ 1 คะแนน)
1. ถา (2 2 )2x = 41-2x แลว x มีคาตรงกับขอใด
1) 4 2) 87
3) 1 4) 72
3
2. ถา x และ y เปนจํานวนเต็มบวกที่ตางมีคานอยกวา 10 และ x + y + xy = 79 แลว x + y มีคาตรงกับขอใด
1) 13 2) 14
3) 15 4) 16
3. ถา a2 = 3a + 4 โดยที่ a ≤ 0 แลว 2a3 มีคาตรงกับขอใด
1) a + 4 2) 4a + 2
3) 3a + 2 4) 4a + 8
4. ให a = 21/2 , b = 31/3 และ c = 51/5 แลวขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) a < b < c 2) c < b < a
3) c < a < b 4) a < c < b
5. ถา A3 = 2,202 และ B2 = 2,691 โดย A และ B เปนจํานวนจริงบวก จะมีจํานวนเต็มกี่จํานวนที่มีคาอยู
ระหวางคาของ A และ B
1) 38 2) 39
3) 40 4) 41
2 2
6. ผลลัพธของ 10,001 2 - 9,9992 มีคาตรงกับขอใด
1,001 - 999
1) 10 2) 20
3) 40 4) 100
21 30
7. คาของ ตรงกับขอใดตอไปนี้
3 + 3 22
24

1)
21 5
2) 1  21 4 
3 22 3  3 
3) 31 4) 52
8. ให a = 1 + 5 แลวสมการในขอใดตอไปนี้ที่มี a เปนคําตอบ
1) x4 - 2x2 + 4 = 0 2) x4 - 2x2 - 4 = 0
3) x4 + 2x2 - 4 = 0 4) x4 - 3x2 - 4 = 0
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 7
9. ให a, b, c และ d เปนจํานวนจริงบวกที่สอดคลองกับ 3 abc = 2 และ 4 abcd = 2 10 แลว d มีคา
ตรงกับขอใด
1) 100 2) 200
3) 320 4) 2,500
10. ถา x และ y เปนจํานวนเต็มบวก โดยที่ x < y ห.ร.ม. ของ x กับ y คือ 9 ค.ร.น. ของ x กับ y คือ 28,215
และจํานวนเฉพาะที่แตกตางกันทั้งหมดที่หาร x ลงตัวมี 3 จํานวน แลวขอใดถูกตอง
1) x - y = -28 2) y - x = 18
3) y - x = 38 4) x + y = 908
11. ขอใดถูกตอง
1) (1 - 0.5)  1- 31  (1 - 0.25)  1- 51  = 0.2
2) (0.02705 ÷ 54.1) × 100 = 0.051
3) 97 - 97 96 × 95 - 1 > 1
96
27 14
4) 29 28 × 27 15 < 835
12. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 2 กลุม เปนดังนี้
กลุมที่ 1 จํานวน 8 คน มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 10.5 คะแนน
กลุมที่ 2 จํานวน 12 คน มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 9.4 คะแนน
แลวคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทั้งสองกลุมเปนเทาใด
1) 9.70 คะแนน 2) 9.84 คะแนน
3) 9.95 คะแนน 4) 11.28 คะแนน
13. กําหนดขอมูลเปน 3, 7, a, 15, 20 และ b ถาพิสัยของขอมูลกลุมนี้เปน 23 และมัธยฐานเปน 14 แลว a + b เปน
เทาใด
1) 37 2) 38
3) 39 4) 40
      
14. ถา A = 2 - 2 +1 1   2 - 2 1   2 - 3 1  ...  2 - 8 1 

  2 + 1  2 + 1  2 + 1
B = (11 - 9 ) + (7 - 52) + (32 - 12)
2 2 2
แลว A - 2B เทากับเทาใด
1) 27 2) 30
3) 64 4) 80
15. ถา x = 177 , x ⋅ y = 3,540 + 354 และ 3y = 50 + … ดังนั้น … แทนจํานวนใด
1) 15 2) 16
3) 17 4) 18
8 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
16. สมชายไดรับมอบหมายจากครูดวงพรใหคํานวณคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน
ในหองซึ่งมีทั้งหมด 50 คน ไดคาออกมาเทากับ 32 คะแนน ตอมาพบวาคาที่คํานวณไดผิดพลาด เพราะอานคา
คะแนนของนักเรียนคนหนึ่งผิดไป คือ คะแนนจริงเปน 14 คะแนน แตอานเปน 24 คะแนน แลวคาเฉลี่ยเลขคณิต
ทีถ่ ูกตองเปนเทาใด
1) 29.72 2) 30.00
3) 31.80 4) 32.00
17. คาของจํานวนเต็มบวก n ที่ทําให p2 = (n + 21)(n - 10) เปนจริงเมื่อ p เปนจํานวนเต็มบวกเทากับขอใด
1) 176 2) 184
3) 220 4) 235
18. ให n เปนจํานวนเต็มบวก โดยที่ 1,000 < n < 1,200 ถาเศษที่เกิดจากการหาร n ดวย 4 หรือ 6 หรือ 7
เทากับ 3 และ 5 หาร n ลงตัว แลว 3n + 7 มีคาเทาใด
1) 3,030 2) 3,217
3) 3,292 4) 4,012
19. ให A =  1 + 21 + 31 + 41 + 51  + 3  21 + 31 + 41 + 51  + 5  31 + 41 + 51  + 7  41 + 51  + 9  51 
และ B =  1 + 31   1 + 41   1 + 51  (75) แลวคาของ B - A เทากับเทาใด
1) 120 2) 125
3) 135 4) 140
20.

6
30° 30°
30°
30°
x

จากรูป คา x เทากับเทาใด


1) 278 2) 27 6 3
3) 21 8 3 4) 21 6 3
2x
21. กําหนดให  31  = 3 - 1 แลว 32x - 3-2x
4x -4x
มีคา เทาใด
3 -3
1) 2 32 + 1 2) 2 23 - 1
3) 3 32 + 1 4) 3 23 - 1
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 9
22. กําหนดให 3x = 4 , 4y = 5 , 5z = 81 แลวคาของ xyz มีคาเทาใด
1) 6 2) 5
3) 4 4) 2
23. กําหนดให a, b และ c เปนจํานวนจริงที่ไมเทากับศูนย โดย a + b + c = 0 และ abc = - 259 แลว
คาของ a3 + b3 + c3 เทากับเทาใด
1) - 457 2) -5
3) - 253 4) -6
24. กราฟของพาราโบลา y = x2 - 2n และเสนตรง y = x + c ตัดกันที่จุด A และ B ถา A มีพิกัด (-2, 0) ในขณะที่
B มีพิกัด (a, b) แลว a + b มีคาเทาใด
1) 2 2) 3
3) 8 4) 10
25.
A

26 30
24
B D C

จากรูป พื้นที่สามเหลี่ยม ABC เทากับกี่ตารางหนวย


1) 282 ตารางหนวย 2) 294 ตารางหนวย
3) 330 ตารางหนวย 4) 336 ตารางหนวย
26.
D
B
E

A F C

จากรูป ให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว BE : EC = 2 : 5 ถา AC = 70 2 หนวย แลวพื้นที่รูปสามเหลี่ยม


ADF เทากับกี่ตารางหนวย
1) 2,000 2 ตารางหนวย 2) 2,025 ตารางหนวย
3) 2,100 2 ตารางหนวย 4) 2,150 ตารางหนวย
10 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
27. ให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส BEF เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ถา AB = 21 ⋅ BE = 4 หนวย แลวเสนรอบรูป
ของรูปสี่เหลี่ยม CDEF เปนกี่หนวย
A B

D C
E F
1) 8 + 4 2 2) 6 + 4 2
3) 4 + 4 2 4) 8 + 2 2
28.
A
x
D

B y E C
จากรูป ให ABC เปนรูปสามเหลี่ยม จุด D และจุด E อยูบนดาน AB และ BC ตามลําดับ ทําให BDˆ E = ECˆ A
ถาความยาวของ EC, DE, BD, AC เทากับ 12, 26, 28 และ 39 หนวย ตามลําดับ เมื่อ AD ยาว x หนวย
BE ยาว y หนวย แลว y - 2x มีคาเทาใด
1) -4 2) -2
3) 4 4) 6
29. กําหนด รูปสามเหลี่ยม ABC มีจุด A(7, -1), B(4, -3) และ C(9, -7) เปนจุดยอด และมีรูปสามเหลี่ยม A′B′C′
เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC โดย A′ มีพิกัดเปน (-1, 2) ถารูปสามเหลี่ยม A″B″C″
เปนภาพที่ไดจากการสะทอนรูปสามเหลี่ยม A′B′C′ โดยมีแกน y เปนเสนสะทอน ถาใหจุด B″ และ C″ มีพิกดั
เปน (a, b) และ (c, d) ตามลําดับ แลว ac + bd มีคาเทาใด
1) 2 2) 0
3) -2 4) -4
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 11
30. ถาตองการหลอทองแดง ดังรูป จํานวน 100 แทง ตองใชทองแดงปริมาตรเทาใด

15

24 30
15
6 36
1) 1,620,000 ลูกบาศกหนวย 2) 1,640,000 ลูกบาศกหนวย
3) 1,660,000 ลูกบาศกหนวย 4) 1,820,000 ลูกบาศกหนวย
31. เทน้ําเต็มแกวทรงกระบอกสูง 20 หนวย รัศมี 5 หนวย ลงในภาชนะรูปกรวยสูง 80 หนวย รัศมี 15 หนวย
จนหมด จงหาวาความสูงของระดับน้ําในภาชนะรูปกรวยเปนกี่หนวย
3 3
1) 10 3 12 2) 40 3 18
3
3) 8 3 12 4) 20 3 12
32. ปริซึมฐานรูปสามเหลี่ยมดานเทายาวดานละ 12 หนวย สูง 30 หนวย จะมีพื้นที่ผิวทั้งหมดเปนกี่ตารางหนวย
1) 36(20 + 5 3 ) 2) 36(24 + 5 3 )
3) 72(15 + 3 ) 4) 72(20 + 3 3 )
33. ถาความยาวรัศมีของกรวยเพิ่มขึ้น 10% ขณะที่ความสูงลดลง 20% ปริมาตรของกรวยจะเปลี่ยนแปลงดังขอใด
1) เพิ่มขึ้น 1.4% 2) ลดลง 3%
3) เพิ่มขึ้น 3.1% 4) ลดลง 3.2%
34. กําหนดให a, b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ ที่ทําใหสมการ (b - c)x2 + (c - a)x + (a - b) = 0 มีคาราก
สมการเพียงคาเดียว ขอใดตอไปนีถ้ ูก
1) 4b = a +c 2) 3b = a + c
3) 2b = a + c 4) b = a + c
35. ถา 0 < x < 1 และ x4 - 4x2 + 2 = 0 แลวคาของ x6 - 86 เทากับขอใด
x
1) -28 2 2) -24 2
3) 24 2 4) 28 2
36. กําหนด x > y > 0 และ x3 + y3 = 152, x2y + xy2 = 120 คาของ x2 + y2 เทากับเทาใด
1) 32 2) 34
3) 36 4) 40
12 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
37.
A B

E
D C
จากรูป ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีความยาวดานละ 4 หนวย ABE เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา พื้นที่ของ
รูปสามเหลี่ยม BCF เปนกี่ตารางหนวย
1) 2(3 3 - 1) ตารางหนวย 2) 4( 3 - 1) ตารางหนวย
3) 2(4 3 - 1) ตารางหนวย 4) 4(2 3 - 1) ตารางหนวย
38. วัตถุดังรูปถูกสรางขึ้นโดยใชลูกบาศกเล็กๆ จํานวน 6 ลูก แตละลูกมีปริมาตร 1 ลูกบาศกหนวย พื้นที่ผิวของวัตถุ
ชิ้นนี้เทากับกี่ตารางหนวย

1) 25 ตารางหนวย 2) 26 ตารางหนวย
3) 27 ตารางหนวย 4) 28 ตารางหนวย
39. ลูกเหล็กทรงกลมปริมาตร V นํามาหลอมทําเปนลูกเหล็กทรงกลมขนาดเล็กได 8,000 ลูก พอดี อัตราสวนของพื้นที่
ทรงกลมปริมาตร V ตอพื้นที่ผิวรวมของทรงกลม 1,000 ลูก เทากับเทาใด
1) 1 : 2 2) 2 : 5
3) 3 : 6 4) 3 : 8
40. ชวงเวลา 13.25 นาฬิกา เข็มสั้นและเข็มยาวทํามุมกันมีขนาดกี่องศา (ตอบเฉพาะมุมเล็ก)
1) 107.5 องศา 2) 117.4 องศา
3) 127.3 องศา 4) 137.2 องศา
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 13
ขอ 41-60 (ขอละ 3 คะแนน)
41. หยิบลูกแกว 2 ลูก พรอมกันจากถุงใบหนึ่ง ซึ่งมีลูกแกวสีแดง 2 ลูก และสีเขียว 3 ลูก ความนาจะเปนที่จะได
ลูกแกวสีเดียวกันเปนเทาใด
1) 0.372 2) 0.375
3) 0.384 4) 0.400
42. ในการโยนเหรียญ 1 เหรียญ 5 ครั้ง ความนาจะเปนที่เหรียญจะเกิดหัวเรียงตอเนื่องกันอยางนอย 2 ครั้ง หรือเกิด
กอยเรียงตอเนื่องกันอยางนอย 2 ครั้ง มีคาเทากับเทาใด
1) 15
16 2) 14
16
13
3) 16 12
4) 16
43. ถารานขายโทรศัพทมือถือแหงหนึ่ง ขายโทรศัพทมือถือยี่หอ A จํานวน 1 เครื่อง ไดกําไร 450 บาท ซึ่งเปนกําไร
15% และขายโทรศัพทมือถือยี่หอ B จํานวน 1 เครื่อง ไดกําไร 22% ถาโทรศัพทมือถือยี่หอ A และยี่หอ B มี
ราคาทุนเทากัน แลวราคาขายของโทรศัพทมือถือ 2 ยี่หอนี้แตกตางกันเทาใด
1) 200 บาท 2) 210 บาท
3) 224 บาท 4) 240 บาท
44. สมชายขับรถจากเมือง A ไปยังเมือง B ดวยความเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง และขับรถจากเมือง B ไปยัง
เมือง C ดวยความเร็วเฉลี่ย 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง ถาระยะทางจากเมือง A ไปยังเมือง B เทากับระยะทางจาก
เมือง B ไปยังเมือง C ความเร็วเฉลี่ยของการเดินทางจากเมือง A ไปยังเมือง C เปนกี่กิโลเมตรตอชั่วโมง
1) 472 7 กิโลเมตรตอชั่วโมง 2) 480
7 กิโลเมตรตอชั่วโมง
3) 496 7 กิโลเมตรตอชั่วโมง 4) 512
7 กิโลเมตรตอชั่วโมง
45. ถาแบงดาน AB และ AC ของ ∆ ABC ออกเปนดาน ดานละ 10 สวนเทาๆ กัน แลวลากเสนเชื่อมจุดแบงเหลานี้
และแรเงา ดังรูป จงหาอัตราสวนของพื้นที่แรเงาตอพื้นที่ ∆ ABC
A

B C
1) 2 : 5 2) 3 : 5
3) 9 : 20 4) 11 : 20
14 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
46.
A D

E F

B C
จากรูป กําหนดให AD, EF และ BC ตั้งฉากกับ AB AˆDE = BˆEC และ AE = BC = 12 หนวย ถาพื้นที่
รูป ∆ DEC เทากับ 104 ตารางหนวย EF ยาวกี่หนวย
1) 8.2 หนวย 2) 8.6 หนวย
3) 10.4 หนวย 4) 10.6 หนวย
47.
P Q

X Y

S R

จากรูป ให PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จุด X เปนจุดภายใน … PQRS ที่ทําให PX = XS = XY = 20 หนวย


และ XY ตั้งฉากกับ QR พื้นที่ของ … PQRS เทากับกี่ ตารางหนวย
1) 996 ตารางหนวย 2) 1,024 ตารางหนวย
3) 1,040 ตารางหนวย 4) 1,200 ตารางหนวย
48. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. พื้นที่หกเหลี่ยมดานเทาที่บรรจุในวงกลมรัศมี 3 หนวย เทากับ 27 2 3 ตารางหนวย
B A

ข. จากรูป Â + B̂ + Ĉ + D̂ + Ê = 180°
E
C
D
ขอใดถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 15
 
49. ถา a และ b เปนจํานวนจริงซึ่ง a ≠ b และ 3a2 - ab - 2b2 = 0 แลวคาของ  9a 22 + 5ab - 4b2 2  เทากับ
 18a + 16ab - 8b 
เทาใด
1) 21 2) 31
3) 165 4) 187
50. คาของ 66 + 6 21 + 31 - 4 21 เทากับเทาใด
1) 5 7 2) 7 3
3) 3 7 + 2 3 4) 5 7 - 3
51.
B
6 8
A C
O
D 6 E
จากรูป ถา ABˆ D = CBˆ E , DE = AB = 6 หนวย และ BC = 8 หนวย พื้นที่รูปสี่เหลี่ยม ACED เทากับ
กี่ตารางหนวย
1) 28 ตารางหนวย 2) 30 ตารางหนวย
3) 32 ตารางหนวย 4) 36 ตารางหนวย
52.
B

M
A O K C

จากรูป ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มี AB = BC และวงกลม O มีรัศมี 1 หนวย ถา tan A = 158


พื้นที่รูป ∆ AMK เทากับกี่ตารางหนวย
1) 126
255 ตารางหนวย 2) 127
255 ตารางหนวย
3) 128
255 ตารางหนวย 4) 129
255 ตารางหนวย
53. ถา p และ q เปนจํานวนเต็มบวก โดยที่ 13 หาร p เหลือเศษ 5 และ 13 หาร q เหลือเศษ 7 แลว 13 หาร 5(p + q)
จะเหลือเศษเทาใด
1) 2 2) 5
3) 6 4) 8
16 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
54. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา x และ y เปนจํานวนจริงที่ | x | ≤ 1, | y | ≤ 1 และ xy = 1 แลว x = 1 และ y = 1
ข. ถา z เปนจํานวนจริงแลว 5z2 - 3z + 25 11 > 0 ทุกคาของ z
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
55.
A

C D B

จากรูป ถา พื้นที่ ∆ ABD = 22564 แลวคาของ 17 sin C + 8 tan B เทากับเทาใด


พื้นที่ ∆ ACD
1) 21 2) 22
3) 23 4) 24
56. รากที่สามของ 318 + 313 + 37 + 30 เทากับเทาใด
1) 243 2) 244
3) 729 4) 730
57. ถาพหุนาม P(x) หารดวย x - 2 เหลือเศษ 3 และหารดวย x - 1 เหลือเศษ 2 แลวพหุนาม P(x) หารดวย
(x - 2)(x - 1) จะเหลือเศษเทากับขอใดตอไปนี้
1) 2x - 1 2) 2x + 1
3) x - 1 4) x + 1
58. ถา a, b และ c เปนรากของสมการ x3 - 5x2 + 7x + 6 = 0 แลวคาของ a2 + b2 + c2 เทากับขอใดตอไปนี้
1) 11 2) 15
3) 18 4) 24
59. ถา 2x = 3y = 48z แลวขอใดเปนจริง
1) x1 + y1 + 1z = 0 2) 4x + 2y + 1z = 0
3) 1z - y1 = 4x 4) 1z + y1 = 6x
60. ถุงใบหนึ่งมีสลาก 100 ใบ สลากแตละใบเขียนเลข 1 จํานวน เริ่มจากเลข 1 ถึงเลข 100 สุมหยิบสลาก 1 ใบจากถุง
จงหาความนาจะเปนที่จะไดเลขคี่หรือเลขที่เปนกําลังสองสมบูรณ (เชน 25 เปนกําลังสองของ 5)
1) 1324
11
2) 20
3) 1524 4) 17
25

————————————————————
148 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)

วิชา คณิตศาสตร (ชุดที่ 1)


1. 4) 2. 4) 3. 2) 4. 3) 5. 1) 6. 1) 7. 3) 8. 2) 9. 2) 10. 2)
11. 1) 12. 2) 13. 3) 14. 1) 15. 2) 16. 3) 17. 4) 18. 3) 19. 3) 20. 1)
21. 4) 22. 3) 23. 3) 24. 3) 25. 4) 26. 2) 27. 1) 28. 1) 29. 4) 30. 1)
31. 2) 32. 3) 33. 4) 34. 3) 35. 1) 36. 2) 37. 2) 38. 2) 39. 2) 40. 1)
41. 4) 42. 1) 43. 2) 44. 2) 45. 3) 46. 3) 47. 2) 48. 1) 49. 3) 50. 1)
51. 3) 52. 3) 53. 4) 54. 4) 55. 3) 56. 4) 57. 4) 58. 1) 59. 3) 60. 2)

ขอ 1-40 (ขอละ 1 คะแนน)


1. เฉลย 4) 72
(2 2 )2x = 41-2x
(23/2)2x = 22(1-2x)
23x = 22-4x
∴ 3x = 2 - 4x
x = 2
7
2. เฉลย 4) 16
x + y + xy = 79
1 + x + y + xy = 80
(1 + x)(1 + y) = 80
จะได (1 + x), (1 + y) = 1, 80
2, 40
4, 20
5, 16
8, 10
จะมีเพียงกรณีเดียวที่ x, y < 10 คือ
1 + x = 8 , 1 + y = 10
x = 7 , y = 9
x + y = 16
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 149
3. เฉลย 2) 4a + 2
a2 = 3a + 4
a2 - 3a - 4 = 0
(a - 4)(a + 1) = 0
a = 4, -1
พิจารณา a = -1 จะได 2a3 = 2(-1)3
= -2
4a + 2 = 4(-1) + 2
= -2
= 2a3
4. เฉลย 3) c < a < b
a = 21/2
a6 = (21/2)6 = 23 = 8
b = 31/3
b6 = (31/3)6 = 32 = 9
∴ a6 < b6
จะได a < b
a 10 = (21/2)10 = 25 = 32
c10 = (51/5)10 = 52 = 25
∴ c10 < a10
จะได c < a
นั่นคือ c < a < b
5. เฉลย 1) 38
เนื่องจาก 133 = 2,197, A3 = 2,202 และ 143 = 2,744
∴ 133 < A3 < 143
13 < A < 14
512 = 2,601, B2 = 2,691 และ 522 = 2,704
∴ 512 < B2 < 522
51 < B < 52
เรียงลําดับตัวเลขจากนอยไปมาก
13, A, 14, 15, ..., 51, B, 52
∴ มีจํานวนเต็มที่มีคาอยูระหวาง A กับ B = (51 - 14) + 1
= 38 จํานวน
150 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
6. เฉลย 1) 10
10,0012 - 9,999 2 = (10,001 - 9,999)(10,001 + 9,999)
1,0012 - 999 2 (1,001 - 999)(1,001 + 999)
⋅ (20,000)
= (2)(2)(2,000)
= 10
7. เฉลย 3) 31
21 30 21 30
=
3 24 + 3 22 3 22 (32 + 1)
= 21 30
322 (10)
21 1
=
321
= 31
8. เฉลย 2) x4 - 2x2 - 4 = 0
a = 1+ 5
a2 = 1+ 5
a2 - 1 = 5
(a2 - 1)2 = ( 5 )2
a4 - 2a2 + 1 = 5
a4 - 2a2 - 4 = 0 สอดคลองกับตัวเลือก 2)
9. เฉลย 2) 200
3abc = 2
( 3 abc )3 = 23
abc = 8 ...(1)
4 abcd = 2 10
abcd = (2 10 )4 = 1,600 ...(2)
(2) ÷ (1) ; d = 1,600 = 200
8
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 151
10. เฉลย 2) y - x = 18
x ⋅ y = (ห.ร.ม.)(ค.ร.น.)
= 9 × 28,215
= 9 × (9 × 3,135)
= 9 × 9 × 3 × 1,045
= 35 × 5 × 209
= 35 × 5 × 19 × 11
= (32 × 5 × 11)( 33 × 19)
= (495)(513)
จะเห็นวาถา x = 495, y = 513 [มีจํานวนเฉพาะ 3, 5 และ 11 ที่หาร x ลงตัว]
y - x = 513 - 495 = 18
11. เฉลย 1) (1 - 0.5)  1 - 31  (1 - 0.25)  1 - 51  = 0.2
       1 2 3 4
2  3  4   5  = 2 × 3 × 4 × 5
1- 1  1- 1  1- 1  1- 1 

= 51
= 0.2
12. เฉลย 2) 9.84 คะแนน
จากสูตร X รวม = N1NX11 ++ NN22X2
= (8)(10.5)8 ++12(12)(9.4)
= 9.84
13. เฉลย 3) 39
พิสัย = b - 3 = 23
b = 26
a + 15
มัธยฐาน = 2 = 14
a = 13
ดังนั้น a+b = 13 + 26
= 39
152 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
14. เฉลย 1) 27
      
A = 

2 - 2 1+ 1   2 - 2 1   2 - 3 1  ...  2 - 8 1 
 2 + 1  2 + 1  2 + 1
 2 ⋅ 3 - 1  2 ⋅ 5 - 1  2 ⋅ 9 - 1  2 ⋅ 257 - 1 

=  3   5   9  ...  257 
= 5 ⋅ 9 ⋅ 17 ... 513
3 5 9 257
= 513 = 171
3
B = (112 - 92) + (72 - 52) + (32 - 12)
= (11 - 9)(11 + 9) + (7 - 5)(7 + 5) + (3 - 1)(3 + 1)
= (2 × 20) + (2 × 12) + (2 × 4)
= 72
A - 2B = 171 - 2(72)
= 27
15. เฉลย 2) 16
จากโจทย x⋅y = 3,540 + 354
= 10(354) + (354)
= 11(354)
และ x = 177
∴ 177y = 11(354)
y = 11(354) = 22
177
จะได 3(22) = 50 + …
∴ … = 16
16. เฉลย 3) 31.80
 N 
 X i 
∑
 i =1 ผิด
Xผิด = N
 N 

∴ ∑ X i  = N Xผิด
 i =1  ผิด

= 50 × (32) = 1,600
 N   N 

∴ ∑ X i  = 
∑ X i  - Xผิด + Xถูก
 i =1  ถูก  i =1  ผิด

= 1,600 - 24 + 14
= 1,590
X ถูก = 1,590
50 = 31.80
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 153
17. เฉลย 4) 235
พิจารณา (n + 21)(n - 10) = n2 + 11n - 210
= (n2 + 10n + 25) + (n - 235)
= (n + 5)2 + (n - 235)
ดังนั้น n = 235
18. เฉลย 3) 3,292
จากโจทย “เศษที่เกิดจากการหาร n ดวย 4 หรือ 6 หรือ 7 เทากับ 3”
จะเขียน n = (ค.ร.น. ของ 4, 6, 7) ⋅ k + 3 (k เปนจํานวนเต็มบวก)
= 84k + 3
และ “5 หาร n ลงตัว” แสดงวาหลักหนวยของ n ตองเปน 5 หรือ 0
จะเห็นวา ถา k = 13 จะได n = 84 × 13 + 3 = 1,092 + 3 = 1,095
3n + 7 = 3(1,095) + 7 = 3,292
19. เฉลย 3) 135
A =  1 + 21 + 31 + 41 + 51  + 3  21 + 31 + 41 + 51  + 5  31 + 41 + 51  + 7  41 + 51  + 9  51 
= 1 + 21 (1 + 3) + 31 (1 + 3 + 5) + 41 (1 + 3 + 5 + 7) + 51 (1 + 3 + 5 + 7 + 9)
= 1 + 2 + 3 + 4 + 5 = 15
B =  1 + 31   1 + 41   1 + 51  (75) = 43 ⋅ 54 ⋅ 56 (75) = 150
ดังนั้น B - A = 150 - 15 = 135
20. เฉลย 1) 278
∆ ABF ; BF = cos 30° = 3
A 6 2
B
BF = 6 23 = 3 3
C
∆ BCF ; CF = cos 30° = 23
6 D 3 3
30° 30°
30° CF = (3 3 ) ( 23 ) = 92
30° E
x DF = cos 30° = 3
F ∆ CDF ; 9 2
2
DF = 92 ⋅ 23 = 9 4 3
∆ DEF ; x = cos 30° = 23
9 3
4
x = 9 4 3 ⋅ 23 = 278
154 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
21. เฉลย 4) 3 23 - 1
= (3 - 3 2x )(3-2x+ 3 )
34x - 3-4x 2x -2x 2x -2x
พิจารณา
32x - 3-2x 3 -3
= 3 + 3-2x
2x
 2x 1
จาก   = 3 -1
  3
3-2x = 3 -1
32x = 1
3 -1
= 3 +1
( 3 - 1)( 3 + 1)
= 3 +1
2
 
∴ 34x - 3-4x =  32 + 1  + ( 3 - 1)
32x - 3-2x  

= 3 23 - 1
22. เฉลย 3) 4
3x = 4
(3x)y = 4y = 5
3xy = 5
(3xy)z = 5z
3xyz = 81 = 34
∴ xyz = 4
23. เฉลย 3) - 253
a+b+c = 0
a+b = -c
(a + b)3 = (-c)3 = -c3
a3 + 3a2b + 3ab2 + b3 = -c3
a3 + b3 + c3 = -3a2b - 3ab2
= -3ab(a + b)
= -3ab(-c)
= 3abc
= 3  - 259 
= - 253
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 155
24. เฉลย 3) 8
y = x2 - 2n ...(1)
y = x+c ...(2)
A(-2, 0) แทนคาใน (1) ; 0 = (-2)2 - 2n
n = 2
A(-2, 0) แทนคาใน (2) ; 0 = (-2) + c
c = 2
(1) ; y = x2 - 4 ...(3)
(2) ; y = x+2 ...(4)
หาจุดตัด
x2 - 4 = x+2
x2 - x - 6 = 0
(x - 3)(x + 2) = 0
x = -2, 3
ดังนั้น ที่จุด B ใน (4) ; x = 3, y = 3+2 = 5
a = 3, b = 5
a+b = 3+5 = 8
25. เฉลย 4) 336 ตารางหนวย
พิจารณา ∆ ABD ; AB = 26 = 2 × 13
AD = 24 = 2 × 12
∴ BD = 2 × 5 = 10 (5 : 12 : 13)
∆ ACD ; CD2 = 302 - 242
= (30 - 24)(30 + 24)
= (6) ⋅ (54)
= 6⋅6⋅9
= 62 × 3 2
CD = 6×3
= 18
∴ พื้นที่ ∆ ABC = 1
2 (10 + 18)(24)
= 336 ตารางหนวย
156 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
26. เฉลย 2) 2,025 ตารางหนวย
จาก AC = 70 2
D จะได AB = BC = 70 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมุมฉาก)
B เนื่องจาก BE : EC = 2 : 5
E จะได BE = 72 (BC) = 72 (70) = 20
จะเห็นวา ∆ BDE เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมุมฉาก
A F C ∴ BD = BE = 20
และ ADF ก็เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมุมฉาก
AD = AB + BD = 70 + 20 = 90
∴ AF = DF = 90 = 45 2
2
1
พื้นที่ ∆ ADF = 2 (45 2 ) = 2,025 ตารางหนวย
2

27. เฉลย 1) 8 + 4 2
เนื่องจาก BD เปนเสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD
A B ∴ BDˆ C = 45° = BEˆ F
แสดงวา BEF เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมุมฉาก
D C CD = AB = 4 , BE = 8, BD = 4 2
∴ DE = 8 - 4 2 , BF = EF = 8 = 4 2
E F 2
∴ CF = 4 2 - 4
ดังนั้น เสนรอบรูปของ … CDEF = 4 2 + (4 2 - 4) + 4 + (8 - 4 2 )
= 8+4 2
28. เฉลย 1) -4
จากรูป จะเห็นวา ∆ ABC ∼ ∆ BDE
A AB = BC AC
x จะได BE BD = DE
D x + 28 = y + 12 = 39 = 3
39 y 28 26 2
28 26
จะได (y + 12) = 3 (28)
B 2
y E 12 C y = 30
x + 28 3
และ 30 = 2
x = 17
∴ y - 2x = 30 - 2(17)
= -4
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 157
29. เฉลย 4) -4
จากหลักการเลื่อนขนาน จะได AA′, BB′, CC′ ขนานกัน และมีความยาวเทากัน ใหพิกัดของ B′ เปน
(x1, y1) และ C′ เปน (x2, y2)
จะได x1 - 4 = -1 - 7 = -8
y
x1 = -4
และ y1 + 3 = 2 + 1
y1 = 0
A′(-1, 2) A″(1, 2) ∴ พิกัดของ B′ เปน (-4, 0)
B′(-4, 0) B″(4, 0) x และ x2 - 9 = -8
A(7, -1) x2 = 1
C″(-1, -4) B(4, -3) y2 + 7 = 3
C′(1, -4) y2 = -4
C(9, -7)

พิกัด C′ เปน (1, -4) และจากหลักการสะทอนโดยมีแกน y เปนเสนสะทอนจะได A″ มีพิกัด (1, 2),


B″ มีพิกัดเปน (4, 0), C″ มีพิกัดเปน (-1, -4)
ดังนั้น a = 4, b = 0, c = -1, d = -4
ac + bd = (4)(-1) + (0)(-1) = -4
30. เฉลย 1) 1,620,000 ลูกบาศกหนวย
A 15 B รูปทรง 3 มิติ ที่กําหนดใหเปนรูปปริซึม มีหนาตัด ดังรูป
พื้นที่หนาตัด = พื้นที่ … ABGF + พื้นที่ … CDEG
= 21 (21 + 15) ⋅ (18) + (36) ⋅ (6)
18
= 540 ตารางหนวย
E 15 F 21 G ปริมาตร = 540 × 30 ลูกบาศกหนวย
6 6 = 16,200 ลูกบาศกหนวย
D 36 C ดังนั้น ตองใชทองแดง = 1,620,000 ลูกบาศกหนวย
158 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
3
31. เฉลย 2) 40 3 18
ใหระดับน้ําสูง H หนวย รัศมีของผิวน้ํา DE = R หนวย
A O 15 B ∆ BOC ∼ ∆ CDE
H R
80 = 15
R = 163 H ...(1)
80 E R
D 5 ปริมาตรของน้ํา = 31 πR2H = π(5)2(20)
H จะได R2H = (75)(20) ...(2)
20
 3 2
∴  16 H  H = (75)(20)

C
2
H3 = (75)(20) × 162
3
3 × 46
= 125 3× 4 = 5 12
5

3
H = 380 = 80 12144
12
3 3
= 20 3144 = 40 3 18
32. เฉลย 3) 72(15 + 3 )
D จากรูป จะเห็นวาพื้นที่ผิวทั้งหมด = 2(พื้นที่ ∆ ABC) + 3(พื้นที่ … ABED)
 
= 2  43 (12)2  + 3[12 ⋅ 30]
E  
A = 72(15 + 3 )
12 12 30
C B
12
33. เฉลย 4) ลดลง 3.2%
ให R และ H เปนความยาวของรัศมี และความสูงเดิม
ปริมาตรเดิม V = 31 πR2H
รัศมีเพิ่มขึ้น 10% รัศมีใหมจะเทากับ 110 11
100 R = 10 R
ความสูงลดลง 20% ความสูงใหมจะเทากับ 100 80 H = 4 H
5
ปริมาตรใหม = 31 π  1011 R  2  4 H 
 5 

= 125121  1 πR 2 H  = 121 V
3  125
 121  × 100% = 3.2%
∴ ปริมาตรลดลง =  1 - 125
 
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 159
34. เฉลย 3) 2b = a + c
จากความจริงที่ สมการ ax2 + bx + c = 0 จะมีคารากเพียงคาเดียว เมื่อ b2 - 4ac = 0
ดังนั้น กรณีนี้จะได (c - a)2 - 4(b - c)(a - b) = 0
c2 - 2ac + a2 - 4ab + 4ac - 4bc + 4b2 = 0
a2 + 4b2 + c2 - 4ab + 2ac - 4bc = 0
a2 + (-2b)2 + c2 + 2a(-2b) + 2ac + 2(-2b)c = 0
(a - 2b + c)2 = 0
a - 2b + c = 0
2b = a + c
35. เฉลย 1) -28 2
   
พิจารณา x6 - 86 =  x 2 - 22   x 4 + 2 + 44 
x  x  x 
จาก x4 - 4x2 + 2 = 0
หารดวย x2 ; x2 - 4 + 22 = 0
x
x2 + 22 = 4
x
 2
 x2 + 2  = 16

 x 2 
x4 + 4 + 44 = 16
x
บวกดวย -8 ; x - 4 + 44 = 8
4
x
 2
 x2 - 2  = 8

 x2 
x2 - 22 = -2 2 (0 < x < 1 จะได x2 < 12 )
x x
 
 x 4 + 4 + 4  - 2 = 16 - 2

 x 4 
x4 + 2 + 44 = 14
x
   2
x6 - 86 =  x2 - 22   (x2 )2 + (x2 ) 22  +  22  
x  x  x  x  
= -28 2
160 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
36. เฉลย 2) 34
x3 + y3 = 152 ...(1)
x2y + xy2 = 120 ...(2)
3 × (2) ; 2 2
3x y + 3xy = 360 ...(3)
(1) + (3) ; 3 2 2 3
x + 3x y + 3xy + y = 512
(x + y)3 = 512 = 83
x+y = 8 ...(4)
(2) ; xy(x + y) = 120 ...(5)
(5) ÷ (4) ; xy = 15 ...(6)
(4) ยกกําลัง 2 ; 2 2
x + 2xy + y = 64 ...(7)
2 × (6) ; 2xy = 30 ...(8)
(7) - (8) ; 2 2
x + y = 34
37. เฉลย 2) 4( 3 - 1) ตารางหนวย
วิธีที่ 1 ลากเสนตรง EH ตั้งฉากกับ AB ที่จุด H และตัดกับเสนตรง AC ที่จุด G
A H B ∆ BEH ; EH = sin 60°
BE
45° 60° EH = 3
G 4 2
4 F 4 EH = 2 3
∆ AGH ; เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมุมฉาก
E AH = GH = 2
D 4 C
∴ EG = EH - GH = 2 3 - 2
CG = AG = 2 2
ให GF = x
CF = 2 2 - x
∆ EFG ∼ ∆ BCF
CF BC
GF = EG
2 2-x = 4
x 2 3-2
(2 3 - 2) (2 2 - x) = 4x
(4 6 - 4 2 ) - (2 3 - 2)x = 4x
4 6 - 4 2 = (2 + 2 3 )x
x = 4 6 - 4 2 = 4 2 ( 3 - 1)
2+2 3 2( 3 + 1)
= 2 2 ( 3 - 1)( 3 - 1)
( 3 + 1)( 3 - 1))
= 2 (4 - 2 3 )
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 161
พื้นที่ ∆ EFG = 21 EG ⋅ GF sin 45°
= 21 (2 3 - 2) ⋅ 2 (4 - 2 3 ) ⋅ 1
2
= 2(3 3 - 5)
พื้นที่ ∆ BCF = BC2 = 42
พื้นที่ ∆ EFG EG2 (2 3 - 2)2
= 16
16 - 8 3
= 16 = 2
8(2 - 3 ) 2- 3
∴ พื้นที่ ∆ BCF = 2 [2(3 3 - 5)]
2- 3
= 4(3 3 - 5)(2 + 3 ) = 4( 3 - 1)
(2 - 3 )(2 + 3 )
วิธีที่ 2 ลากเสนตรง FI และ FK ตั้งฉากกับ AB และ BC ที่จุด I และ K ตามรูป
ให IB = x หนวย
4 IB
IF = cot 60°
A I B จะได
45° 60° IB = IF
cot 60o
4
K IF = 3 x หนวย
F เนื่องจาก ∆ AIF มีมุม 45° 2 มุม และ 90° 1 มุม (เปนสามเหลี่ยมหนาจั่ว)
E
D C AI = IF = 3 x หนวย
4 x AB = AI + IB = ( 3 + 1)x = 4
A I B x = 4
45° 60° 3 +1
= 4( 3 - 1) = 2( 3 - 1)
4 ( 3 + 1)( 3 - 1)
K
F 45° ∴ พื้นที่ ∆ BFC = 21 × IB × BC
C = 21 × 2( 3 - 1) × 4
= 4( 3 - 1) ตารางหนวย
38. เฉลย 2) 26 ตารางหนวย
พื้นที่ผิวทั้งหมดแบงเปน
1. พื้นที่ผิวที่มองเห็นจากรูปลูกบาศกบนซาย 5 ตารางหนวย
2. พื้นที่ผิวจากลูกบาศกลาง 4 ลูก = 4 + 4 + 4 + 4 = 16 ตารางหนวย
3. พื้นที่ผิวจากลูกบาศกบนขวา = 5 ตารางหนวย
∴ พื้นผิวทั้งหมด = 5 + 16 + 5 = 26 ตารางหนวย
*ลูกบาศกปริมาตร 1 ลูกบาศกหนวย แตละดานจะยาว 1 หนวย
162 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
39. เฉลย 2) 2 : 5
ใหรัศมีของทรงกลม V = R
รัศมีของทรงกลมเล็ก = r
ปริมาตรของทรงกลม V = 43 πR3
ปริมาตรรวมของทรงกลมเล็ก 8,000 ลูก = 8,000  43 πr3 
 
∴ 43 πR3 = 8,000  43 πr 3 
 
R 3 = 8,000 = (20)3
r3
R = 20
r
พื้นที่ผิวของทรงกลม V = 4 πR 2
พื้นที่ผิวทั้งหมดของทรงกลม 1,000 ลูก (4 πr 2 ) × 1,000
2
=  Rr  × 1,000
1
(20)2
= 1,000
400
= 1,000
= 52
= 2:5
40. เฉลย 1) 107.5 องศา
11 12 1 ใชหลักความจริงที่วา
10 2
9 3 เข็มยาวเดินได 12 ชอง เข็มสั้นเดินได 1 ชอง
8
7 6 5
4 เข็มยาวเดินได 15 ชอง เข็มสั้นเดินได 125 ชอง
13.00 น. จากรูป ณ เวลา 13.25 นาฬิกา
10
11 12 1
2 เข็มสั้นอยูหางแนวเสนประ 2 125 ชอง = 12 29 ชอง
9
8 4
3
= 12 29 × 360o
7 6 5 12
13.25 น. = 72.5 องศา
∴ เข็มสั้นและเข็มยาวทํามุมกัน = 180° - 72.5°
= 107.5°
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 163
ขอ 41-60 (ขอละ 3 คะแนน)
41. เฉลย 4) 0.400
n(S) = C(5, 2)
= 5!
3!2!
= 10
E = {ด1ด2, ข1ข2, ข1ข3, ข2ข3}
n(E) = 4
p(E) = 4
10
= 0.4
42. เฉลย 1) 15
16
ให E เปนเหตุการณเกิดหัวเรียงตอเนื่องกันอยางนอย 2 ครั้ง หรือเกิดกอยเรียงตอเนื่องกันอยางนอย
2 ครั้ง
E′ = S - E
= {HTHTH, THTHT} (ไมมีหัวหรือกอยติดกันเลย)
n(E)′ = 2, n(S) = 25 = 32
n(E) = n(S) - n(E)′ = 32 - 5 = 30
p(E) = 30 32
= 16 15
43. เฉลย 2) 210 บาท
ยี่หอ A ; กําไร = 15
ทุน 100
450 = 15
ทุน 100
ทุน = 3,000 บาท
ดังนั้น ทุนของโทรศัพทมือถือยี่หอ B = 3,000 บาท
ยี่หอ B ; ราคาขาย = 122
ทุน 100
ราคาขาย = 122
3,000 100
ราคาขาย = 3,660 บาท
ราคาขายยี่หอ A = 3,450 บาท
∴ ราคาขายตางกัน = 3,660 - 3,450 บาท
= 210 บาท
164 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
44. เฉลย 2) 480
7 กิโลเมตรตอชั่วโมง
A B C
S S
ให AB = BC = S กิโลเมตร
ใชเวลาเดินทางจาก A ไป B = S
80 ชั่วโมง
ใชเวลาเดินทางจาก B ไป C = S
60 ชั่วโมง
ใชเวลาทั้งหมดในการเดินทางจาก A ไป C = S S
80 + 60 ชั่วโมง
ความเร็วเฉลี่ยจาก A ไป C = 2S
S + S กิโลเมตรตอชั่วโมง
80 60
480
= 7 กิโลเมตรตอชั่วโมง
45. เฉลย 3) 9 : 20
หาพื้นที่ไมแรเงาซึ่งประกอบดวยรูปสามเหลี่ยมสีขาว 10 รูป และรูปสามเหลี่ยมสีขาวรูปลางสุดมีฐาน
อยูบนฐาน AB และสูงเทากับ ∆ ABC
ใหพื้นที่รูปสามเหลี่ยมสีขาวรูปที่ i นับจากรูปลางสุดขึ้นไป = ∆i ตารางหนวย (i = 1, 2, ..., 10)
และใหพื้นที่ ∆ ABC = a ตารางหนวย
∆1 1
a = 10
∴ ∆1 = 10 a
= 102 a
10
∆2
และ 2 = 91 (ตัดสวนลางสุดออกจะเหลือ 9 สวนเทาๆ กัน)
 9 
  a
 10 
∆2 = 9 a
102
∆3
2 = 81
 8 
  a
 10 
∆3 = 8 a
10 2
M
∆10 = 1 a
10 2
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 165
ดังนั้น พื้นที่ไมแรเงาทั้งหมด = 10 a + 9 a + 8 a + ... + 1 a
10 2 10 2 10 2 10 2
= 1 a(1 + 2 + 3 + ... + 10)
10 2
= 1 a  10(10 + 1) 
10 2  2 
= 55 11
100 a = 20 a
∴ พื้นที่แรเงา = a - 2011 a
= 9
20 a
ดังนั้น พื้นที่แรเงา = 9
พื้นที่ ∆ ABC 20
A
จากรูป พื้นที่ ∆ ADE = 
 9  2 
 AD = 9 
 10   AB 10 
พื้นที่ ∆ ABC
∴ พื้นที่ ∆ ADE = 
9  2 a

10 
D E *∆ ADE ∼ ∆ ABC
B C อัตราสวนของพื้นที่รูปสามเหลี่ยมคลายเทากับกําลัง 2 ของอัตราสวน
ของดานที่สมนัยกัน
46. เฉลย 3) 10.4 หนวย
จากรูป จะเห็นวา ADE ≅ ∆ BCE (มุม-มุม-ดาน)
A x= 8 D ให AD = BE = x
และจากรูป จะเห็นวา พื้นที่ … ABCD - 2(พื้นที่ ADE) = พื้นที่ ∆ DEC
1 1 
12 2 (x + 12)(x + 12) - 2  2 ⋅ x ⋅ 12  = 104
E H F คูณดวย 2 ; (x + 12)2 - 24x = 208
x x2 + 24x + 144 - 24x = 208
B G C x2 = 64
8 4 x = 8
12
ลากเสนตรง DG ตั้งฉากกับ BC ตัด EF ที่จุด H ดังรูป
∆ DHF ∼ ∆ DGC
FH = DH
CG DG
FH = 12
4 20
FH = 12
5
= 2.4
EF = 8 + 2.4
= 10.4
166 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
47. เฉลย 2) 1,024 ตารางหนวย
ใหแตละดานของ … PQRS ยาว 2k หนวย
P 2k Q
พิจารณา ∆ PXZ ; ZX2 = 202 - k2 ...(1)
k 20
และ ZX = 2k - 20
Z X Y ZX2 = (2k - 20)2 ...(2)
20
(1) = (2) ; (2k - 20)2 = 202 - k2
4k2 - 80k + 400 = 400 - k2
S R
5k2 - 80k = 0
k(5k - 80) = 0
k = 16
2k = 32
พื้นที่ … PQRS = (32)2
= 1,024 ตารางหนวย
48. เฉลย 1) ก. ถูก และ ข. ถูก
ก. จากรูป จะเห็นไดวา
E D
พื้นที่รูปหกเหลี่ยมดานเทา ABCDEF = 6 (พื้นที่รูปสามเหลี่ยมดานเทา OAB)
 
F O C = 6  43 (3)2 
3 60° 3  
3
A B = 27 2 3 ตารางหนวย ก. ถูก
ข. จากรูป พิจารณา ∆ ADF ; CFˆD = Â + D̂ (มุมภายนอกเทากับผลบวก
A พิจารณา ∆ BEG ; CGˆ F = B̂ + Ê มุมภายในที่อยูตรงกันขาม)
B พิจารณา ∆ CFG ; Ĉ + CFˆD + CGˆ F = 180° (มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได 180°)
F
Ĉ + ( Â + D̂ ) + ( B̂ + Ê ) = 180° ข. ถูก
E
C G
D
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 167
49. เฉลย 3) 165
จาก 3a2 - ab - 2b2 = 0
(3a + 2b)(a - b) = 0
3a + 2b = 0 (a ≠ b)
3a = -2b
ยกกําลัง 2 ; 9a2 = 4b2
คูณดวย 2 ; 18a2 = 8b2
จะได 9a 2 + 5ab - 4b 2 = 4b2 + 5ab - 4b 2
18a 2 + 16ab - 8b 2 8b 2 + 16ab - 8b 2
5ab
= 16ab
= 165
50. เฉลย 1) 5 7
พิจารณา 66 + 6 21 = 66 + 2(3 7 3 )
= (3 7 )2 + 2(3 7 )( 3 ) + ( 3 )2
= (3 7 + 3 )2
∴ 66 + 6 21 = 3 7 + 3
31 - 4 21 = 31 - 2(2 7 )( 3 )
= (2 7 )2 - 2(2 7 )( 3 ) + ( 3 )2
= (2 7 - 3 )2
∴ 31 - 4 21 = 2 7 - 3
จะได 66 + 6 21 + 31 - 4 21 = (3 7 + 3 ) + (2 7 - 3 ) = 5 7
51. เฉลย 3) 32 ตารางหนวย
ABˆ C = 90° (มุมในวงกลม)
∴ AC = 10 หนวย (6 : 8 : 10 = 3 : 4 : 5)
B ลากเสนตรง DG และ EF ตั้งฉากกับ AC ดังรูป และลากเสนตรง OD
6 8 จากรูป จะเห็นวา AD = CE ( ABˆ C = CBˆ E )
A G F C ∴ ACED เปนสี่เหลี่ยมคางหมูหนาจั่ว
O
GF = DE = 6
D 6 E ∆ DGO ; OG = 3, OD = 5 (รัศมีวงกลม = 5 หนวย)
∴ DG = 4 (3 : 4 : 5)
พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ACED = 21 (10 + 6)(4)
= 32 ตารางหนวย
168 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
52. เฉลย 3) 128
255 ตารางหนวย
P สรางสามเหลี่ยมมุมฉาก PQR ให tan θ = 158
17 จากทฤษฎีบทพีทาโกรัสจะไดอัตราสวนดานเปน 8 : 15 : 17
15
∴ cos θ = 17 8 และ sin θ = 15
R θ Q 17
8

B
จากโจทย ลากเสนตรง MD ตั้งฉากกับ AC และลากเสนตรง OM
ดังนั้น ถา tan A = 158
M
1 จะได cos A = 178 และ sin A = 15 17
A D 1 K C
O จากรูป OMˆ D = Â
∆ OMD ; MD 8
MO = cos A = 17
MD = 8
1 17
∴ MD = 17 8
∆ AMO ; cosec A = MO AO
17 = AO
15 1
∴ AO = 15 17
จะได AK = 17 15 + 1 = 15
32
พื้นที่ ∆ AMK = 21  15
32  ⋅  8 
  17 
128
= 255 ตารางหนวย
53. เฉลย 4) 8
13 หาร p เหลือเศษ 5 จะได p = 13k1 + 5 (k1 เปนจํานวนเต็มบวก)
13 หาร q เหลือเศษ 7 จะได q = 13k2 + 7 (k2 เปนจํานวนเต็มบวก)
p + q = 13(k1 + k2) + 12
5(p + q) = 65(k1 + k2) + 60
ดังนั้น 13 หาร 5(p + q) จะไดเศษเทากับเศษของ 13 หาร 60 คือ 8
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 169
54. เฉลย 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
ก. | x | ≤ 1 จะได -1 ≤ x ≤ 1
| y | ≤ 1 จะได -1 ≤ y ≤ 1
xy = 1 จะได (1) x = 1, y = 1
หรือ (2) x = -1, y = -1 ก. ผิด
ข. 5z2 - 3z + 25 11 = 5 z2 - 3 z +  3  -  3   + 11
2 2
 5  10   10   25
2
= 5  z - 103  - 100 45 + 11
25
2
= 5  z - 103  - 100 1 ข. ผิด
2
*ถา z = 103 จะได 5  z - 103  - 100
1 =- 1 <0
100
55. เฉลย 3) 23
เนื่องจาก ∆ ABD ∼ ∆ ACD
จะได พื้นที่ ∆ ABD =  BD  2 (BD และ AD เปนดานที่สมนัยกัน)
 AD 
A พื้นที่ ∆ ACD
 BD  2 64 =  8  2
∴  AD  =
  225  15 
BD 8
C B D AD = 15
พิจารณา ∆ ABD A
ถาให BD =
8, AD = 15
15 17
จะได AB =
17 (8 : 15 : 17)
จากรูป จะเห็นวา BAˆ D Ĉ = D 8 B
∴ sin C 8 = 15
17 , tan B = 8
∴ 17 sin C + 8 tan B = 17  178  + 8  158 
= 8 + 15
= 23
56. เฉลย 4) 730
318 + 313 + 37 + 30 = (36)3 + 3(36)2(1) + 3(36)(1)2 + (1)3
= (36 + 1)3
∴ รากที่สามของ 18 13
3 +3 +3 +3 = 7 0 36 + 1
= 730
170 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
57. เฉลย 4) x + 1
จากทฤษฎีเศษจะได P(2) = 3 (เศษจากการหาร P(x) ดวย (x - 2) เทากับ 3)
P(1) = 2 (เศษจากการหาร P(x) ดวย (x - 1) เทากับ 2)
2
เนื่องจาก (x - 2)(x - 1) = x - 3x + 2 เปนพหุนามดีกรี 2
ดังนั้น เศษจากการหาร P(x) ดวย x2 - 3x + 2 จะอยูในรูป Ax + B (พหุนามดีกรี 1)
จะได P(x) Ax + B
(x - 2)(x - 1) = Q(x) + (x - 2)(x - 1)
P(x) = (x - 2)(x - 1)Q(x) + Ax + B
x=2; P(2) = 0 + 2A + B
2A + B = 3 ...(1)
x=1; P(1) = 0 + A + B
A+B = 2 ...(2)
(1) - (2) ; A = 1
B = 1
ดังนั้น เศษจากการหาร P(x) ดวย (x - 2)(x - 1) เทากับ x + 1
58. เฉลย 1) 11
เนื่องจาก a, b และ c เปนรากของสมการ x3 - 5x2 + 7x + 6 = 0 ...(1)
จะไดวา สมการ x3 - (a + b + c)x2 + (ab + ac + bc)x + abc = 0 ...(2)
เปนสมการเดียวกับสมการ (1)
เทียบสัมประสิทธิ์ระหวาง (1) กับ (2) จะได
a+b+c = 5 ...(3)
ab + ac + bc = 7 ...(4)
2
(3) ; (a + b + c)2 = 25
a2 + b2 + c2 + 2ab + 2ac + 2bc = 25 ...(5)
2(4) ; 2ab + 2ac + 2bc = 14 ...(6)
(5) - (6) ; a2 + b2 + c2 = 11
59. เฉลย 3) 1z - y1 = 4x
จากโจทย 2x = 3y = (24 ⋅ 3)z = 24z ⋅ 3z ...(1)
จะได (3y)z/y = (2x)z/y
3z = 2xz/y ...(2)
แทน (2) ใน (1) ; ∴ 2x = 24z ⋅ 2xz/y = 24z+xz/y
ดังนั้น 4z + xzy = x
หารดวย xz ; 4 + 1 = 1z
x y
∴ 1z - y1 = 4x
บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1) 171
11
60. เฉลย 2) 20
n(S) = 100
เลขที่เปนกําลังสองสมบูรณมี 10 จํานวน ไดแก 12, 22, 32, ..., 102 จะเห็นวามีเลขคี่อยู 5 จํานวน
คือ 12, 32, 52, 72, 92 ยังมีเลขคี่เหลืออยูอีก 45 จํานวน
ดังนั้น n(E) = 10 + 45
= 55
P(E) = 10055
11
= 20

————————————————————
288 บัณฑิตแนะแนว โจทยขั้นเทพ เขา ม.4 รร.มหิดลวิทยานุสรณ (เลม 1)
วิธีใชตารางสรุปคาสถิติของนักเรียนทั่วประเทศ
“คาสถิติแตละชุด” รวบรวมมาจากขอมูลการสอบจริงในวิชานั้นๆ ของนักเรียนทั่วประเทศที่เคยรวมสอบ
วัดความรูกับบัณฑิตแนะแนว ในแตละปกวา 100,000 คน ซึ่งจะทําใหผูที่ใชหนังสือนี้ไดรับประโยชนสูงสุดยิ่งขึ้น
ตัวอยาง A ซึ่งอยูในจังหวัดราชบุรี (ภาคกลาง) ทําคะแนนสอบวิชานี้ได 45.00% เมื่อนําคะแนนไป
เปรียบเทียบกับ “ตารางสรุปคาสถิติในวิชานี้ของนักเรียนทั่วประเทศ” ก็จะสามารถอธิบายไดดังนี้

ขอสอบชุดนี้ มีคะแนนสูงสุด (MAXIMUM) ..............................ในภาคกลาง = 93.00%


รวมทั้งประเทศ = 95.00%
มีคะแนนคาเฉลี่ย (MEAN)....................................ในภาคกลาง = 33.32%
รวมทั้งประเทศ = 33.38%
มีผูทําคะแนนไดใกลเคียง A (>40-50%) ......ในภาคกลาง ≈ 13.45%
รวมทั้งประเทศ ≈ 11.91%
มีผูทําคะแนนไดนอยกวา A (0-40%) ..............ในภาคกลาง ≈ 80.41%
รวมทั้งประเทศ ≈ 81.99%
มีผูทําคะแนนไดมากกวา A (>50-100%)......ในภาคกลาง ≈ 6.14% รวมทั้งประเทศ ≈ 6.10%
อนึ่ง ขอใหทานตระหนักวา “คาสถิต”ิ ที่พิมพเผยแพรในหนังสือนี้ รวบรวมจากกลุม ตัวอยางของ
ผูสมัครสอบทั่วประเทศในอดีต มิใชขอมูลในปปจจุบัน จึงควรศึกษาในลักษณะเทียบเคียงจากอดีตเพื่อนํามา
ปรับใชในปจจุบัน พี่ๆ จากบัณฑิตแนะแนวทุกคนขอเปนกําลังใจ และขออวยพรใหนองทุกคนมีความมุมานะ
ขยันหมั่นเพียรทบทวนความรูอยางสม่ําเสมอ สามารถกาวผานอุปสรรค ความยากลําบากนานัปการไปสู
ความสําเร็จที่มุงหวัง นําความรู-ประสบการณเสริมสรางอนาคตที่งดงามใหแกตนเอง และสังคมสืบตอไป
สําหรับการแบงภาคเพื่อใหสามารถเปรียบเทียบกับนักเรียนที่อยูในภาคเดียวกันไดดวย ซึ่งจะแบงเปน 6 ภาค ดังนี้
- กรุงเทพมหานคร เปนจังหวัดใหญ มีนักเรียนและโรงเรียนเปนจํานวนมาก แมจะมีเพียงจังหวัดเดียว แตก็จัดเปน 1 ภาค
- ภาคเหนือ มี 17 จังหวัด คือ อุทยั ธานี, พิษณุโลก, กําแพงเพชร, ตาก, นครสวรรค, พิจิตร, เพชรบูรณ, สุโขทัย, อุตรดิตถ, เชียงใหม, เชียงราย,
นาน, พะเยา, แพร, แมฮองสอน, ลําปาง และ ลําพูน
- ภาคใต มี 14 จังหวัด คือ ยะลา, นราธิวาส, ปตตานี, สตูล, สงขลา, ชุมพร, นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สุราษฎรธานี, ภูเก็ต, กระบี่, ตรัง, พังงา และ ระนอง
- ภาคอีสาน มี 20 จังหวัด คือ อุดรธานี, ขอนแกน, เลย, สกลนคร, หนองคาย, อุบลราชธานี, กาฬสินธุ, นครพนม, มุกดาหาร, มหาสารคาม, ยโสธร,
รอยเอ็ด, นครราชสีมา, ชัยภูมิ, บุรีรัมย, ศรีสะเกษ, สุรินทร, หนองบัวลําภู, อํานาจเจริญ และ บึงกาฬ
- ภาคตะวันออก มี 9 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา, จันทบุรี, ชลบุรี, นครนายก, ปราจีนบุรี, ระยอง, ตราด, สมุทรปราการ และ สระแกว
- ภาคกลาง-ตะวันตก มี 16 จังหวัด คือ ปทุมธานี, นครปฐม, สมุทรสาคร, ราชบุรี, กาญจนบุรี, ประจวบคีรีขันธ, เพชรบุรี, สมุทรสงคราม,
สุพรรณบุรี, ชัยนาท, พระนครศรีอยุธยา, ลพบุรี, สระบุรี, สิงหบุรี, อางทอง และ นนทบุรี

You might also like