You are on page 1of 8

วิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

ขอ คําตอบ ขอ คําตอบ


1 1 16 3, 5
2 1, 4 17 1
3 2 18 5
4 1 19 5
5 5 20 4
6 2 21 1
7 2, 5 22 2
8 2 23 3, 5
9 1, 2 24 2
10 5 25 3, 4
11 3 26 -
12 5 27 3
13 1 28 2, 3, 4, 5
14 2 29 3, 4
15 5 30 1, 3, 4
หมายเหตุ เนื่องจากขอสอบวิชาวิทยาศาสตรชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ขอ 26 ไมสมบูรณ
คณะกรรมการจึงกําหนดใหวัดผลดวยขอสอบ 29 ขอ
คําอธิบาย
1. กระดูกทําหนาที่ค้ําจุนโครงสรางของรางกาย 4. การพรางตัว (Camouflage) เปนวิธีการที่สิ่งมีชีวิต
และปกปองอวัยวะภายใน โดยมีกลามเนื้อยึดติดกับ ใชในการหลีกเลี่ยงการโจมตีจากศัตรู โดยปรับเปลี่ยน
กระดูก ถากลามเนื้อที่ยึดกับกระดูกหดตัวหรือ สีรางกายของตนเองใหกลมกลืนไปกับสิ่งแวดลอม
คลายตัว รางกายของเราจะเคลื่อนไหว กลาวคือ เพื่อจะไดไมเปนจุดสนใจของศัตรูตามธรรมชาติ
เพราะกระดูกและกลามเนื้อทํางานรวมกัน รางกาย ซึ่งการพรางตัวเปนวิธีปองกันตนเองที่ดีที่สุดของ
ของเราจึงสามารถเคลื่อนไหวไดตามตองการ หนอนเมื่ออยูในระยะดักแด โดยจะมีการเปลี่ยนสี
รางกายภายนอกใหกลมกลืนไปกับสภาพแวดลอม
ที่อยูรอบตัวในขณะนั้น ทําใหศัตรูสังเกตเห็นไดยาก

2. พืชซึ่งใชแสงในกระบวนการสังเคราะหดวยแสงหรือ
สรางอาหารเพื่อการดํารงชีวิต ขณะที่สัตวไมสามารถ
สรางอาหารเองได อุณหภูมิที่แตกตางกันไปตามพื้นที่
และฤดูกาล มีผลใหสิ่งมีชีวิตมีรูปรางลักษณะที่
หลากหลาย แตกตางกันไปตามอุณหภูมิของแหลง
ที่อยูอาศัยนั้น ๆ
5. แกสที่เปนสาเหตุสําคัญของปรากฏการณที่ทําให
โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรือทําใหเกิดปรากฏการณ
เรือนกระจกคือ ‘แกสเรือนกระจก’ ซึ่งประกอบดวย
3. สารอาหารที่ใหพลังงานแกรางกาย คือ สารอาหาร แกสหลัก ๆ เชน แกสคารบอนไดออกไซดและ
ที่ใหพลังงานที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต แกสมีเทน เปนตน แกสเรือนกระจกที่เกิดขึ้น
โดยแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก คารโบไฮเดรต ในขั้นตอนผลิตผลผลิตทางการเกษตรและปศุสัตว
โปรตีน และไขมัน สารอาหารเหลานี้เปนแหลง จํานวนมากเปนหนึ่งในสาเหตุหลักของการเกิด
พลังงานสําคัญของรางกายและผานกระบวนการ ภาวะโลกรอน จนทําใหเกิดปรากฏการณ ลมฟา
ยอยอาหาร ในขณะที่วิตามิน แรธาตุ และน้ํา อากาศที่ผิดปกติไปทั่วโลก เชน ความแหงแลง
เปนสารอาหารที่ไมใหพลังงาน ทําหนาที่ชวยควบคุม น้ําทวม หิมะตกหนัก เปนตน
การทํางานของระบบตาง ๆ ของรางกายใหทํางานได
ตามปกติ โดยที่แรธาตุและน้ําเปนสวนประกอบ
ที่อยูในรางกายและไมผานกระบวนการยอย
สารอาหารทั้งหมดถูกดูดซึมเพื่อใหสวนตาง ๆ
ของรางกายนําไปใชประโยชน
6. หลอดอาหารเชื่อมตออยูระหวางปากและ 8. สมบัติทางกายภาพหรือสมบัติทางฟสิกส คือ
กระเพาะอาหาร ทําหนาที่สงอาหารที่ถูกยอยจาก สมบัติของสารที่สามารถสังเกตไดจากลักษณะ
ปากสงไปยังกระเพาะอาหาร อาหารที่เขาไปสู ภายนอกหรือจากการทดลองที่ไมเกี่ยวของกับ
กระเพาะอาหาร อาหารจะถูกคลุกเคลากับน้ํายอย ปฏิกิริยาเคมี เขน สถานะของสาร เนื้อสาร สี กลิ่น
ของกระเพาะอาหาร จนมีสภาพเหมือนโจก จากนั้น รส ความหนาแนน จุดเดือด จุดหลอมเหลว
จะเคลื่อนที่จากกระเพาะอาหารเขาสูลําไสเล็ก การนําไฟฟา เปนตน ในขณะที่สมบัติทางเคมีของสาร
ลําไสเล็กจะยอยอาหารใหอยูในรูปของสารอาหาร คือ สมบัติที่เกี่ยวของกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและ
ที่มีโมเลกุลเล็กลงมากจนกระทั่งสามารถดูดซึม องคประกอบทางเคมีของสาร เชน การผุกรอน
ผานเซลลได และทําการดูดซึมสารอาหารที่จําเปน การติดไฟ การทําปฏิกิริยากับสารอื่น ๆ
ตอรางกาย ระดับความเปนกรด - เบส เปนตน

น้ําดีถูกผลิตขึ้นจากตับและถูกสงไปเก็บไวที่ถุงน้ําดี
จากนั้นน้ําดีจะถูกปลอยออกไปที่ลําไสเล็กสวนตน
9. สารละลายถึงแมจะวางไวเปนเวลานานก็ไมมีสิ่งที่
เพื่อชวยในกระบวนการยอยไขมัน
จมเปนตะกอนหรือลอยขึ้นมาดานบนของสารละลาย
กากอาหารที่เหลือจากการยอยในลําไสเล็กจะไปยัง และเมื่อกรองดวยกระดาษกรองจะไมพบสิ่งใด
ลําไสใหญ ลําไสใหญจะดูดซึมน้ําที่หลงเหลืออยูใน หลงเหลืออยูบนกระดาษกรอง และเพราะ
กากอาหารจนหมดเพื่อทําใหปริมาตรของกากอาหาร ตัวทําละลายและตัวละลายมีการกระจายอยางทั่วถึง
ลดลงและสงตอกากอาหารไปยังทวารหนักเพื่อรอ ไมวาจะทดสอบสมบัติทางเคมีจากตําแหนงใดของ
การขับออกจากรางกายในลําดับถัดไป สารละลาย ระดับการผสมของสารก็เทากัน
ในสวนของสารที่มีลักษณะใส ไมมีสี เชน น้ํา
จะประกอบดวยสารหนึ่งชนิดเทานั้น และจัดเปน
สารบริสุทธิ์ ไมใชสารละลาย ความใสและไมมีสี
7. สมบัติของสารที่สามารถสังเกตไดจากลักษณะ จึงไมใชลักษณะเฉพาะของสารละลาย เนื่องจาก
ภายนอกไมเกี่ยวของกับปฏิกิริยาทางเคมี เชน สี สารละลายบางชนิดอาจมีลักษณะใสหรือมีสีอื่น ๆ ได
รสชาติ เนื้อสาร ลักษณะผลึก จุดหลอมเหลว
จุดเยือกแข็ง จุดเดือด ความหนาแนน
เปนลักษณะเฉพาะของสารที่สามารถทําการ 10. เพราะเกลือและทรายมีระดับการละลายใน
สังเกตไดงายโดยใชอวัยวะรับสัมผัส เชน ตา จมูก ตัวทําละลายอยางน้ําแตกตางกัน หลังจากละลายน้ํา
ปาก การสัมผัส เรียกวา สมบัติทางกายภาพของสาร แลวจึงสามารถกรองดวยอุปกรณการกรองได
แตการลุกติดไฟและการทําปฏิกิริยาทางเคมีตาง ๆ และเนื่องจากทรายไมละลายน้ํา จึงหลงเหลืออยู
จัดเปนสมบัติทางเคมีของสาร บนกระดาษกรอง ในขณะที่เกลือละลายน้ํา
จึงผานกระดาษกรองไปได
11. น้ําทวมเปนปรากฏการณที่เกิดจากการที่ฝนตกลงมา 13. ปรากฏการณการเกิดสุริยุปราคา ซึ่งเกิดขึ้นจากการที่
มากเกินไป ซึ่งฝนเกิดจากการที่ไอน้ําในอากาศ ดวงจันทรโคจรมาบดบังแสงของดวงอาทิตยที่สองมา
เกิดการรวมตัวกันเพิ่มมากขึ้น จนหนักและตกลงมา ยังโลก ทําใหผูที่อยูในบริเวณใตเงาของดวงจันทรนั้น
เปนเม็ดฝน ในขณะที่ปรากฏการณในขอ ① คือหมอก มืดลง โดยปรากฏการณนี้สามารถเกิดขึ้นไดใน
② คือน้ําคางแข็ง ④ คือน้ําคาง และ ⑤ คือเมฆ ทุกพื้นที่บนโลก และหากเกิดสุริยุปราคาเต็มดวง
จะสามารถเห็นโคโรนาซึ่งเปนชั้นบรรยากาศชั้นนอก
สุดของดวงอาทิตยไดอีกดวย ในสวนของการเกิด
ปรากฏการณจันทรุปราคาจะเปนการที่ดวงจันทร
เคลื่อนผานหลังโลก ทําใหตําแหนงการเรียงตัวของ
12. สวนที่มืดและสวางของพื้นผิวดวงจันทรทําใหภาพ ดวงดาวเปนดวงอาทิตย โลก และดวงจันทร
ที่แตละคนเห็นแตกตางกันจนสามารถจินตนาการได ตามลําดับ
หลากหลาย ซึ่งเหตุผลที่ดวงจันทรเกิดสวนที่สวาง
และสวนที่มืดแตกตางกันไปทั่วทั้งดาว เนื่องจาก
การพุงชนของอุกกาบาตตาง ๆ ทําใหเกิดแองปะทะ
และมีสวนสัน คลายภูเขาที่ทําใหมองเห็นเปนสีออน
ในขณะที่สวนที่มองเห็นเปนสีเขมหรือสวนที่มืด 14. จุดที่เหมือนกันระหวางหินที่กลายเปนทราย
แตเดิมเชื่อวามีทะเล อยูบนดวงจันทรในบริเวณนั้น และน้ําตาลกรวดกลายเปนน้ําตาลที่แตกเปนผง
แตในความเปนจริง สวนที่มืดเกิดจากการปะทุของ คือ เปนการเปลี่ยนแปลงจากอนุภาคขนาดใหญ
ลาวาที่ไหลเขาทวม บริเวณแองปะทะ ในกรณีของ เปนอนุภาคขนาดเล็ก
การชั่งน้ําหนักสิ่งของบนดวงจันทรเพื่อเปรียบเทียบ
กับโลกนั้น พบวาน้ําหนักของวัตถุชนิดเดียวกัน
เมื่อชั่งบนดวงจันทรจะมีน้ําหนักนอยกวาที่ชั่งได
บนโลก เนื่องจากแรงโนมถวงของดวงจันทรมีคา
นอยกวาโลก 6 เทา 15. ถาทําการทดลอง จะคาดคะเนไดวาน้ํามีปริมาณมาก
น้ําเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วสูงและกองดินมีความลาดชัน
มาก บริเวณยอดของกองดินจะพังทลายลงมาก
และไหลลงมาทับถมกันอยูที่ฐานของกองดิน จากรูป
บริเวณ A และ C ดินจะเกิดการพังทลายลงมาก
ในขณะทีบ่ ริเวณ B และ D จะมีดินกองทับถมกัน
โดย A มีความลาดชันมากกวาจะเกิดการพังทลาย
มากกวา C สวน B จะมีการทับถมมากกวา D
16. ในการเชื่อมตอหลอดไฟทั้งสองดวงแบบอนุกรม ของเสียออกจากน้ํา ทําใหน้ํามีสิ่งปนเปอนนอยลง
เสนทางที่กระแสไฟฟาเคลื่อนผานจะมีเสนทางเดียว ในขณะที่หมอหุงขาวไฟฟาและเครื่องยนตของรถยนต
ถานําหลอดไฟออกหนึ่งดวงแลวเปดสวิตช ไมมีสวนเกี่ยวของกับการกรองของเสียจึงไมใช
วงจรยังเปดอยู เนื่องจากหลอดไฟถูกนําออกไป ตัวเลือกที่ถูกตอง
1 หลอด เสนทางกระแสไฟฟามีเสนทางเดียว
หลอดไฟที่เหลือจึงไมสวาง

19. รูป A คือ วิลลัส (villus) ที่อยูภายในลําไสเล็ก


ซึ่งเปนอวัยวะยอยอาหารที่มีความยาวมากที่สุด
17. สิ่งมีชีวิตในรูป คือ พารามีเซียม ซึ่งเปนโพรโทซัว ผนังดานในของลําไสเล็กมีลักษณะเปนรอยยน
สกุลหนึ่งที่มีขนาดเล็กมากจนไมสามารถมองเห็นได จํานวนมาก รอยยนเหลานี้เรียกวา Circular folds
ดวยตาเปลา ตองทําการสังเกตผานกลองจุลทรรศน ที่ผนังดานในของลําไสเล็กมีวิลลัสอยูอยางหนาแนน
ลําตัวมีลักษณะคลายทรงกระบอกแบนไมสามารถ ซึ่งที่เซลลเยื่อบุผิวของวิลลัสมีขนเสนเล็ก ๆ จึงทําให
เกิดกระบวนการสังเคราะหดวยแสงไดเหมือนกับ มีพื้นที่ผิวกวางมาก ดวยเหตุนี้ ผนังดานในของ
สไปโรไจราหรือสาหรายดํารงชีวิตโดยกินสิ่งมีชีวิตอื่น ลําไสเล็กจึงมีพื้นที่ผิวที่สัมผัสกับอาหารกวางขึ้น
เปนอาหาร สามารถเคลื่อนที่ไดโดยการวายน้ําดวย ชวยใหดูดซึมสารอาหารไดอยางมีประสิทธิภาพ
ขนขนาดเล็กที่อยูรอบตัว แตพารามีเซียมประกอบดวย
เซลลเพียงเซลลเดียวจึงไมจัดเปนสัตว ไมมีอวัยวะ
รับสัมผัสอยางตาและจมูก จะเคลื่อนที่เมื่อไดรับ
การกระตุนจากแสง ถานําออกจากน้ําจะไมสามารถ 20. การยอยอาหาร คือ กระบวนการบดอาหาร
มีชีวิตอยูได ที่เรากินเขาไปใหละเอียด และยอยใหอยูในรูปของ
สารอาหาร ซึ่งรางกายสามารถดูดซึมผานเซลลได
อวัยวะที่ทําหนาที่ในกระบวนการยอยอาหาร เชน
ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก
18. การกําจัดของเสียที่เกิดขึ้นในรางกายออกจากรางกาย ลําไสใหญ ทวารหนัก โดยการยอยเริ่มขึ้นตั้งแต
เรียกวา การขับถายของเสีย อวัยวะที่เกี่ยวของกับการ อาหารเขาสูปาก จากนั้นอาหารจะถูกสงตอไปยัง
ขับถายของเสีย เชน ไต กระเพาะปสสาวะ เปนตน หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก ลําไสใหญ
ไตชวยทําใหเลือดสะอาด โดยกรองของเสียออกจาก และสิ้นสุดที่ทวารหนัก
เลือด และขับออกมาเปนปสสาวะ จากตัวเลือก
สิ่งตาง ๆ รอบตัวเราที่ทําหนาที่กรองของเสีย
เชนเดียวกับไต เชน โรงกรองน้ํา ตะแกรงทอน้ําทิ้ง
ในหองน้ํา ตะแกรงกรองเศษอาหาร เปนตน
จุดที่เหมือนกันของสิ่งตาง ๆ เหลานี้คือชวยกรอง
21. สารอาหาร A คือ โปรตีน ซึ่งพบไดในนม ไขไก ถั่ว ในน้ําลายมีเอนไซมอะไมเลสเปนสวนประกอบ
เปนตน ซึ่งโปรตีนเปนแหลงพลังงานใหกับรางกาย เอนไซมอะไมเลสชวยยอยแปงที่มีอยูในอาหารให
สารอาหาร B คือ ไขมัน โดยหากคารโบไฮเดรต กลายเปนน้ําตาลมอลโทสซึ่งมีโมเลกุลเล็กลง
ที่เหลือนอกเหนือจากที่รางกายตองการจะถูกเปลี่ยน แตเนื่องจากอาหารอยูในปากเพียงไมนาน
เปนไขมันและสะสมอยูในรางกาย โดยไขมันเปน เอนไซมอะไมเลสจึงยอยแปงไดเพียงบางสวนเทานั้น
สารอาหารที่ใหพลังงานมากที่สุด โดยการรับประทาน
ไขมัน 1 กรัม จะใหพลังงานถึง 9 กิโลแคลอรี
สารอาหาร C เปนวิตามินและเกลือแรซึ่งเปน
23. จากรูป A คือตับ B คือถุงน้ําดี C คือลําไสเล็ก
สารอาหารที่รางกายตองการในปริมาณที่นอย
D คือตอมน้ําลาย E คือกระเพาะอาหาร F คือตับออน
ชวยรักษาสมดุลของระบบการทํางานตาง ๆ
และ G คือลําไสใหญ โดยอวัยวะที่ทําหนาที่
ภายในรางกาย ทําใหรางกายทํางานไดเปนปกติ
ยอยคารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมันใหมีขนาดเล็ก
สารอาหาร D คือ คารโบไฮเดรต ซึ่งมีประโยชน จนรางกายสามารถดูดซึมไดคือ C ลําไสเล็ก ในขณะที่
เปนแหลงพลังงานใหกับรางกายและชวยใหรางกาย ในน้ําลายประกอบดวยเอนไซมที่ชื่อวา อะไมเลส
สามารถขยับเขยื้อนและเคลื่อนไหวไดเปนปกติ ซึ่งใชในการยอยแปง กระเพาะอาหารเปนอวัยวะ
ยอยอาหารที่มีลักษณะเปนถุงกลามเนื้อขนาดใหญ
น้ําดีถูกสรางขึ้นจากตับและสงไปกักเก็บไวที่ถุงน้ําดี
ลําไสเล็กเปนอวัยวะยอยอาหารที่ยาวมาก
22. เพปซินเปนเอนไซมที่ถูกหลั่งออกมายอยสารอาหาร โดยมีความยาวประมาณ 7 เมตร น้ํายอยของ
ประเภทโปรตีนในกระเพาะอาหาร โดยมีกรดเกลือ ตับออนถูกผลิตขึ้นจากตับออนประกอบดวยสารที่มี
หรือกรดไฮโดรคลอริกชวยทําใหกระเพาะอาหาร สมบัติเปนเบส
มีสภาพเปนกรด เหมาะแกการทํางานของ
เอนไซมเพปซิน แตโปรตีนที่ถูกยอยโดย
เอนไซมเพปซินจะยังมีขนาดเล็กไมมากพอที่รางกาย
จะสามารถดูดซึมได จึงตองถูกยอยอีกครั้งดวย 24. เมื่อตองการแยกสารผสมที่เปนของเหลวที่ไมผสม
เอนไซมอีกชนิดหนึ่งที่ลําไสเล็ก เพื่อใหโปรตีน รวมเปนเนื้อเดียวกัน และมีความหนาแนน
มีขนาดโมเลกุลเล็กลงจนสามารถดูดซึมเขาสูเซลลได แตกตางกัน สามารถแยกไดโดยการใชกรวยแยกสาร
น้ําดีถูกสรางขึ้นโดยตับและถูกกักเก็บไวที่ถุงน้ําดี
ในน้ําดีไมมีเอนไซมยอยอาหาร จึงไมไดทําหนาที่
ยอยอาหาร แตชวยทําใหไขมันแตกตัวมีโมเลกุล
เล็กลง เพื่อใหทําปฏิกิริยากับไลเปสซึ่งเปนเอนไซม
ยอยไขมันที่ตับออนผลิตขึ้นไดอยางทั่วถึง ชวยให
กระบวนการยอยไขมันดําเนินไปไดอยางรวดเร็ว
25. จากรูปที่ 1 A คือทอน้ําเหลือง และ B หินตะกอน ซึ่งเปนหินที่เกิดจากการผุพังและ
คือหลอดเลือดฝอย จากรูปที่ 2 ก คือตับ ข คือถุงน้ําดี การกรอนของหินชนิดอื่นมาทับถมกัน หิน B
ค คือกระเพาะอาหาร และ ง คือตับออน คือ หินอัคนี ที่เกิดจากการเย็นตัวลงจนเกิดเปนหิน
ภายในวิลลัสมีทอน้ําเหลืองและมีหลอดเลือดฝอย ของแมกมา (D) และหิน C คือ หินแปร ซึ่งเกิดจาก
กระจายตัวอยูโดยรอบ ทอน้ําเหลืองทําหนาที่ดูดซึม การไดรับความรอนและความดันภายใตเปลือกโลก
กรดไขมัน กลีเซอรอล และวิตามินที่ละลายในไขมัน ทําใหเกิดการแปรสภาพของหินตาง ๆ
สวนหลอดเลือดฝอยที่อยูในวิลลัสทําหนาที่ดูดซึม
สารอาหารที่ละลายในน้ํา เชน กลูโคส กรดอะมิโน
วิตามินที่ละลายในน้ํา แรธาตุ เปนตน
โดยเอนไซมเพปซินที่ถูกหลั่งออกมาในกระเพาะอาหาร 28. สารละลายเบเนดิกตเมื่อนําไปตมใหความรอนจะ
จะทําหนาที่ยอยโปรตีน ตับออนจะหลั่งเอนไซมทริปซิน ทําปฏิกิริยากับน้ําตาลกลูโคสและมอลโทส
อะไมเลส และไลเปสออกมายอยโปรตีน แปง ทําใหเกิดการตกตะกอนและเปลี่ยนสีจาก
และไขมันที่ลําไสเล็กตามลําดับ ตับทําหนาที่ผลิตน้ําดี สีน้ําเงิน → สีสมแดงหรือสีน้ําตาลอิฐ
และสงน้ําดีไปกักเก็บไวที่ถุงน้ําดี เมื่ออาหารเคลื่อนที่ สารละลายไอโอดีน-โพแทสเซียมไอโอไดด
มาที่ลําไสเล็กสวนตน น้ําดีจะถูกปลอยออกจาก ทําปฏิกิริยากับแปง ทําใหเกิดการเปลี่ยนสีจาก
ถุงน้ําดีเขาไปในลําไสเล็ก เพื่อทําใหไขมันแตกตัว สีเหลืองอมน้ําตาล → สีน้ําเงินเขม
สารละลายซูดาน III ทําปฏิกิริยากับไขมัน ทําใหเกิดการ
เปลี่ยนสีจากสีแดง → สีแดงเลือดหมูหรือสีแดงเขม
26. ไมมีคําตอบที่ถูกตอง
ถาทิศของกระแสไฟฟาเปลี่ยนแปลงไป ทิศทางการ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด 5% +
ขยับของเข็มของเข็มทิศก็จะเปลี่ยนแปลงไปดวย สารละลายคอปเปอรซัลเฟต 1% เรียกวา
แตไมไดขยับไปในทิศตรงกันขามหรือทิศเดียวกัน สารละลายไบยูเร็ต ใชในการตรวจสอบโปรตีน
กับทิศทางของกระแสไฟฟา โดยจะทําปฏิกิริยากับโปรตีน ทําใหเกิดการเปลี่ยนสี
จากสีน้ําเงิน → สีมวง
จากการทดสอบพบวาอาหารที่นํามาทดสอบเกิด
27. จากรูปของหินที่กําหนดให จะมองเห็นริ้วขนานหรือ ปฏิกิริยาขึ้นในหลอดทดลอง A C และ D
ลวดลายสีดําและสีขาวสลับกันอยางสวยงาม ซึ่งเปน ทําใหทราบวาสารอาหารที่มีอยูในอาหารชนิดนี้
ลักษณะเฉพาะของหินตะกอนที่แปรสภาพเปนหินแปร คือ กลูโคส ไขมัน และโปรตีน
จากการที่หินไดรับความรอนและความดันมหาศาล
จนทําใหเกิดการเรียงตัวของแรในทิศทางตั้งฉากกับ
ความดันเปนลักษณะของริ้วขนานแบบตาง ๆ
และจากแผนภาพวัฏจักรของหิน จะไดวา A คือ
29. วันใหมไปโรงพยาบาลเพราะหลังจากดื่มนมเขาไปแลว
มีอาการปวดทองและทองเสีย ซึ่งอาการดังกลาว
เกี่ยวของกับกระบวนการยอยอาหารของรางกาย
โดยคุณหมอไดอธิบายวาสาเหตุเกิดจาก
‘น้ําตาลแลกโทส’ ที่มีอยูในน้ํานมไมถูกยอย
ตอนเปนเด็กรางกายจะหลั่ง ‘เอนไซมแลกเทส’ ซึ่ง
เปนเอนไซมที่มีหนาที่ยอยน้ําตาลแลกโทสออกมา
เปนจํานวนมาก แตเมื่อเจริญเติบโตขึ้น พฤติกรรม
การดื่มนมลดลง ทําใหรางกายหลั่งเอนไซมชนิดนี้
ออกมานอยลง ดวยเหตุนี้จึงไดมีการคิดคนผลิตภัณฑ
นมแปรรูปขึ้น เชน ชีส โยเกิรต ซึ่งไมกอใหเกิด
‘ภาวะพรองเอนไซมยอยนม’ ขอที่กลาววารางกาย
ไมหลั่งเอนไซมที่สามารถยอยแลกโทสไดออกมาเลย
นั้นไมถูกตอง เพราะฉะนั้นไมจําเปนตองกินยา
ชวยยอยทุกครั้งหลังดื่มนม และในบทความไมไดมี
การกลาวถึงการดื่มนมรอนวาจะทําใหเกิดการยอย
ไดดีขึ้นหรือไม จึงไมสามารถสรุปได

30. ปริมาณและสีของปสสาวะที่รางกายขับออกมา
มีความสัมพันธโดยตรงกับปริมาณน้ําที่รางกายดูดซึม
เขาไปและปริมาณน้ําที่เหลือหลังจากรางกายนําไป
ใชประโยชน วันที่ดื่มน้ํามาก ปริมาณปสสาวะ
จะเพิ่มขึ้นและของเสียที่ละลายอยูในปสสาวะ
ถูกทําใหเจือจาง ปสสาวะจึงมีสีออนกวาปกติ
กรณีที่ดื่มน้ํานอยหรือสารอาหารที่เหลือจากการ
นําไปใชประโยชนมีปริมาณมากหรือรางกายขับ
ของเสียบางสวนออกมาทางเหงื่อแลว
ปริมาณปสสาวะจะลดลง ความเขมขนของปสสาวะ
สูงขึ้น สงผลใหปสสาวะมีสีเขมขึ้นตามไปดวย

You might also like