You are on page 1of 9

โครงงานย่ อยที่ 6

1 ชื่ อโครงงาน ศึกษาประสิ ทธิ ภาพของถุงข้าวตอกในการดับกลิ่นและดูดความชื้น


คาสาคัญ ข้าวตอก การดูดความชื้น การดูดกลิน่
ประสิ ทธิ ภาพของถุงข้าวตอกในการดูดกลิ่นและความชื้น
2 นักเรียนผู้ทาโครงงาน
1 นายมนตรี พลโยธา
2 นางสาวนภาพร จันทร์ สมัคร
3 นางสาวอาริ ยา สาตสิ น
4 นางสาวปริ ยาภรณ์ หาญเสนา

4 ครูที่ปรึกษา
คนที่ ชื่อ-สกุล สอนกลุ่ มสาระ โทรศัพท์ อีเมล์
3.1 นางสาวพร พันธ์ สุข วิทยาศาสตร์ 087-2512970 Pansuk_sg@hotmail.com
3.2 นางบังอร นิล กิจ วิทยาศาสตร์ 0879619675 Katac_53@hotmail.com
3.3 นางสาวสาริณี โสภาวรรณ ภาษาไทย 0862630953 Sarineemomo@hotmail.com
3.4 คุณครู ทัศนีย์ จวนสาง วิทยาศาสตร์ 0819673296 Tasanee2515@hotmail.com

5 งบประมาณที่เสนอ 5,000 บาท

6 เสนอ ยื่นครั้งที่ 1 วันที่ 26 เดือน ตุล าคม พ.ศ. 2557


แก้ ไขครั้งที่ 1 วันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
แก้ ไขครั้งที่ 2 วันที่ เดือน พ.ศ.

-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เ ลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น้ า | 1
รายละเอียดโครงงานย่ อยประเภท ก
(วิทยาศาสตร์ /เศรษฐศาสตร์ )

โครงงานที่ 6
เรื่อง ศึกษาประสิ ทธิภาพของถุงข้ าวตอกในการดับกลิ่ นและดูดความชื้น

1. ทีม่ าและความสาคัญของโครงงาน
ประเทศไทยเป็ นเขตร้อนชื้น โดยเฉพาะในฤดูฝนจะเกิดกลิ่นอับชื้น
แม้กระทั้งเสื้ อผ้ามีความอับชื้นเกิดขึ้น ทาให้สง่ กลิ่น ที่ไ ม ่พึ่งประสงค์ ต่อสวมใส่
จึงมีการใช้ผลิตภัณฑ์ดูดความชื้นเข้า มาชว่ ย เชน่ silica Gel ลูกเหม็น สเปรย์ ดับ กลิ่น ถ่านจากเปลือกผลไม้
ใช้ดบั กลิ่นในตูเ้ สื้ อผ้า ดับกลิ่นในตูเ้ ย็นแล้วแต่ผทู ้ ี่จะนาไปดับกลิ่นประเภทไหน
ซึ้งสารดูดความชื้นมีคณุ สมบัติ ดังนี้ สารดูดความชื้นเป็ นวัตถุ ที่สามารถ ดูดความชื้นออกจากอากาศ
โดยกระบวนการดูดความชื้นจะใช้อากาศซึ้ง มีความสั มพัทธ์ สูง ไหลผ่านสารดูดความชื้น
เพื่อดึงความชื้นออกโดยสารนี้ จะดูดความชื้นทาการกักเก็บ
ความชื้นไว้(ที่มา.http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NeweID=24148&Key=hotnews)
จากคณ ะ ผู ้ ท าโครง ง าน หั ว ข้ อ ใ ห ญ่ คื อ การท ามาลั ย ข้ า วตอก ใ น การท ามาลั ย ข้ า วตอกนั้ น
มี สิ่ ง ที่ เ ห ลื อ จ า ก ก า ร ท า ม า ลั ย ข้ า ว ต อ ก นั้ น คื อ
แกลบและการแตกหั กของข้า วนั้น ชาวบ้านน าข้า วหรื อ แกลบไปเป็ น อาหารของสัตว์ผทู ้ าโครงงานได้ไ ปศึก ษ
าพบวา่ แกลบได้มีก ารทาวิจยั ใช้ดูดความชื้ น และดูดสารตะกัว่ ในแกลบมีส ารดู ดความชื้ น คื อ Silica สู ง
ส่ ว น ข้ า ว ต อ ก ยั ง ไ ม ่ มี ใ ค ร ท า ก า ร วิ จั ย
ผูท้ าโครงงานสนใจคุณ สมบัติของข้า วตอกที่ส ามารถดูดความชื้ นและดับกลิน่ จึง มีแ นวคิดที่จะทาสารดับกลิ่
น แล ะ ดู ด ความชื้ น จากข้ า วตอ ก เพ ราะ ข้ า วตอ กนั้ น มี อ ง ค์ ป ระ กอบ ของ แป้ ง ซึ้ ง ส ามารถดู ด
ความชื้นได้จึงนามาศึกษาผลิตภัณฑ์ดับกลิ่นและดู ดความชื้น
2. ตัวแปรและสมมุติฐานของโครงงาน

-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เ ลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น้ า | 2

วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาปริ มาณข้าวตอกที่สามารถดู ดกลิ่นไม ่พึ่งประสงค์ไ ด้ดีที่สุ ด
2. เพื่อศึกษาระยะเวลาที่ขา้ วตอกสามารถดูดกลิ่นไม ่พึงประสงค์ไ ด้ดีที่สุ ด
3. เพื่อศึกษาระยะเวลาที่ขา้ วตอกสามารถดูดความชื้นได้ดีที่สุ ด
4. เพื่อศึกษาระยะเวลาที่ขา้ วตอกสามารถดูดความชื้นได้ดีที่สุ ด
5. เพื่อศึกษารู ปแบบของข้าวตอกบรรจุ ถุง(ผง,ดอก) ที่สามารถดูดกลิน่ ที่ไ ม ่พึงประสงค์ไ ด้ดีที่สุ ด
6. เพื่อศึกษารู ปแบบของข้าวตอกบรรจุ ถุง (ผง,ดอก)ที่สามารถดูดความชื้นได้ดีที่สุ ด

สมมุติฐาน

ประสิ ทธิ ภาพถุงข้าวตอกสามารถดู ดกลิ่นและดู ดความชื้นได้

ตัวแปรต้น ประสิ ทธิ ภาพของถุงข้าวตอก


ตัวแปรตาม ความสามารถในการดูดกลิ่น ความสามรถในการดูดความชื่น
ตัวแปรควบคุม กล่องทดลอง พิมเสน ชนิ ดของผ้า ขนาดของผ้า

3. แผนการทดลอง
ตัวแปรที่ใช้ในการทดลอง
การทดลองที่ 1 ศึกษาปริ มาณข้าวตอกที่ สามารถดูดกลิ่น ไม ่พึ่งประสงค์ ได้ดีที่สุด
ตัวแปรต้น ปริ มาณของข้าวตอก
ตัวแปรตาม ประสิ ทธิ ภาพในการดูดกลิ่น
ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา ปริ มาตรของพิมเสน ขนาดของกล่องทดลอง
การทดลองที่ 2 ศึกษาระยะเวลาที่ขา้ วตอกสามารถดู ดกลิน่ ไม ่พึงประสงค์ ได้ดีที่สุด
ตัวแปรต้น ระยะเวลาการดูดกลิ่น
ตัวแปรตาม ประสิ ทธิ ภาพในการดูดกลิน่

-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เ ลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น้ า | 3
ตัวแปรควบคุม ปริ มาณของข้าวตอก ปริ มาตรของพิมเสน ขนาดของกล่องทดลอง
การทดลองที่ 3 ศึกษาระยะเวลาที่ขา้ วตอกสามารถดูดความชื้นได้มากที่ สุ ด
ตัวแปรต้น ระยะเวลาในการดูดความชื้น
ตัวแปรตาม ประสิ ทธิ ภาพในการดูดความชื้น
ตัวแปรควบคุม ปริ มาณของข้าวตอก ปริ มาตรของน้ า ขนาดของกล่องทดลอง

การทดลองที่ 4 ศึกษาปริ มาณเวลาที่ขา้ วตอกสามารถดู ดความชื้นได้มากที่ สุด


ตัวแปรต้น ปริ มาณของข้าวตอก
ตัวแปรตาม ประสิ ทธิ ภาพในการดูดความชื้น
ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา ปริ มาตรของน้ า ขนาดของกล่องการทดลอง
การทดลองที่ 5 ศึกษารู ปแบบของข้า วตอกบรรจุถุง(ผง,ดอก)ที่สามารถดูดกลิ่นไม ่พึงประสงค์ไ ด้ดีที่สุ ด
ตัวแปรต้น รู ปแบบของข้าวตอก(ผง,ดอก)
ตัวแปรตาม ประสิ ทธิ ภาพในการดูดกลิ่น
ตัวแปรควบคุม ปริ มาณข้าวตอก ปริ มาณของพิมเสน ขนาดของกลิองทดลอง
การทดลองที่ 6 ศึกษารู ปแบบของข้า วตอกบรรจุถุง(ผง,ดอก)ที่สามารถดูดความชื้นได้ดี
ตัวแปรต้น รู ปแบบของข้าวตอก(ผง,ดอก)
ตัวแปรตาม ประสิ ทธิ ภาพในการดูดความชื้น
ตัวแปรควบคุม ปริ มาณข้าวตอก ปริ มาตรของน้ า ขนาดของกล่องทดลอง

4. วิธีการทดลอง
วิธีการทดลอง
การทดลองที่ 1 ศึกษาปริ มาณข้าวตอกที่สามารถดู ดกลิน่ ไม ่พึงประสงค์ไ ด้ดีที่สุ ด
วิธีการทดลอง
1. นาข้าวตอกไปชัง่ ให้มปี ริ มาตร 5 ,10, 15, 20 กรัมตามลาดับ
2. กล่องพลาสติกทดลองขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร จานวน 6 กล่อง
3. ใส่พิมเสนไปชัง่ ให้มปี ริ มาณ 5, 10 ,15, 20 กรัมลงในกล่องแต่ละใบ จับเวลา 10 นาที
4. นาพิมเสน 5 กรัม วางใส่ลงในกล่อง สังเกตปริ มาตรการลดลงของพิ มเสนและข้า วตอก
แล้วบันทึกผลการทดลอง
การทดลองที่ 2 ศึกษาระยะเวลาข้าวตอกที่ สามารถดู ดกลิ่นไม ่พึงประสงค์ ได้ดีที่สุด

-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เ ลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น้ า | 4
วิธีการทดลอง
1. เตรี ยมกล่องทดลองขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร นาพิมเสน 5 กรัม ใน 6 กล่อง
วางทิ้งไว้ 5 ชัว่ โมง
2. นาพิมเสนที่ดีที่สุด จากการทดลองที่ 1 จับเวลาโดย กล่องที่ 1 จับเวลา 5 นาที กล่องที่ 2 จับเวลา 10
นาที กล่องที่ 3 จับเวลา 15 นาที กล่องที่ 4 จับเวลา 20 นาที กล่องที่ 5 จับเวลา 25 นาที กล่องที่ 6
จับเวลา 30 นาที
3. นาพิมเสน 5 กรัม วางลงในกล่องชัง่ น้ าหนักการลดลงของพิมเสนและข้าวตอกทัง้ 6 กล่อง
แล้วบันทึกผลการทดลอง
การทดลองที่ 3 ศึกษาปริ มาณที่ขา้ วตอกสามารถดู ดความชื้นได้ดีที่สุ ด
วิธีการทดลอง
1. นาข้าวตอกไปชัง่ ให้มปี ริ มาณ 30, 40, 50, 60, 70, 80, กรัมตามลาดับ
2. นาผ้าในลอน 6 ผืน ขนาด 40x40 เซนติเมตร นาไปชุบน้ าให้มนี ้ าหนักเท่ากัน
แล้วนาไปวางไว้ในกล่องทั้ง 6 กล่อง
3. นาข้าวตอกที่เตรี ยมไว้ที่มนี ้ าหนัก 30, 40, 50, 60, 70, 80, กรัมตามลาดับ
ไปวางไว้ในกล่องแล้วปิ ดฝาตั้งทิ้งไว้ 1 ชัว่ โมง จากนั้นนาผ้าไนลอน
และข้าวตอกที่ได้มาชัง่ น้ าหนักและบัน ทึก ผลการทดลอง
การทดลองที่ 4 ศึกษาระยะเวลาที่ขา้ วตอกสามารถดูดความชื้นได้มากที่สุ ด
วิธีการทดลอง
1. นาผ้าที่ชบุ น้ าแล้วทั้ง 6 ผืน ขนาด 40x40 เซนติเมตรให้มนี ้ าหนักที่เท่ากัน
2. นาข้าวตอกที่มปี ริ มาณดูดความชื้นได้ดีที่สุ ดของการทดลองที่ 3
3. นาข้าวตอกใส่ลงไปในกล่องทัง้ 6 กล่อง แล้วจับเวลาโดย กล่องที่ 1-6 ใช้เวลาเพิม่ ขึ้นครั้งละ 30 นาที
แล้วปิ ดฝา และนาผ้าไนลอนและข้าวตอกไปชัง่ น้ าหนักและบัน ทึกผลการทดลอง
การทดลองที่ 5 ศึกษารู ปแบบของข้าวตอกบรรจุ ถุง (ผง,ดอก) ที่สามารถในการดูดกลิ่นได้ดี
วิธีการทดลอง
1. ชัง่ น้ าหนักพิมเสนถ้วยละ 5 กรัม 12 ถ้วย
2. นาข้าวตอกที่มปี ริ มาณดูด กลิ่นได้ดีที่สุด ของการทดลองที่ 1 มาชัง่ น้ าหนักใส่ลงในบีกเกอร์ 12
บีกเกอร์ บีกเกอร์ ที่ 7-12 ให้เป็ นผงแล้วนาไปบรรจุในกระดาษสาแบ็ คให้มรี ู ปร่างตามที่ ตอ้ งการ
3. นาพิมเสนและข้าวดอก 12 ชุด ที่เตรี ยมไว้ใส่ลงไว้ในกล่องพลาสติกใสจานวน 12 กล่อง แล้วปิ ดฝา
กล่องที่ 1-6 เป็ นดอก และกล่องที่ 7-12 เป็ นผง โดยกล่องที่ 1 ตั้งทิ้งไว้ 30 นาที กล่องที่2 ตั้งทิ้งไว้ 60 นาที
กล่องที่ 3 ตั้งทิ้งไว้ นาที กล่องที่ 4 ตั้งทิ้งไว้ 90 นาที กล่องที่ 5 ตั้งทิ้งไว้ 120 นาที กล่องที่ 6 ตั้งทิ้งไว้ 150
นาที กล่องที่ 7 ตั้งทิ้งไว้ 180 น กล่องที่ 8 ตั้งทิ้งไว้ 210 นาที กล่องที่ 9 ตั้งทิ้งไว้ 240 นาที กล่องที่ 10 ตั้งทิ้งไว้

-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เ ลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น้ า | 5
270 นาที กล่องที่ 11 ตั้งทิ้งไว้ 300 นาที กล่องที่ 12 ตั้งทิ้งไว้ 330 นาที หลังจากนั้นนาพิมเสนและข้าวตอก
ไปชัง่ น้ าหนักแล้วบันทึกผลการทดลอง

การทดลองที่ 6 ศึกษารู ปแบบของข้า วตอกบรรจุถุง(ผง, ดอก)ที่สามารถดูดความชื้นได้ดี


วิธีการทดลอง
1. ชัง่ น้ าหนักของข้าวตอก (ผง,ดอก)ให้ได้เท่ากับปริ มาณที่สามารถดูดความชื้นที่ดีที่สุดในการทดลองที่
3 ให้ได้ปริ มาณ 12 ชุดโดยชุดที่ 1-6 เป็ นดอก ส่วน 7-12
เป็ นผงโดยใส่ลงไปในกระดาษสาให้มรี ู ปร่างตามที่ ตอ้ งการ
2. นาผ้าไนลอนไปชุบน้ าให้มนี ้ าหนักที่เท่ากัน 12 ผืน ขนาด 40x40 เซนติเมตร
3.นาข้าวตอกที่เตรี ยมไว้แล้วที่มนี ้ าหนักเท่ากันตามลาดับใส่ลงไปในกล่องทั้ง12 กล่องโดยกล่องที่ 7-12
เป็ นผง แล้วนาผ้าที่ชบุ น้ าลงไว้ในกล่อง 12 กล่อง แล้วปิ ดฝาชัง่ น้ าหนักของผ้าและข้าวตอก
จากนั้นบันทึกผลการทดลอง

5. แผนกิจกรรม
แผนกิจกรรมเขียนเป็ นตารางได้ ดังนี้

วันที่ วิธีการดาเนินงาน
21 สารวจข้อมูล
23 ออกแบบการทดลอง
25 เตรี ยมอุปกรณ์การทดลอง ข้าวเหนี ยว กข6 นาไปคั่วให้ได้ 10
กิโลกรัม เตรี ยมพิมเสน กล่องพลาสติ กพร้อมฝา 12 กล่อง
ผ้าไนลอน 12 ผืนขนาด 40x40 เครื่ องชัง่
30 ทาการทดลอง และบันทึ กผลการทดลอง

31 สรุ ปผลการทดลองอภิปรายผลการทดลอง จัดทารู ปเล่ม

-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เ ลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น้ า | 6

แผนกิจกรรมเขียนเป็ นไดอะแกรมดังนี้

สังเกตการทดลอง

สารวจข้อมูล ออกแบบการทดลอง เตรียมอุปกรณ์ในการทด ทาการทดลอง สรุปผลการทดล


ลอง อง

21 23 25 30 31

2 วัน 2 วัน 35 วัน 1 วัน

วันที่ เริ่ มทดลองในตารางคื อ วันที่ 21 เดื อน พฤศจิ กายน พ.ศ 2557


และโครงงานนี้ สิ้นสุดการทดลองวันที่ 31 ธันวาคม พ. ศ 2557 และเขี ยนวิเคราะห์-
สังเคราะห์และเขี ยนรายงานใช้เวลา 40 วัน กาหนดเสร็จสมบู รณ์วนั ที่ 3 มกราคม พ.ศ 2558

-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เ ลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น้ า | 7

งบประมาณ
รายการ งบประมาณ

- ค่าวัสดุ
- ข้าวตอก
- พิมเสน
- ผ้าไนลอน 3000
- อื่นๆ
- ค่าใช้สอย
- ค่าเดินทาง
- ค่าถ่ายเอกสาร
2000
- ค่าวิทยากร
ยอดรวม 5000

เอกสารอ้ างอิง
1. สารดูดความชื้นจากข้า ว.(ออนไลน์ ) www.dede.go.th/bhrd/old สื บค้นเมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน
2557
2. ‘ ม สว ’วิ จั ย แ ป้ ง มั น เป็ น สารดู ด ความชื้ น ใ น อาห าร.(ออ น ไลน์ ) http://www.moe.go.th/
สื บค้นเมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2557
3. โครงงานดอกไม้อ บแห้ ง. เข้าถึ ง ได้ (ออนไลน์ ) http://mstflower.blogspot.com/ สื บค้นเมือ่ วัน ที่ 8
พฤศจิกายน 2557

6. การเรียนรู้

-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เ ลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ห น้ า | 8
การเรี ยนรู ้ ที่ไ ด้จากการศึก ษาค้นคว้า ไมว่ า่ จะเป็ น จากอิน เทอร์ เน็ ต จากผู ้รู้ หรื อจากอาจาร ย์ที่ปรึ ก ษาและพี่
เลี้ยง
- เกิดการเรี ยนรู ้
- เกิดความสามัคคี
- เกิดกระบวนการคิด การวิเคราะห์ และการปฏิบตั ิ จึงจะได้เค้าโครงงานออกมา

-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เ ลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

You might also like