You are on page 1of 11

The 22nd Annual Meeting in Mathematics (AMM 2017)

Department of Mathematics, Faculty of Science


Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand

การศึกษาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่ วมมือเทคนิค STAD
ธีรวัฒน์ แสงศรี †,‡ และ บรรทม สุระพร
ภาควิชาคณิ ตศาสตร์ สถิติและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

บทคัดย่ อ
การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์ เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ทักษะการแก้ปัญหาทาง
คณิ ตศาสตร์ และความพึงพอใจ ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยวิธีสอนการแก้ปัญหา
ทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD กับ วิธี
สอนแบบปกติ ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ของโรงเรี ยนศรี
แก้วประชาสรรค์ ปี การศึ กษา 2559 จํานวนนักเรี ยน 34 คน เครื่ องมื อในการวิจยั ประกอบด้ว ย
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ แบบทดสอบวัดพื้นฐานความรู ้ทางคณิ ตศาสตร์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
คือ ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ต ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ ยด้วยการทดสอบ
ที (t-independent samples test) ผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ องอัตราส่ วนตรี โกณมิติ ของนักเรี ยนที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยวิธี
สอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค
STAD สู งกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติ ที่ระดับนัยสําคัญ .05 และความพึงพอใจของนักเรี ยน
ที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยวิธีสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการ
จัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD เรื่ องอัตราส่ วนตรี โกณมิติ อยูใ่ นระดับพึงพอใจมากที่สุด
คําสํ าคัญ: การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยา การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD
2010 MSC: 97D40

1 บทนํา
การใช้วิธีจดั การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค STAD เป็ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ
ซึ่ งผูเ้ รี ยนได้ศึกษาเรี ยนรู ้เนื้ อหาในบทเรี ยนด้วยตนเองกับเพื่อนสมาชิ กในกลุ่ม มีการร่ วมกันแสดงความคิดเห็น
และช่ วยกันหาคําตอบของคําถามที่ ครู ผูส้ อนได้วางไว้ ทําให้ผูเ้ รี ยนแต่ ละคนมี ความเข้าใจเนื้ อหาและได้รับ
ความรู ้อย่างเท่าเทียมกันทุกคน ทั้งยังส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั ที่จะทํางานร่ วมกันกับผูอ้ ื่น มีปฏิสมั พันธ์ที่ดีกบั เพื่อน


ผูแ้ ต่งหลัก

ผูพ้ ูด
อีเมล: hs3roh@gmail.com , bunthom.s@ubu.ac.th.

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-1


ร่ วมห้องเมื่อถึงเวลาแยกย้ายทําแบบทดสอบเป็ นรายบุคคลก็สามารถทําคะแนนได้ดีข้ ึนกว่าเดิม นอกจากนี้ ผวู ้ ิจยั
ได้ศึ กษาวิ ธีการแก้ปั ญหาทางคณิ ต ศาสตร์ ซึ่ งถื อได้ว่ามี ค วามสําคัญ มากต่ อการจัด กิ จกรรมการเรี ย นรู ้ วิช า
คณิ ตศาสตร์ ดงั ในหลักสู ตรที่ ใช้ในปั จจุบนั คื อหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้
กํา หนดให้การแก้ปัญหาทางคณิ ต ศาสตร์ เป็ นมาตรฐานหนึ่ งในทักษะและกระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ ที่
นักเรี ย นทุ ก คนจะต้อ งเรี ย นรู ้ ฝึ กฝน และพัฒ นาให้เ กิ ด ขึ้ นกับตนเอง[1] ดังนั้น กระบวนการแก้ปั ญหาทาง
คณิ ตศาสตร์ จึงถือเป็ นองค์ประกอบสําคัญในการวัดระดับสติปัญญาด้านต่าง ๆ ของมนุษย์[9] ซึ่ งการแก้ปัญหา
ทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นกระบวนการที่ เกี่ ยวข้องกับความรู ้ ทักษะ และความสามารถหลากหลาย เช่ น ความรู ้ใน
เนื้อหา ความรู ้เกี่ยวกับขั้นตอนการทํางาน ความสามารถในการคิด ความสามารถในการประเมินการทํางานของ
ตนเอง ประสบการณ์ เจตคติ และความเชื่อของผูแ้ ก้ปัญหา[7] ผูว้ ิจยั จึงเห็นว่าการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้วิธีสอนการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD จะเป็ นวิธี
ที่ช่วยให้ผูเ้ รี ยนเกิดความรู ้และความเข้าใจเนื้ อหาเรื่ องอัตราส่ วนตรี โกณมิติได้ดีย่ิงขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
เปรี ยบเที ยบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ระหว่างนักเรี ยนที่ ได้รับการ
จัดการเรี ยนรู ้โดยวิธีสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบ
ร่ วมมือเทคนิค STAD กับ วิธีสอนแบบปกติ

2 การดําเนินการวิจยั
2.1 ประชากรและกลุ่มเป้ าหมายที่ใช้ ในการวิจัย

ประชากรและกลุ่มเป้ าหมาย ของการวิจยั ครั้ งนี้ เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 5 ภาคเรี ยนที่ 1
ปี การศึกษา 2559 โรงเรี ยนศรี แก้วประชาสรรค์ อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร จํานวน 34 คน โดยแบ่งออกเป็ น
2 กลุ่ มแบบคละความสามารถ เก่ ง ปานกลาง อ่ อน ให้มี ค วามสามารถใกล้เ คี ยงกันทั้ง 2 กลุ่ ม โดยใช้ผลจาก
การสอบวัดความรู ้พ้ืนฐานทางคณิ ตศาสตร์ ในการแบ่งกลุ่ม ซึ่ งสามารถแบ่งกลุ่มออกเป็ น กลุ่มทดลองจํานวน
15 คน และกลุ่มควบคุมจํานวน 19 คน

2.2 เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยั

ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ ิจยั ใช้เครื่ องมือในการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลจํานวน 2 ชนิด ดังนี้

2.2.1 เครื่ องมื อที่ใช้ ในการทดลอง ประกอบด้วยแผนการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้วิธีสอนการแก้


ปั ญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD และแผน
จัดการเรี ยนรู ้โดยใช้วิธีสอนแบบปกติ

2.2.2 เครื่ องมื อที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดพื้ นฐานความรู ้


ทางคณิ ตศาสตร์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยน เรื่ อง อัตราส่ วนตรี โกณมิติ แบบทดสอบ
วัด ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน เรื่ อ ง อัตราส่ วนตรี โ กณมิ ติ และแบบสอบถามความพึ งพอใจต่ อวิ ช า
คณิ ตศาสตร์ ที่ใช้วิธีสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบ
ร่ วมมือเทคนิค STAD เรื่ อง อัตราส่ วนตรี โกณมิติ

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-2


2.3 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูล

2.3.1 การเก็บรวบรวมข้ อมูล ผูว้ ิจยั ได้ทาํ การทดสอบวัดความรู ้พ้ื นฐานทางคณิ ตศาสตร์ กับ
กลุ่มเป้ าหมายจํานวน 34 คน ซึ่ งเป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่กาํ ลังศึกษาอยู่ในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา
2559 โรงเรี ยนศรี แก้ว ประชาสรรค์ จัง หวัด ยโสธร โดยให้ น ั ก เรี ยนทํา แบบทดสอบวัด ความรู ้ พ้ื น ฐานทาง
คณิ ตศาสตร์ ที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้น หลังจากนั้นนําผลคะแนนที่ได้มาเรี ยงลําดับคะแนนจากมากไปหาน้อย จะได้นกั เรี ยน
กลุ่มเรี ยนเก่ง 8 คน กลุ่มเรี ยนปานกลาง 18 คน และกลุ่มเรี ยนอ่อน 8 คน แล้วทําการจับสลากเพื่อแบ่งนักเรี ยน
กลุ่มเรี ยนเก่ง กลุ่มเรี ยนปานกลาง และกลุ่มเรี ยนอ่อน ออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทดลอง จํานวน 15 คน
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
กลุ่มเรี ยนเก่งได้แก่ นักเรี ยนที่สอบได้ลาํ ดับที่ 1, 3, 5, 8 กลุ่มเรี ยนปานกลางได้แก่นกั เรี ยนที่สอบได้ลาํ ดับที่ 14,
16, 17, 21, 22, 24, 26 และกลุ่มเรี ยนอ่อนได้แก่นก ั เรี ยนที่สอบได้ลาํ ดับที่ 28, 31, 32, 33 และกลุ่มควบคุม
จํานวน 19 คน ประกอบด้วย กลุ่มเรี ยนเก่งได้แก่นกั เรี ยนที่สอบได้ลาํ ดับที่ 2, 4, 6, 7 กลุ่มเรี ยนปานกลางได้แก่
นักเรี ยนที่สอบได้ลาํ ดับที่ 9, 10, 11, 12, 13, 15, 18, 19, 20, 23, 25 และกลุ่มเรี ยนอ่อนได้แก่นกั เรี ยนที่สอบได้
ลําดับที่ 27, 29, 30, 34 ผลจากการแบ่งนักเรี ยนออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จะได้นกั เรี ยน
ที่ มีระดับความรู ้พ้ื นฐานทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ใกล้เคี ยงกันทั้ง 2 กลุ่ม แล้วทําการทดสอบก่ อนเรี ยน ด้วย
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนฉบับเดียวกันทั้ง 2 กลุ่ม หลังจากนั้นจึงดําเนิ นการจัดกิจกรรม
การเรี ยนรู ้ให้กบั นักเรี ยนทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้เวลาในการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้จาํ นวน 10
ชัว่ โมง โดยกลุ่มควบคุมใช้วิธีการสอนแบบปกติ ดําเนิ นการสอนโดยผูช้ ่ วยผูว้ ิจยั ส่ วนกลุ่มทดลองใช้วิธีสอน
การแก้ปัญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ตามแนวคิ ด ของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ เทคนิ ค STAD
ดําเนิ นการสอนโดยผูว้ ิจยั แล้วทําการทดสอบหลังเรี ยนด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน
ฉบับเดี ยวกันทั้ง 2 กลุ่ม และให้กลุ่มทดลองตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ที่ใช้วิธี
สอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD
เมื่ อ สิ้ น สุ ด การทดลอง นํา ข้อ มู ล ที่ ไ ด้จ ากการทดลองไปวิ เ คราะห์ ท างสถิ ติ เ พื่ อ สรุ ป ผลการทดลองตาม
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ต่อไป

2.3.2 การวิเ คราะห์ ข้ อ มู ล ผูว้ ิ จัย ได้ด าํ เนิ นการวิ เ คราะห์ ข ้อมู ลเพื่ อเปรี ย บเที ย บผลสัม ฤทธิ์
ทางการเรี ยนหลังเรี ยนและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ องอัตราส่ วนตรี โกณมิติ ระหว่างนักเรี ยนที่
ได้รั บการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับ การจัดการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ
เทคนิ ค STAD กับ การสอนแบบปกติ โดยคํานวณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความ
แตกต่ างของค่าเฉลี่ ยด้วยการทดสอบค่าที และทําการวิเคราะห์ความพึ งพอใจจากการตอบแบบสอบถามของ
นักเรี ยนที่ ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้ แบบ
ร่ วมมือเทคนิ ค STAD เรื่ องอัตราส่ วนตรี โกณมิติ โดยคํานวณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และนําไปเทียบกับเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้

3 ผลการวิจยั
ผลการวิจยั ที่ได้มีดงั นี้

3.1 เปรี ยบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง อัตราส่ วน
ตรี โกณมิ ติ ระหว่างนักเรี ยนที่ ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ต ศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับ
การจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค STAD กับ การจัดการเรี ยนรู ้แบบปกติ ปรากฏผลดังตารางที่ 1

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-3


ตารางที่ 1 การเปรี ยบเที ยบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง อัตราส่ วน
ตรี โกณมิติ ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยา
ร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค STAD กับ การใช้วิธีสอนแบบปกติ

กลุ่มตัวอย่ าง n x SD t
กลุ่มควบคุม 19 25.2632 14.7190
2.1466*
กลุ่มทดลอง 15 35.0667 11.0030
*มีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 , t.05,32 = 1.6939

จากตารางที่ 1 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ องอัตราส่ วน
ตรี โกณมิติ ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของ
โพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD สู งกว่า นักเรี ยนที่ได้รับการสอนแบบปกติ อย่างมี
นัยสําคัญที่ระดับ .05

3.2 เปรียบเทียบทักษะการแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหา


ทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD กับ การสอนแบบ
ปกติ ปรากฏผลดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 การเปรี ยบเทียบทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหา


ทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD กับ การ
สอนแบบปกติ

กลุ่มตัวอย่ าง n x SD t
กลุ่มควบคุม 19 21.8947 13.9399
1.9712*
กลุ่มทดลอง 15 30.5333 10.8685
*มีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 , t.05,32 = 1.6939

จากตารางที่ 2 พบว่า ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหา


ทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD สู งกว่า การสอน
แบบปกติ อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ .05 และเมื่อศึกษาทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ในแต่ละด้าน คือ การ
ทําความเข้าใจปัญหา การวางแผนแก้ปัญหา การดําเนินการตามแผน และการตรวจสอบคําตอบ พบว่า

3.2.1 เปรี ยบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) ขั้นที่ 1 ทําความเข้ าใจ


ปัญหา ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการ
เรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค STAD กับ การสอนแบบปกติ ปรากฏผลดังตารางที่ 3

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-4


ตารางที่ 3 การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) ขั้นที่ 1 ทําความเข้าใจปั ญหา ระหว่าง
นักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือเทคนิค STAD กับ การสอนแบบปกติ

กลุ่มตัวอย่ าง n x SD t
กลุ่มควบคุม 19 3.3684 1.0116
2.1030*
กลุ่มทดลอง 15 3.9333 0.2582
*มีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 , t.05,32 = 1.6939

จากตารางที่ 3 พบว่า ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ข้ นั ที่ 1 ทําความเข้าใจปั ญหา ระหว่างนักเรี ยน


ที่ ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ
เทคนิค STAD สู งกว่า การสอนแบบปกติ อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ .05

3.2.2 เปรี ยบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ ปัญหา


ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือเทคนิค STAD กับ การสอนแบบปกติ ปรากฏผลดังตารางที่ 4

ตารางที่ 4 การเปรี ยบเที ยบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา ระหว่าง
นักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือเทคนิค STAD กับ การสอนแบบปกติ

กลุ่มตัวอย่ าง n x SD t
กลุ่มควบคุม 19 6.8947 4.0674
1.4751
กลุ่มทดลอง 15 8.7333 2.9147

จากตารางที่ 4 พบว่า ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ข้ นั ที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา ระหว่างนักเรี ยน


ที่ ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ
เทคนิค STAD กับ การสอนแบบปกติ ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสําคัญ .05

3.2.3 เปรี ยบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) ขั้นที่ 3 ดําเนินการตามแผน


ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือเทคนิค STAD กับ การสอนแบบปกติ ปรากฏผลดังตารางที่ 5

ตารางที่ 5 การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) ขั้นที่ 3 ดําเนิ นการตามแผน ระหว่าง
นักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือเทคนิค STAD กับ การสอนแบบปกติ

กลุ่มตัวอย่ าง n x SD t
กลุ่มควบคุม 19 7.2632 5.6159
1.6998*
กลุ่มทดลอง 15 10.3333 4.6853
*มีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 , t.05,32 = 1.6939

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-5


จากตารางที่ 5 พบว่า ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ข้ นั ที่ 3 ดําเนิ นการตามแผน ระหว่างนักเรี ยน
ที่ ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ
เทคนิค STAD สู งกว่า การสอนแบบปกติ อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ .05

3.2.4 เปรี ยบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคําตอบ


ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือเทคนิค STAD กับ การสอนแบบปกติ ปรากฏผลดังตารางที่ 6

ตารางที่ 6 การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน (Post–test) ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคําตอบ ระหว่าง


นักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือเทคนิค STAD กับ การสอนแบบปกติ

กลุ่มตัวอย่ าง n x SD t
กลุ่มควบคุม 19 4.3684 4.0029
2.4323*
กลุ่มทดลอง 15 7.5333 3.4407
*มีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 , t.05,32 = 1.6939

จากตารางที่ 6 พบว่า ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ข้ นั ที่ 4 ตรวจสอบคําตอบ ระหว่างนักเรี ยนที่


ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค
STAD สู งกว่า การสอนแบบปกติ อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ .05

3.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่ได้ รับการสอนการแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยา


ร่ วมกับการจัดการเรียนรู้ แบบร่ วมมือเทคนิค STAD ปรากฏผลดังตารางที่ 7

ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ ที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหา


ทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค STAD

ลําดับ
ความพึงพอใจ 𝐱� SD ระดับ
ที่
1. ข้าพเจ้าและเพื่อนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน 4.73 0.46 มากที่สุด 4
2. ข้าพเจ้าและเพื่อนๆ ยอมรับความสามารถซึ่ งกันและกัน 4.60 0.83 มากที่สุด 6
3. ข้าพเจ้าได้มีโอกาสอธิ บายและซักถามเพื่อนในกลุ่ม และทําให้ 4.53 0.64 มาก 7
เข้าใจมากขึ้น
4. เพื่อนในกลุ่มได้ช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน ทําให้เกิดความสามัคคี 4.93 0.26 มากที่สุด 1
5. ข้าพเจ้ามีความสุ ขในการเรี ยนและชอบทํากิจกรรมร่ วมกับผูอ ้ ื่น 4.73 0.46 มากที่สุด 4
6. ข้าพเจ้าได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและได้ปฏิบต ั ิดว้ ยตนเอง 4.73 0.46 มากที่สุด 4
7. การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD ทําให้เกิดความมัน ่ ใจ 4.67 0.49 มากที่สุด 5
ในตนเองและกล้าแสดงออกมากขึ้น
8. การเรี ยนรู ้เป็ นกลุ่มเล็กๆ แบบนี้ ทําให้ไม่อายที่จะซักถาม 4.73 0.59 มากที่สุด 4

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-6


ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ ที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหา
ทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค STAD (ต่อ)

ลําดับ
ความพึงพอใจ 𝐱� SD ระดับ
ที่
9.การเรี ยนรู ้เป็ นกลุ่มเล็ก ๆ แบบนี้ทาํ ให้ขา้ พเจ้าทําความเข้าใจโจทย์ 4.80 0.56 มากที่สุด 3
ได้ดีท้ งั จากการศึกษาด้วยตนเองและจากการอธิ บายของเพื่อน
ในกลุ่ม
10. ข้าพเจ้าและเพื่อนสมาชิ กในกลุ่มร่ วมกันศึกษาเงื่อนไขต่าง ๆ จน 2.87 0.35 มากที่สุด 8
สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ออกมาเป็ นรู ปภาพ หรื อประโยค
สัญลักษณ์ได้
11. เมื่อข้าพเจ้าสามารถคิดคํานวณเพื่อหาคําตอบจากความสัมพันธ์ 4.67 0.49 มากที่สุด 5
หรื อประโยคสัญลักษณ์ได้ดว้ ยตนเอง หรื อเพื่อนคอยช่วยอธิ บาย
ในบางส่ วน
12. เมื่อได้คาํ ตอบแล้ว ข้าพเจ้าจะพยายามตรวจคําตอบอีกครั้งเพื่อ 4.60 0.51 มากที่สุด 6
ความมัน่ ใจในคําตอบ
13. ข้าพเจ้าจดจําขั้นตอนการแก้ปัญหาทั้ง 4 ขั้นตอนได้ดี และจะ 4.73 0.46 มากที่สุด 4
พยายามจะแก้ปัญหานั้นด้วยตนเองก่อนที่จะให้เพื่อนช่วยเหลือ
14. ข้าพเจ้ากล้าที่จะคิดและพยายามทําตามขั้นตอนการแก้ปัญหา 4.87 0.35 มากที่สุด 2
4 ขั้นตอนในการทดสอบเป็ นรายบุคคลท้ายคาบ
15. ข้าพเจ้ามีความภูมิใจกับผลงานกลุ่ม (คะแนนความก้าวหน้า) 4.93 0.26 มากที่สุด 1
ระดับเฉลี่ยรวมทั้ง 15 ข้อ 4.61 0.68 มากที่สุด -

จากตารางที่ 7 พบว่า ความพึ งพอใจต่ อวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนนักเรี ยนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 5
ที่ ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ
เทคนิค STAD พบว่ามีค่าเฉลี่ยอยูท่ ี่ 4.71 ซึ่ งอยูใ่ นระดับ พึงพอใจมากที่สุด

4 สรุ ปผลการวิจยั
การวิจยั เรื่ อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของ
โพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค STAD ผูว้ ิจยั ได้สรุ ปผลของการวิจยั ในแต่ละประเด็น ดังนี้

4.1 ผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยน ผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน วิชา
คณิ ตศาสตร์เรื่ องอัตราส่ วนตรี โกณมิติ ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่ใช้วิธีสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์
ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD สู งกว่า การสอนแบบปกติ อย่างมี
นัยสําคัญที่ระดับ .05 สอดคล้องกับสมมติฐานในการวิจยั ที่ต้ งั ไว้ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของกลุ่มทดลองเท่ากับ
35.0667 ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานเท่ ากับ 11.0030 และค่ าเฉลี่ ย เลขคณิ ต ของกลุ่ มควบคุ มเท่ า กับ 25.2632 ส่ ว น
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 14.7190 เมื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของทั้งสองกลุ่มโดยใช้การ
ทดสอบที (t-test independent) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนของกลุ่มทดลองซึ่ งใช้วิธีสอนการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD สู งกว่า
กลุ่มควบคุมซึ่ งใช้วิธีสอนแบบปกติ อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ .05 การที่ผลการวิจยั เป็ นเช่นนี้ เพราะ วิธีสอนการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD ที่ผวู ้ ิจยั สร้าง

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-7


ขึ้น เป็ นวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ โดยเน้นกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิด
ของโพลยา ซึ่ งได้กาํ หนดกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ออกเป็ น 4 ขั้นตอน[10] ได้แก่ การทําความ
เข้าใจปัญหา การวางแผนแก้ปัญหา การดําเนินการตามแผน และการตรวจสอบคําตอบ ทําให้นกั เรี ยนเกิดทักษะ
การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ อย่างเป็ นระบบ นอกจากนี้ กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ ยังมีการเรี ยนรู ้ร่วมกันเป็ น
กลุ่มตามวิธีการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD ซึ่ งนอกจากจะเรี ยนรู ้จากครู ผสู ้ อนเป็ นผูส้ อนความรู ้
แล้ว ยังให้ผูเ้ รี ยนมีการทํางานร่ วมกัน และมีการเรี ยนรู ้ร่วมกันเป็ นกลุ่ม ซึ่ งการเรี ยนรู ้ร่วมกันเป็ นกลุ่มนี้ จะเป็ น
การสอนความรู ้และฝึ กทักษะการแก้ปัญหาระหว่างสมาชิ กในกลุ่มด้วยกันเองทําให้นกั เรี ยนที่ เรี ยนอ่อนจนถึง
เรี ยนปานกลางมี ความเข้าใจในเนื้ อหามากยิ่งขึ้ นซึ่ งจะส่ งผลให้มีคะแนนพัฒนาการของกลุ่มจากการสอบเป็ น
รายบุคคลเพิ่มขึ้ นอีกด้วย ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ สุ นิตย์ สัจจา[5] ได้เปรี ยบเที ยบความสามารถในการแก้
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบตามแนวคิดของโพลยาโดยการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือระหว่างก่อนเรี ยนและหลัง
เรี ยน พบว่า ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบตามแนวคิดของโพลยาโดยการเรี ยนรู ้แบบ
ร่ วมมือ หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจยั ของ บรรทม สุ ระ
พร[4] ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาสถิติเบื้ องต้นของนักศึ กษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่ลงทะเบี ยน
เรี ยนในรายวิชาสถิติเบื้องต้น ระหว่างนักศึกษาที่ได้รับการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้การจัดกลุ่มเรี ยนรู ้เป็ น
ทีมแบบ STAD เปรี ยบเทียบกับการเรี ยนแบบบรรยายปกติ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาสถิติเบื้องต้นของ
นักศึกษากลุ่มที่ ได้รับการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้การจัดกลุ่มเรี ยนรู ้เป็ นที มเทคนิ ค STAD สู งกว่ากลุ่มที่
ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้แบบบรรยายปกติ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจยั ของ เดือน
ฉาย จงสมชัย[2] ได้เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง สมการเชิ งเส้นตัวแปรเดียว ของ
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 1 ที่ ได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD กับการ
สอนแบบปกติ พบว่า นักเรี ยนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 1 ที่ ได้รับการสอนโดยใช้วิธีการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค
STAD มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ องสมการเชิ งเส้นตัวแปรเดี ยว สู งกว่านักเรี ยนที่ ได้รับการ
สอนแบบปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ .05 และสอดคล้องกับงานวิจยั ของ นาฟี สาห์ เจะและ[3] ได้
เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องหน้าที่พลเมือง ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ระหว่างการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD กับการเรี ยนรู ้แบบปกติ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องหน้าที่ พลเมืองของ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่เรี ยนรู ้ดว้ ยการจัดการเรี ยนแบบกลุ่มร่ วมมือเทคนิ ค STAD สู งกว่านักเรี ยนที่
เรี ยนรู ้แบบปกติ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

4.2 ทักษะการแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ผลการวิจยั พบว่า ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์


ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้
แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD สู งกว่า การสอนแบบปกติ อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ .05 ซึ่ งเป็ นไปตามสมมติ ฐาน
ที่ต้ งั ไว้ และเมื่อพิจารณาทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ท้ งั 4 ด้านอย่างละเอียด พบว่า ทักษะการแก้ปัญหา
ทางคณิ ต ศาสตร์ ข้ ัน ที่ 1 การทํา ความเข้า ใจปั ญ หา ระหว่ า งนัก เรี ยนที่ ไ ด้รั บ การสอนการแก้ปั ญ หาทาง
คณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD สู งกว่า การสอนแบบ
ปกติ อย่างมี นัย สําคัญที่ ร ะดับ .05 ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ต ศาสตร์ ข้ นั ที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา ระหว่า ง
นักเรี ยนที่ ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบ
ร่ วมมือเทคนิ ค STAD กับ การสอนแบบปกติ ไม่แตกต่างกันที่ ระดับนัยสําคัญ .05 ทักษะการแก้ปัญหาทาง
คณิ ตศาสตร์ ข้ นั ที่ 3 ดําเนิ นการตามแผน ระหว่างนักเรี ยนที่ ได้รับการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตาม
แนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมื อเทคนิ ค STAD สู งกว่า การสอนแบบปกติ อย่างมี
นัยสําคัญที่ระดับ .05 และทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ข้ นั ที่ 4 ตรวจสอบคําตอบ ระหว่างนักเรี ยนที่ได้รับ
การสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ เทคนิ ค
STAD สู งกว่า การสอนแบบปกติ อย่างมีนย ั สําคัญที่ระดับ .05 จากผลการวิจยั พบว่า ทักษะการแก้ปัญหาทาง
คณิ ตศาสตร์ โดยใช้วิธีสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบ
ร่ วมมือเทคนิ ค STAD สู งกว่า เทคนิ คการสอนแบบปกติ อย่างมีนยั สําคัญที่ .05 ทั้งนี้ เนื่ องจากการสอนทักษะ

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-8


การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ โดยวิธีสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิ ดของโพลยาร่ วมกับการ
จัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมื อเทคนิ ค STAD นั้นได้ฝึกให้นกั เรี ยนเขี ยนแสดงวิธีแก้โจทย์ปัญหาให้ชดั เจนทั้ง 4
ขั้นตอน ตั้งแต่เริ่ มต้นของการทําความเข้าใจปัญหา โดยให้ระบุส่วนสําคัญของปั ญหาและตัดสิ นว่าอะไรคือสิ่ งที่
โจทย์ตอ้ งการค้นหาโดยพิจารณาซํ้าไปซํ้ามา พิจารณาหลากหลายมุมมอง หรื อนักเรี ยนอาจใช้วิธีต่าง ๆ มาช่วย
ในการทําความเข้าใจปั ญหานั้น เช่น การเขี ยนภาพ การเขียนแผนภูมิ หรื อการเขียนสาระสําคัญของปั ญหาด้วย
ถ้อยคําของนักเรี ยนเอง หลังจากที่นกั เรี ยนทําความเข้าใจปัญหาแล้วผูว้ ิจยั ก็ให้นกั เรี ยนฝึ กในขั้นตอนที่ 2 คือ การ
วางแผนแก้ปัญหา โดยให้นกั เรี ยนค้นหาความเชื่ อมโยงหรื อความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลและตัวไม่รู้ค่า แล้วนํา
ความสัมพันธ์น้ ันมาผสมผสานกับประสบการณ์ ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เพื่ อกําหนดแผนการหรื อ
แนวทางในการแก้ปั ญ หาและเลื อ กยุ ทธวิ ธี ใ นการแก้ปั ญ หา ซึ่ งจะส่ ง ผลต่ อเนื่ อ งมายัง ขั้นที่ 3 ซึ่ งเป็ นขั้น
ดําเนิ นการตามแผนการที่ ได้วางไว้ โดยผูเ้ รี ยนจะลงมือปฏิ บตั ิ ตามแผนหรื อแนวทางที่ วางไว้โดยเริ่ มจากการ
ตรวจสอบความเป็ นไปได้ของแผน เพิ่มเติ มรายละเอียดของแผนให้ชดั เจนยิ่งขึ้ น แล้วลงมือปฏิ บตั ิ จนกระทัง่
สามารถหาคํา ตอบได้ ถ้า แผนหรื อ ยุท ธวิ ธีใ นการแก้ปัญ หาที่ เ ลื อ กไว้ไ ม่ ส ามารถใช้แ ก้ปัญ หาให้สํา เร็ จได้
นักเรี ยนก็จะต้องกลับไปในขั้นตอนที่สองเพื่อค้นหาแผนหรื อยุทธวิธีใหม่อีกครั้ง แต่ถา้ แผนการที่วางไว้สามารถ
แก้ปัญหาได้สาํ เร็ จ ผูว้ ิจยั ก็จะฝึ กให้ผเู ้ รี ยนทําขั้นที่ 4 คือขั้นตรวจสอบคําตอบหรื อการมองย้อนกลับไปยังคําตอบ
ที่ได้มา โดยเริ่ มจากการตรวจสอบความถูกต้อง ความสมเหตุสมผลของคําตอบ และยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหา
แล้วพิจารณาว่ามีแนวทาง มีคาํ ตอบ หรื อมียุทธวิธีอื่น ๆ ในการแก้ปัญหานี้ ได้อีกหรื อไม่ ซึ่ งจะเป็ นการฝึ กให้
นักเรี ยนเป็ นผูม้ ีความรอบคอบและมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในการวางแผนหาวิธีการใหม่ ๆ ในการแก้ปัญหา
ทางคณิ ตศาสตร์ต่อไป แต่สาํ หรับวิธีการสอนแบบปกติน้ นั ในขั้นตอนที่ 1 นักเรี ยนจะไม่ได้รับการฝึ กให้แสดง
พฤติกรรมการทําความเข้าใจปั ญหาออกมา แต่จะฝึ กให้นกั เรี ยนแสดงพฤติกรรมออกมาในขั้นตอนที่ 2 คือ การ
วางแผนแก้ปัญหาโดยการเขี ย นโจทย์ปัญหานั้นออกมาเป็ นประโยคสัญลักษณ์ ซึ่ งผูว้ ิ จัย พบว่า ทักษะการ
แก้ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ข้ ันที่ 2 วางแผนแก้ปัญ หา ระหว่า งนัก เรี ย นที่ ไ ด้รั บ การสอนการแก้ปัญ หาทาง
คณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD กับ การสอนแบบปกติ
ไม่แตกต่างกันที่ ระดับนัยสําคัญ .05 และผูว้ ิจยั ยังค้นพบอีกว่า การสอนแบบปกติน้ นั ส่ วนใหญ่นกั เรี ยนจะไม่
แสดงพฤติกรรมในการตรวจคําตอบหรื อการมองย้อนกลับออกมา ซึ่ งพบว่า กลุ่มควบคุมมีนกั เรี ยนที่ ไม่ได้ทาํ
การสอบตรวจคําตอบจํานวน 4 คน แต่ กลุ่มทดลองนั้นนักเรี ยนได้แสดงพฤติ กรรมในด้านการตรวจคําตอบ
ออกมาทุกคนซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ อัจฉราภรณ์ บุญจริ ง[6] ได้ศึกษาทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์
ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่เรี ยนโดยใช้ข้ นั ตอนการแก้ปัญหาของโพลยา พบว่า ทักษะการแก้ปัญหาทาง
คณิ ตศาสตร์ในขั้น ทําความเข้าใจปัญหาได้มากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ 91.48 รองลงมาคือขั้นวางแผนการแก้ปัญหา
คิดเป็ นร้อยละ 75.56 และขั้นที่ ได้คะแนนน้อยที่ สุด คื อขั้นตรวจสอบหรื อมองย้อนกลับ คิ ดเป็ นร้อยละ 58.89
และเมื่ อ พิ จารณาการสอนแบบปกติ ซ่ ึ ง เป็ นการสอนโดยให้ผูเ้ รี ย นแสดงวิ ธี ทาํ โดยไม่ ไ ด้แ ยกขั้น ตอนการ
แก้ปัญหาไว้อย่างชัดเจน ทําให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดความสับสนในการทําความเข้าใจโจทย์ และจะส่ งผลให้มีการวางแผน
การแก้โจทย์ปัญหานั้นผิดพลาดไปด้วย ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ สุ โกริ ยนั โต, โตโต้, สุ บนั จิ และทีเจง[11]
ได้ทาํ การศึกษาเพื่อค้นหาความผิดพลาดจากการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ องวิธีเรี ยงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่
โดยใช้ข้ นั ตอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของโพลยาในการตรวจสอบ พบว่า ความสามารถในการวางแผน
แก้ปั ญ หาอยู่ ใ นระดับ ตํ่า และความสามารถในการมองย้อ นกลับ เพื่ อ ตรวจสอบคํา ตอบก็ อ ยู่ ใ นระดับ ตํ่า
สอดคล้องกับงานวิจยั ของ เอ็ดชานู อินแอม[8] ได้ศึกษาการแก้ปัญหาทางเรขาคณิ ตแบบยูคลิดตามแนวคิดของ
โพลยา ของนักศึ กษาที่ เรี ยนคณิ ตศาสตร์ ภาคเรี ยนที่ 2 มหาวิทยาลัยมูฮามมาดิ ยาธมาลาง ประเทศอินโดนี เซี ย
ประจําปี การศึกษา 2012/2013 โดยศึกษาจากวิธีทาํ ในกระดาษคําตอบของนักศึกษาโดยใช้แนวทางการวิเคราะห์
ตามขั้นตอนของโพลยา ผลการศึกษาพบว่า การทําความเข้าใจปั ญหาของนักศึกษาส่ วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี การ
วางแผนในการแก้ปัญหาและการดําเนินการตามแผนของนักศึกษาส่ วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี แต่การมองย้อนกลับ
ของนักศึกษาส่ วนใหญ่ไม่ได้ทาํ การตรวจสอบคําตอบใด ๆ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ สุ นิตย์ สัจจา[5] ได้พฒั นา
กิจกรรมการเรี ยนรู ้การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การบวกและการลบตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการ
จัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนบ้านโนนเกษตร จังหวัด

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-9


มหาสารคาม จํานวน 12 คน พบว่า ทักษะการแก้ปัญหาเรื่ องการบวกและการลบตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับ
การจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิค STAD หลังเรี ยน สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4.3 ความพึ ง พอใจต่ อ วิ ธี ก ารสอนการแก้ ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ต ามแนวคิ ด ของโพลยาร่ ว มกั บ
การจัดการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือเทคนิค STAD จากการวิจยั พบว่า ความพึงพอใจที่มีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ ที่ใช้วิธี
สอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยาร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือเทคนิ ค STAD
ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 พบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.61 ซึ่ งอยู่ในระดับ พึงพอใจมากที่สุด และเมื่อพิจารณา
เป็ นรายข้อคําถามพบว่า ข้อที่ได้ค่าเฉลี่ยมากที่สุดคิดเป็ น 4.93 มี 2 ข้อ คือ ข้อที่ 4 (เพื่อนในกลุ่มได้ช่วยเหลือซึ่ งกัน
และกันทําให้เกิ ดความสามัคคี ) และข้อที่ 15 (ข้าพเจ้ามีความภูมิใจกับผลงานกลุ่ม (คะแนนความก้าวหน้า)) ข้อ
คําถามที่ได้ค่าเฉลี่ยรองลงมาเป็ นอันดับที่ 2 คือข้อที่ 14 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.87 (ข้าพเจ้ากล้าที่จะคิดและพยายาม
ทําตามขั้นตอนการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอนในการทดสอบเป็ นรายบุ คคลท้ายคาบ) และข้อคําถามที่ ได้ค่าเฉลี่ ย
รองลงมาเป็ นอันดับที่ 3 คือข้อที่ 9 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 (การเรี ยนรู ้เป็ นกลุ่มเล็ก ๆ แบบนี้ ทาํ ให้ขา้ พเจ้าทําความ
เข้าใจโจทย์ได้ดีท้ งั จากการศึกษาด้วยตนเองและจากการอธิ บายของเพื่อนในกลุ่ม) จากการตอบคําถามความพึง
พอใจของนักเรี ยนจะพบว่า หลังจากขั้นตอนการสอนโดยครู แล้ว นักเรี ยนมี ความพึ งพอใจมากที่ จะทํางาน
ร่ วมกันเป็ นกลุ่ม เรี ยนรู ้ร่วมกัน กล้าที่จะคิด กล้าที่จะถาม จนทําให้ผลงานกลุ่ม (คะแนนความก้าวหน้า) ออกมา
เป็ นที่น่าพอใจ

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั ฉบับนี้ สาํ เร็ จลุล่วงด้วยดี เนื่ องจากความเมตตากรุ ณาและความช่วยเหลืออย่างดียิ่ง


จาก ผศ.ดร.บรรทม สุ ระพร อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ ที่ให้คาํ ปรึ กษา คําแนะนําที่เป็ นประโยชน์และมีคุณค่า
ช่วยให้งานวิจยั สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ผูว้ ิจยั รู ้สึกซาบซึ้ งและขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งไว้ ณ โอกาสนี้

เอกสารอ้างอิง
[1] กระทรวงศึกษาธิ การ. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุ งเทพมหานคร:
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. (2551), น. 13
[2] เดือนฉาย จงสมชัย. การพัฒนากิจกรรมการเรี ยนรู้ โดยใช้ วิธีการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือตามเทคนิ ค STAD
เรื่ อง สมการเชิ งเส้ นตัวแปรเดียว กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 (วิทยานิพนธ์
ปริ ญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 2554.
[3] นาฟี สาห์ เจะและ. ผลของการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือที่มตี ่ อผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องหน้ าที่พลเมือง
ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 (วิทยานิพนธ์ ปริ ญญามหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลา
นคริ นทร์ . 2554.
[4] บรรทม สุ ระพร. ผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนในวิชาสถิติเบือ้ งต้ นและความพึงพอใจของผู้เรี ยน เมื่อใช้ การจัด
กลุ่มเรี ยนรู้ เป็ นทีมเทคนิค STAD. วารสารวิทยาศาสตร์ มข., 43(3), (2558), น. 552-563
[5] สุ นิตย์ สัจจา. การพัฒนากิจกรรมการเรี ยนรู้ การแก้ โจทย์ ปัญหาการบวกและการลบ ตามแนวคิ ดของ
โพลยาโดยการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนบ้ านโนนเกษตร
สํานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 (วิทยานิพนธ์ ปริ ญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม:
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 2554.
[6] อัจฉราภรณ์ บุญจริ ง. การพัฒนากิจกรรมการเรี ยนรู้ ที่เน้ นทักษะการแก้ ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยน
ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้ ขั้นตอนการแก้ ปัญหาของ Polya (วิทยานิพนธ์ ปริ ญญามหาบัณฑิต). ขอนแก่น:
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2552.
[7] อัมพร ม้าคะนอง. ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ :การพัฒนาเพื่อพัฒนาการ (พิมพ์ ครั้ งที่ 2).
กรุ งเทพฯ: ศูนย์ตาํ ราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2553), น. 39.

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-10


[8] I. Akhsanul. The Implementation of the Polya Method in Solving Euclidean Geometry
Problems, Journal of International Education Studies, 7(7), pp. 149-158. Retrieved June 27,
2014, from http://dx.doi.org/10.5539/ies.v7n7p149
[9] Maker and Wallace. Thinking Skills and Problem-Solving. New York: David Fulton. 2004.
[10] G. Polya. How to Solve It: A New Aspect of Mathematical Method. New Jersey: Princeton
University Press. (1957), pp. 5-36.
[11] Sukoriyanto, N. Toto, Subanji, and D. C. Tjang. Students’ Errors in Solving the
Permutation and Combination Problems Based on Problem Solving Steps of Polya. Journal of
International Education Studies, 9(2), pp. 11-16. Retrieved January 25, 2016, from
http://dx.doi.org/10.5539/ies.v9n2p11

Proceedings of AMM 2017 EDM-09-11

You might also like