You are on page 1of 15

The 22nd Annual Meeting in Mathematics (AMM 2017)

Department of Mathematics, Faculty of Science


Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand

การจัดการเรียนรู้ สําหรับการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
เรื่ อง การประยุกต์ อนุพนั ธ์ โดยใช้ กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา
กษิตธร ขวัญละมูล วราภรณ์ จาตนิล และ ธารี รัตน์ ธนัตถ์พาณิ ชย์
1 2 3

ภาควิชาคณิ ตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี


126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุ งเทพมหานคร 10140

บทคัดย่ อ
การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนาการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักศึกษาทั้งทางด้าน
ทักษะการเชื่ อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ งและทักษะการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุ พนั ธ์ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าธนบุรี ที่ ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยา
รวมถึ งศึ กษาพฤติ กรรมในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ที่ส่งผลให้นักศึ กษามี พฒั นาการในการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ในการจัดการเรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์น้ ี นักศึกษาจะได้เรี ยนรู ้กระบวนการ
แก้ปัญหาและกลยุทธ์ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่ งคําตอบที่ถูกต้องพร้อมทั้ง
คําอธิ บายที่ชดั เจน รวมไปถึ งนักศึกษายังได้มีโอกาสเผชิ ญกับปั ญหาในชี วิตจริ งแล้วลงมื อฝึ กฝน
พร้อมกับเพิ่มเติมประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ดว้ ยตนเอง นอกจากนี้ นกั ศึกษายัง
ได้มีส่วนร่ วมในการลงมือแก้ปัญหาเป็ นกลุ่ม ตลอดจนมีส่วนร่ วมในการอภิปรายและนําเสนอผล
การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ใ นชั้นเรี ย น กลุ่ ม ตัว อย่างที่ ใ ช้ใ นการวิจ ัย ในครั้ งนี้ เป็ นนัก ศึ ก ษา
มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้า ธนบุ รี ที่ ไ ด้ล งทะเบี ย นเรี ย นในรายวิ ช า MTH 101
MATHEMATICS I ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 ซึ่ งเป็ นนักศึกษาอาสาสมัครจํานวน 30 คน
ผลการวิจยั พบว่า แผนการจัดการเรี ยนรู ้มีประสิ ทธิ ภาพ 62.22/74.39 และจากการเปรี ยบเทียบผล
คะแนนของแบบทดสอบก่ อ น-หลังเรี ยนของนักศึ กษา เรื่ อง การประยุก ต์อนุ พนั ธ์ ที่ ไ ด้รับการ
จัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยา พบว่า นักศึ กษามี ทกั ษะการ
เชื่อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์จากปัญหาในชีวิตจริ งและทักษะการแก้ปัญหาทาง
คณิ ตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
คําสํ าคัญ: กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา, ทักษะการเชื่ อมโยงทางคณิ ตศาสตร์ ,
ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์, การประยุกต์อนุพนั ธ์
1
นักศึกษาหลักสู ตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2, 3
อาจารย์ประจําภาควิชาคณิ ตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
อีเมล: sicstsaint@gmail.com, waraporn.chat@kmutt.ac.th, tareerat@yahoo.com.

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-1


1 บทนํา
ในชี วิตประจําวันทุกคนต้องเผชิ ญกับสิ่ งต่าง ๆ มากมายแล้วสิ่ งที่ ตอ้ งเผชิ ญอยู่เป็ นประจํา คื อ การแก้ปัญหาที่
เกิดขึ้นในชี วิตจริ ง เช่น ปั ญหาการเรี ยน ปั ญหาการทํางาน ปั ญหาการสื่ อสาร ปั ญหาการเงิ น เป็ นต้น ซึ่ งปั ญหา
เหล่านั้นมีท้ งั ปั ญหาที่ แก้ได้โดยง่ายโดยอาศัยความรู ้หรื อประสบการณ์เดิ มที่ มีอยู่ และปั ญหาที่ มีความยุ่งยาก
ซับซ้อนที่ไม่สามารถแก้ปัญหานั้นได้ในทันที ต้องอาศัยความรู ้ทกั ษะและกระบวนการ รวมถึงกลยุทธ์ต่าง ๆ ใน
การแก้ปัญหา หากบุคคลนั้นมีความรู ้และประสบการณ์มากเพียงพอ ก็จะสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ออกมาได้เป็ น
อย่างดี ดังนั้นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติพุทธศักราช 2542 จึงให้ความสําคัญกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้น
การประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการแก้ปัญหา [1] และเพื่อให้การจัดการเรี ยนรู ้มีประสิ ทธิ ผลตามเป้ าหมายของ
พระราชบัญญัติการศึ กษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542 หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 จึงได้กาํ หนดให้ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นสาระการเรี ยนรู ้หนึ่ งที่ นก ั เรี ยนทุกคนจะต้อง
เรี ยนรู ้
การจัดการเรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์ให้มีคุณภาพนั้นจึงจําเป็ นต้องเน้นการพัฒนาความสามารถของนักเรี ยนในการ
แก้โจทย์ปัญหา ซึ่ งการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ (Mathematical Problem Solving) เป็ นความสามารถหนึ่ งใน
ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ที่ผเู ้ รี ยนควรจะเรี ยนรู ้ ฝึ กฝน และพัฒนาให้เกิดทักษะขึ้นในตัวนักเรี ยน
เพราะการเรี ย นการแก้ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ จ ะช่ ว ยให้นัก เรี ย นมี แ นวทางการคิ ด ที่ ห ลากหลาย มี นิ สั ย
กระตือรื อร้น ไม่ย่อท้อ และมีความมัน่ ใจในการแก้ปัญหาที่เผชิ ญอยู่ท้ งั ภายในและภายนอกห้องเรี ยน ตลอดจน
เป็ นทัก ษะพื้ นฐานที่ นัก เรี ย นสามารถนํา ติ ด ตัวไปใช้ในการแก้ปั ญหาในชี วิ ต ประจํา วันได้นานตลอดชี วิ ต
นอกจากนี้ สภาครู คณิ ตศาสตร์ ของสหรัฐอเมริ กา (National Council of Teachers of Mathematics [NCTM])
ซึ่ งเป็ นองค์กรสําคัญที่มีบทบาทอย่างมากต่อการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ ระดับโรงเรี ยนทั้งในสหรัฐอเมริ กา
และทัว่ โลก ได้กล่าวไว้ในหนังสื อประจําปี ค.ศ. 1980: การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ในระดับโรงเรี ยน [2] ว่า
“การแก้ปัญหาต้องเป็ นจุดเน้นที่สาํ คัญของการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์” พร้อมทั้งเสนอแนวคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับ
การเรี ยนการสอนการแก้ปัญหาในคณิ ตศาสตร์ระดับโรงเรี ยน
การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยน จะประสบความสําเร็ จหรื อไม่น้ นั กระบวนการ
แก้ปัญหาถือว่าเป็ นสิ่ งสําคัญสําหรับการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ซึ่ งในปั จจุบนั ก็เป็ นปั ญหาอย่างมากทั้งใน
ระดับเตรี ยมอุดมศึกษา และในระดับอุดมศึกษา เพราะมีนกั เรี ยนจํานวนไม่นอ้ ยที่เข้าใจในปั ญหา และสามารถ
หาคําตอบของปั ญหานั้นออกมาได้ แต่ไม่สามารถเขียนอธิ บายออกมาเป็ นขั้นเป็ นตอนได้อย่างถูกต้อง [3] และ
จากปั ญหาที่ได้พบจากในระดับเตรี ยมอุดมศึ กษาที่ ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ก็ส่งผลในระยะยาวกับตัวผูเ้ รี ยนจน
มาถึงในระดับอุดมศึกษา ซึ่ งเป็ นที่น่ากังวลอย่างมากสําหรับความรู ้ที่ได้รับมาจากระดับเตรี ยมอุดมศึกษา เพราะ
เนื้อหาที่สอนในระดับมหาวิทยาลัย ก็เป็ นเนื้ อหาที่ต่อยอดมาจากระดับเตรี ยมอุดมศึกษาทั้งสิ้ น แต่ก็ไม่สามารถ
ทําให้ผูเ้ รี ยนทําคะแนนได้ดีเท่าที่ควร และที่น่าหนักใจเป็ นอย่างยิ่ง คือผูเ้ รี ยนไม่สามารถเขียนแสดงวิธีทาํ หรื อ
วิธีคิดออกมาได้อย่างเป็ นขั้นเป็ นตอน ดังนั้นเพื่อให้ผูเ้ รี ยนเข้าใจในปั ญหา และสามารถเขียนแสดงวิธีคิดออกมา
เป็ นขั้น เป็ นตอนได้อ ย่ า งถู ก ต้อ ง ผู ้ส อนจึ ง ควรฝึ กฝนให้ ผู เ้ รี ยนเข้า ใจกระบวนการในการแก้ปั ญ หาทาง
คณิ ตศาสตร์ต้ งั แต่ในระดับเตรี ยมอุดมศึกษา เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดกระบวนการคิดและสามารถแสดงแนวคิดออกมา
ได้อย่างเป็ นขั้นเป็ นตอน อีกทั้งยังส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนมีความสุ ขในการเรี ยน และไม่ทาํ ให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดปั ญหาในการ
เรี ยนในระดับอุดมศึกษาหรื อระดับมหาวิทยาลัยอีกด้วย สําหรับกระบวนการแก้ปัญหาที่ยอมรับและนํามาใช้กนั
อย่างแพร่ หลาย ได้แก่ กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา [4] ซึ่ งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่
1 ทําความเข้ าใจปัญหาทางคณิตศาสตร์ ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ขั้นที่ 3 ดําเนินการตามแผน
และ ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผล
จากความสําคัญดังกล่าวจึ งเป็ นแนวคิ ดที่ ได้นาํ มาศึ กษา ปั ญหาการเรี ยนการสอนของนักศึ กษามหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ที่ได้ลงทะเบียนเรี ยนในรายวิชา MTH101 MATHEMATICS I ซึ่ งเรื่ องที่เป็ น
ปั ญหาในการเรี ยนการสอนมากที่ สุด คื อ การแก้โจทย์ปัญหา โดยในการแก้โ จทย์ปั ญหาต้องใช้ทกั ษะและ

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-2


กระบวนการหลายขั้นตอนในการแก้ปัญหา และแต่ละขั้นตอนก็มีความสําคัญ จะขาดขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ งไป
ไม่ได้ จากคะแนนสอบที่ผา่ นมาในแต่ละปี ผูว้ ิจยั พบว่า นักศึกษาจํานวนมากไม่สามารถแสดงวิธีทาํ หรื อแนวคิด
ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ออกมาได้ หรื อถ้าทําได้ก็ไม่สามารถเขี ยนหรื อแสดงวิธีทาํ ออกมาเป็ นขั้นเป็ น
ตอนได้อย่างถูกต้อง และยิ่งไปกว่านั้น คือนักศึกษาไม่เขียนหรื อแสดงแนวคิดจากโจทย์ปัญหาออกมาเลย ซึ่ งทํา
ให้เ ป็ นปั ญ หาอย่า งมากในการเรี ย นการสอน ผูว้ ิ จัย ได้พ ยายามหาข้อ บกพร่ อง สอบถามจากนักศึ กษาเป็ น
รายบุคคลเกี่ ยวกับปั ญหาในการเรี ยนการสอน พบว่านักศึ กษาส่ วนใหญ่จะตอบว่า ไม่เข้าใจเรื่ องโจทย์ปัญหา
บางคนไม่ทราบว่าจะนําความรู ้ที่มีอยู่มาใช้ได้อย่างไร บางคนเข้าใจในเนื้ อหาแต่ไม่สามารถเขี ยนแสดงวิธีคิด
เพื่อหาคําตอบของปัญหาได้ ที่หนักไปกว่านั้น คือไม่เข้าใจ และปิ ดกั้นในวิชาที่เกี่ยวกับการคํานวณ และจากการ
สอบถามอาจารย์ผูส้ อนแต่ละท่าน ซึ่ งอาจารย์ทุกท่านตอบเป็ นเสี ยงเดี ยวกันว่า นักศึ กษาส่ วนใหญ่มกั จะข้าม
หรื อไม่ทาํ ข้อสอบในส่ วนของโจทย์ปัญหา และมีบางส่ วนที่สามารถทําได้แต่ข้ นั ตอนการเขียนหรื อแสดงวิธีทาํ
ยังไม่เป็ นขั้นเป็ นตอนเท่าที่ควร ด้วยเหตุผลนี้ ผูว้ ิจยั คิดว่า ควรหาวิธีการสอนที่ทาํ ให้นกั ศึกษานําความรู ้ที่มีอยู่มา
ใช้ในการแก้ปั ญ หา/สถานการณ์ ท างคณิ ต ศาสตร์ ไ ด้ ตลอดจนนักศึ ก ษาเกิ ด การใฝ่ เรี ย นใฝ่ รู ้ จ นในที่ สุ ด มี
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในระดับที่ น่าพอใจ และไม่มีปัญหาในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ อีกต่อไป
ผูว้ ิจัยจึ งได้ส นใจสร้ า งแผนการจัดการเรี ยนรู ้ เ พื่ อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ท้ ัง
ทางด้านทักษะการเชื่ อมโยงในการสร้ างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ ง และทักษะการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ที่ ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยา แล้วศึ กษาผลของการจัดการ
เรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์ ที่ผูว้ ิจยั สร้ างขึ้ นในด้านความสามารถ พฤติ กรรม ผลคะแนนก่อน-หลังเรี ยน และการ
ประเมินสภาพจริ งในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักศึ กษา ซึ่ งการจัดการเรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์ น้ ี เป็ น
ส่ วนหนึ่ งที่ มุ่งพัฒนาให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดความรู ้ ความเข้าใจในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตลอดจนทักษะและ
กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถวิเคราะห์แก้ปัญหาหรื อสถานการณ์ที่ตอ้ งเผชิ ญอยู่ในชี วิต
จริ งได้ รวมทั้งสามารถดําเนินการพัฒนาการเรี ยนการสอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ต่อไป

1.1 วัตถุประสงค์ ของการวิจยั


1. เพื่อสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การประยุกต์อนุ พน
ั ธ์ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ด
ของโพลยา
2. เพื่อเปรี ยบเทียบทักษะการเชื่ อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ งของ
นักศึกษาก่อนและหลังได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา
3. เพื่อเปรี ยบเทียบทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักศึกษาก่อนและหลังได้รับการจัดการเรี ยนรู ้
โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา

1.2 สมมติฐานในการวิจยั
1. แผนการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา
มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ 60/60
2. นักศึ กษาที่ ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยา มี ทกั ษะการ
เชื่อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์จากปัญหาในชีวิตจริ งเพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ
0.01
3. นักศึ กษาที่ ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยา มี ทก
ั ษะการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-3


1.3 ขอบเขตของการวิจยั
1.3.1 ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้เป็ น นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ที่ได้ลงทะเบียนเรี ยน
ในรายวิชา MTH101 MATHEMATICS I
1.3.2 กลุ่มตัวอย่ าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ น นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ที่ได้ระดับผลการ
เรี ยน F หรื อผ่านการถอนรายวิชามาก่อน และได้ลงทะเบียนเรี ยนในรายวิชา MTH101 MATHEMATICS I
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 ซึ่ งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จํานวน 30 คน
1.3.3 เนื้อหาทีใ่ ช้ ในการวิจัย
เนื้ อหาที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของเนื้ อหาในรายวิชา MTH101 MATHEMATICS I ตามหลักสู ตร
ของภาควิชาคณิ ตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เรื่ อง การประยุกต์
อนุพนั ธ์ ซึ่ งประกอบไปด้วยหัวข้อย่อยสําหรับการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ดงั ต่อไปนี้
1) อัตราสัมพัทธ์
2) ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด

2 ความรู้พืน้ ฐานและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง


การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ถือว่าเป็ นทักษะและกระบวนการอย่างหนึ่ งทางคณิ ตศาสตร์ ดังนั้นจึ งควรให้
ผูเ้ รี ยนเห็นความสําคัญและเข้าใจถึงขั้นตอน/กระบวนการในการแก้ปัญหา สําหรั บกระบวนการแก้ปัญหาที่
ยอมรับและนํามาใช้กนั อย่างแพร่ หลาย ได้แก่ กระบวนการแก้ ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา [4]

2.1 กระบวนการแก้ ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา


ขั้นที่ 1 ทําความเข้ าใจปัญหาทางคณิตศาสตร์ ขั้นตอนนี้ เป็ นขั้นตอนแรกในการวิเคราะห์ประเด็นของปั ญหาว่า
โจทย์ตอ้ งการทราบอะไร โจทย์ให้ขอ้ มูลอะไรมาบ้าง นักเรี ยนต้องอ่าน ทําความเข้าใจ และพิจารณาโจทย์ปัญหา
เพื่ อสามารถระบุ ส่ วนสํา คัญของปั ญหา ได้แ ก่ ตัวไม่ทราบค่ า ข้อมูลและเงื่ อนไข โดยขั้นตอนนี้ ครู ผูส้ อนมี
บทบาทสําคัญเป็ นอย่างมาก เพราะครู ตอ้ งทําหน้าที่ต้ งั คําถามนํา เพื่อให้นกั เรี ยนได้เข้าใจในโจทย์ขอ้ นั้น ๆ ได้
อย่างถูกต้อง ซึ่ งในการอ่าน และทําความเข้าใจในปัญหา นักเรี ยนต้องพิจารณาส่ วนสําคัญของปั ญหาอย่างถี่ถว้ น
พิจารณาซํ้าไปซํ้ามา พิจารณาหลากหลายมุมมอง หรื ออาจใช้วิธีต่าง ๆ ช่วยในการทําความเข้าใจในปั ญหา เช่น
การเขียนภาพ การเขียนแผนภูมิ หรื อการเขียนสาระของปัญหาด้วยถ้อยคําของตนเอง
ขั้ นที่ 2 วางแผนแก้ ปั ญ หาทางคณิ ตศาสตร์ ขั้นตอนนี้ เ ป็ นขั้นตอนที่ ให้นักเรี ย นค้นหาความเชื่ อมโยงหรื อ
ความสัมพันธ์ ที่ เ กี่ ย วข้องระหว่า งข้อมู ล กับสิ่ งที่ ต ้องการทราบ แล้ว นํา ความสั มพัน ธ์ น้ ันมาผสมผสานกับ
ประสบการณ์ ในการแก้ปัญหา เพื่ อกํา หนดแนวทาง หรื อแผนในการแก้ปัญหา และท้ายสุ ดเลื อก กลยุทธ์ /
ยุทธวิธี ที่จะนํามาใช้ในการแก้ปัญหา ซึ่ งขั้นตอนนี้ ครู ผูส้ อนควรจะแสดงบทบาทไปพร้อม ๆ กับนักเรี ยน โดย
การร่ วมกันวางแผนแก้ปัญหา เป็ นการฝึ กให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ยทุ ธวิธีของการแก้ปัญหาที่หลากหลาย
ขั้นที่ 3 ดําเนินการตามแผน ขั้นตอนนี้ ตอ้ งการให้นกั เรี ยนลงมือปฏิบตั ิตามแนวทางหรื อแผนที่วางไว้ในขั้นที่ 2
โดยเริ่ มจากการตรวจสอบความเป็ นไปได้ของแผน เพิ่มเติ มรายละเอี ยดต่ างๆของแผนให้ชัดเจน แล้วลงมื อ
ปฏิบตั ิจนกระทัง่ สามารถหาคําตอบได้ โดยนักเรี ยนจําเป็ นต้องมีทกั ษะในการคิดคํานวณ เช่น การบวก การลบ

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-4


การคูณ การหาร เป็ นต้น ถ้าแผน หรื อกลยุทธ์ที่เลือกไว้ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ นักเรี ยนต้องค้นหาแผน หรื อ
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาใหม่อีกครั้ง ถือว่าเป็ นการพัฒนาผูแ้ ก้ปัญหาที่ดีดว้ ยเช่นกัน
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผล ขั้นตอนนี้ ตอ้ งการให้นกั เรี ยนตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้จากการแก้ปัญหาว่าถูกต้องหรื อไม่
โดยการมองย้อนกกลับไปยังคําตอบที่ ได้มา โดยเริ่ มจากการตรวจสอบความถูกต้อง ความสมเหตุสมผลของ
คําตอบ และกลยุทธ์ในการแก้ปัญหาที่ ใช้ แล้วพิจารณาว่ามีคาํ ตอบ หรื อกลยุทธ์แก้ปัญหาอย่างอื่นอีกหรื อไม่
สําหรับนักเรี ยนที่คาดเดาคําตอบก่อนลงมือปฏิบตั ิ ก็สามารถเปรี ยบเทียบ หรื อตรวจสอบความสมเหตุสมผลของ
คําตอบที่คาดเดา และคําตอบจริ งในขั้นตอนนี้ได้
จากกระบวนการแก้ปั ญหาข้างต้น ผูว้ ิ จยั ขอสรุ ปว่า การแก้ปัญหาแต่ ละปั ญหาทางคณิ ต ศาสตร์ จะต้องผ่า น
กระบวนการ 4 ขั้นตอนของโพลยา คือ ขั้นทําความเข้าใจปั ญหาทางคณิ ตศาสตร์ ขั้นวางแผนการแก้ปัญหาทาง
คณิ ตศาสตร์ ขั้นดําเนิ นการตามแผน และขั้นตรวจสอบผล โดยให้นกั ศึกษาได้เรี ยนรู ้จากการจัดการเรี ยนรู ้ทาง
คณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์

2.2 กลยุทธ์ ในการแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์


กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ถือว่าเป็ นหัวใจสําคัญของนักแก้ปัญหาทุกคน นักแก้ปัญหาส่ วนใหญ่จะ
มีกลยุทธ์ในการแก้ปัญหาที่แตกต่างกันออกไป เมื่อถึงเวลาที่พวกเขาต้องเผชิ ญหน้ากับปั ญหา พวกเขาสามารถ
นําออกมาใช้ได้ในทันที ทนั ใด ดังนั้นนักศึ กษาจึ งควรฝึ กฝนและเรี ยนรู ้เกี่ยวกับกลยุทธ์ต่าง ๆในการแก้ปัญหา
เพื่อจะได้เป็ นพื้นฐานในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาต่อไป Billstein et al. [5] ได้เสนอกลยุทธ์ใน
การแก้ปัญหาที่ เป็ นเครื่ องมื อสํา คัญ และสามารถนํา มาใช้ในการแก้ปัญหาได้ดีที่พบบ่ อยในคณิ ตศาสตร์ ไ ว้
ดังต่อไปนี้ 1) การค้นหาแบบรู ป 2) การสร้างตาราง 3) การเขียนภาพหรื อแผนภาพ 4) การแจกแจงกรณี ที่
เป็ นไปได้ท้ งั หมด 5) การคาดเดาและตรวจสอบ 6) การเขียนสมการ 7) การคิดแบบย้อนกลับ 8) การเปลี่ยน
มุมมอง 9) การแบ่งเป็ นปัญหาย่อย 10) การให้เหตุผลทางตรรกศาสตร์ 11) การให้เหตุผลทางอ้อม
สําหรับงานวิจยั นี้ ผูว้ ิจยั เห็นว่า กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาเป็ นเครื่ องมือที่สาํ คัญที่จะนําไปใช้ในการแก้ปัญหา ซึ่ งมี
หลายกลยุทธ์ดงั ที่ได้กล่าวมาข้างต้น ซึ่ งแต่ละกลยุทธ์ก็ข้ ึนอยู่กบั ลักษณะของโจทย์ปัญหาว่ามีลกั ษณะใด จะใช้
กลยุท ธ์ แ บบใดในการแก้ปัญหา บางปั ญหาอาจใช้ไ ด้มากกว่า หนึ่ งกลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ ใ นการแก้ปัญหาที่
นักศึกษาสามารถนํามาใช้ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ ได้อย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพ ได้แก่ การค้นหาแบบรู ป การสร้างตาราง การเขียนภาพหรื อแผนภาพ การคาดเดาและตรวจสอบ
การแบ่งปัญหาย่อย และการเขียนสมการ

2.3 การประเมินผลการเรียนรู้
ในการประเมินผลการเรี ยนรู ้สําหรับการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นขั้นตอนหนึ่ งของการจัดการเรี ยนรู ้ที่ทาํ
ให้ผสู ้ อนทราบว่า นักศึกษาได้เรี ยนรู ้และบรรลุตามจุดประสงค์มากน้อยเพียงใด และถือว่าเป็ นสิ่ งสําคัญที่ผสู ้ อน
ทุกคนต้องทราบว่าแต่ละการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักศึกษาจะมีข้ นั ตอนการประเมินผลอย่างไร ไม่ใช่
เพียงแค่ดูผลลัพธ์ของนักศึกษาเพียงเท่านั้น แต่ยงั ต้องคํานึงถึงกระบวนการคิด/ขั้นตอนการคิดในแต่ละขั้นตอนที่
นักศึ กษาได้ทาํ มาด้วย โดย ชาร์ ลส์ เลสเตอร์ และโอดาฟเฟอร์ [6] ได้เสนอแนวทาง/วิธีการประเมินผลการ
แก้ปัญหาไว้ 4 ประการ ได้แก่ 1) การสังเกตและการใช้คาํ ถาม (Observing and Questioning) 2) การใช้ขอ้ มูล
การวัดผลของนักศึกษา (Using Self-Assessment Data from Students) 3) การให้คะแนนแบบรู บริ ก (Rubric
Scoring) และ 4) การใช้แบบทดสอบ (Using Tests)
สําหรับในงานวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ใช้การให้คะแนนแบบวิเคราะห์ (Analytic Scoring) ซึ่ งเป็ นการให้คะแนนแบบ
หนึ่งของการให้คะแนนแบบรู บริ ก เพื่อประเมินทักษะการเชื่อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จาก
ปัญหาในชีวิตจริ งและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ในการทําความเข้าใจปั ญหาทางคณิ ตศาสตร์ กลยุทธ์
ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ และการค้นหาคําตอบที่ถูกต้องพร้อมทั้งคําอธิ บายที่ชดั เจนของนักศึกษาก่อน
และหลังได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-5


และใช้แ บบตรวจสอบรายการ (Checklist) ซึ่ งเป็ นแบบหนึ่ งของการสังเกตและการใช้ค าํ ถาม เพื่ อสังเกต
พฤติกรรมในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ของนักศึกษา

2.4 งานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง


คาริ น่า และ เจคอบ [7] ได้ทาํ การศึ กษาผลกระทบของกระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยา โดยมี
แบบฟอร์มการเขียนสําหรับการแก้ปัญหาของนักเรี ยน ซึ่ งมีนกั เรี ยนที่เป็ นอาสาสมัครชาวแอฟริ กนั -อเมริ กนั เข้า
ร่ วมทั้งหมด 7 คน โดยลงทะเบียนเรี ยนในช่วงภาคฤดูร้อนของโรงเรี ยนประถมศึกษา (อายุ 5 - 11 ปี ) แห่ งหนึ่ ง
ในแถบตะวันออกเฉี ยงใต้ของประเทศอเมริ กาก่อนที่ จะขึ้ นระดับชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 4 ผลการวิจยั พบว่า
นักเรี ยนเหล่านั้นสามารถแสดงความคิ ดของพวกเขา และเขี ยนออกมาได้ผ่านแบบฟอร์ มการเขี ยนของการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ซึ่ งแบบฟอร์ มการเขียนนี้ อาจจะเป็ นประโยชน์ในการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาทาง
คณิ ตศาสตร์ของพวกเขาต่อไป
รุ่ งฟ้ า จันท์ จารุ ภรณ์ [8] ได้วิจยั เกี่ยวกับการพัฒนาโปรแกรมการเรี ยนการสอนการแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาศักยภาพ
ในการแก้ปัญหาทางคณิ ต ศาสตร์ และความเชื่ อที่ เ กี่ ย วข้องกับการแก้ปั ญหาของนักศึ กษาครู ค ณิ ต ศาสตร์
ผลการวิจยั พบว่า คะแนนมัธยฐานในด้านศักยภาพในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ของกลุ่มทดลองสู งกว่าคะแนน
มัธยฐานของกลุ่มควบคุมอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ คะแนนมัธยฐานในด้านความเชื่ อที่เหมาะสมเกี่ ยวข้องกับ
การแก้ปัญหาของกลุ่มทดลองไม่สูงกว่าคะแนนมัธยฐานของกลุ่มควบคุมอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ
ชญาภา ใจโปร่ ง [9] ได้สร้ า งกิ จกรรมการเรี ย นการสอนคณิ ตศาสตร์ ที่เ ลื อกใช้กลยุทธ์ในการแก้ปั ญหาที่
หลากหลาย เรื่ อง ฟั งก์ชนั สําหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 4 แล้วศึกษาความสามารถและพฤติกรรมในการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ผ่านกิ จกรรมการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ ที่สร้างขึ้น ผลการวิจยั พบว่า นักเรี ยนที่
เรี ยนด้วยกิจกรรมการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ที่เลือกใช้กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาที่หลากหลาย เรื่ อง ฟั งก์ชนั มี
ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง ฟั งก์ชนั มากกว่าร้อยละ 60 ของจํานวนนักเรี ยนทั้งหมด ที่
ระดับนัยสําคัญ .05

3 วิธีการดําเนินงานวิจยั
3.1 แนวทางในการจัดการเรียนรู้ ทางคณิตศาสตร์
เพื่ อศึ กษาทักษะการเชื่ อมโยงในการสร้ างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ งและทักษะการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ รวมถึงพฤติกรรมในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักศึ กษาที่ได้รับการจัดการ
เรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยาผูว้ ิจยั ได้แบ่งการจัดการเรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์ น้ ี
ออกเป็ น 4 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 (คาบเรี ยนที่ 1), ช่วงที่ 2 (คาบเรี ยนที่ 2 - 6), ช่วงที่ 3 (คาบเรี ยนที่ 7 - 11) และ
ช่วงที่ 4 (คาบเรี ยนที่ 12) โดยแต่ละช่วงมีรายละเอียดการจัดการเรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์ดงั ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ประมวลการจัดการเรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์

คาบที่ รายละเอียดการเรียนการสอน หมายเหตุ


ทดสอบก่ อนเรียน เรื่ อง การประยุกต์ อนุพนั ธ์
1 แนะนําวิธีการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์
ทําความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยน

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-6


ตารางที่ 1 ประมวลการจัดการเรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ (ต่อ)

คาบที่ รายละเอียดการเรียนการสอน หมายเหตุ


การประยุกต์ อนุพนั ธ์ เรื่ อง อัตราสั มพัทธ์

2–3
สอน เรื่ อง อัตราสัมพัทธ์ + สร้างสถานการณ์จาํ ลอง (กลุ่ม)
โจทย์ปัญหา เรื่ อง อัตราสัมพัทธ์ 1 (นํ้ามันปาล์ม)
นําเสนอแนวคิดของปัญหาหน้าชั้นเรี ยน (สุ่ ม)
ทบทวนความรู ้ เรื่ อง อัตราสัมพัทธ์ + สร้างสถานการณ์จาํ ลอง
4–5 โจทย์ปัญหา เรื่ อง อัตราสัมพัทธ์ 2 (นาฬิกาทราย) (กลุ่ม)

นําเสนอแนวคิดของปัญหาหน้าชั้นเรี ยน (สุ่ ม)
ทบทวนความรู ้ เรื่ อง อัตราสัมพัทธ์ + เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
6 โจทย์ปัญหา เรื่ อง อัตราสัมพัทธ์ 3 (สิ นค้าในโกดัง) (เดี่ยว)

สอบย่ อย ครั้งที่ 1 (การประยุกต์อนุพนั ธ์ เรื่ อง อัตราสัมพัทธ์)


การประยุกต์ อนุพนั ธ์ เรื่ อง ค่ าสู งสุ ดและค่ าตํา่ สุ ด

7–8
สอน เรื่ อง ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุด + สร้างสถานการณ์จาํ ลอง (กลุ่ม)
โจทย์ปัญหา เรื่ อง ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด 1 (ช่วยแม่ที)
นําเสนอแนวคิดของปัญหาหน้าชั้นเรี ยน (สุ่ ม)
ทบทวนความรู ้ เรื่ อง ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด + สร้างสถานการณ์จาํ ลอง
9 – 10 โจทย์ปัญหา เรื่ อง ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด 2 (สร้างอย่างไร...ให้ถูกที่สุด) (กลุ่ม)

นําเสนอแนวคิดของปัญหาหน้าชั้นเรี ยน (สุ่ ม)
ทบทวนความรู ้ เรื่ อง ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด + เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
11 โจทย์ปัญหา เรื่ อง ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด 3 (โปรโมชัน่ ทัวร์) (เดี่ยว)

สอบย่ อย ครั้งที่ 2 (การประยุกต์อนุพนั ธ์ เรื่ อง ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด)


ทบทวนความรู ้ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์
12 ทบทวนกระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา
ทดสอบหลังเรียน เรื่ อง การประยุกต์ อนุพนั ธ์

3.2 การสร้ างเครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยั


เครื่ องมือที่ ใช้ในการวิจยั ครั้ งนี้ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ 1) เครื่ องมือสําหรับการจัดการเรี ยนรู ้ทาง
คณิ ตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา 2) เครื่ องมือสําหรับการวัดผลและประเมินผล
การจัดการเรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-7


3.2.1 เครื่ องมือสํ าหรับการจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
เครื่ องมือที่ ใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยา เรื่ อง
การประยุกต์อนุ พนั ธ์ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรี ยนรู ้ จํานวน 6 แผน 12 คาบ ซึ่ งแต่ละแผนประกอบด้วย
จุ ดประสงค์การเรี ยนรู ้ สาระการเรี ย นรู ้ สื่ อการเรี ยนรู ้ /แหล่งการเรี ย นรู ้ กิ จกรรมการเรี ย นรู ้ การวัดผลและ
ประเมินผลการเรี ยนรู ้ โดยในการดําเนิ นการแต่ละแผน ใช้เวลา 1-2 คาบ คาบละ 50 นาที เนื้ อหาที่ใช้เป็ นส่ วน
หนึ่ งของรายวิชา MTH101 MATHEMATICS I เรื่ อง การประยุกต์อนุ พนั ธ์ ตามหลักสู ตรของภาควิชา
คณิ ตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
3.2.2 เครื่ องมือสํ าหรับการวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
ในการวิจยั ครั้งนี้ เครื่ องมือสําหรับการวัดผลและประเมินผล ประกอบด้วย 1) แบบทดสอบก่อน – หลังเรี ยนใน
การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ 2) แบบทดสอบย่อยระหว่างการจัดการเรี ยนรู ้ และ 3)
แบบสังเกตพฤติกรรมในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ ซึ่ งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1) แบบทดสอบก่ อน – หลังเรี ยนในการแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์ อนุพนั ธ์


แบบทดสอบก่ อน-หลังเรี ยนในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุ พนั ธ์ เป็ นแบบทดสอบ
อัตนัยที่ ผูว้ ิจยั ได้สร้ างขึ้ น เพื่อใช้ตรวจสอบทักษะการเชื่ อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จาก
ปัญหาในชีวิตจริ งและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ ของนักศึกษาที่ได้รับการ
จัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา ซึ่ งประกอบด้วย ปั ญหาจํานวน 2 ข้อ (ก่อน
เรี ยน 2 ข้อ หลังเรี ยน 2 ข้อ) ที่เกี่ยวข้องกับอัตราสัมพัทธ์ และ ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด โดยใช้ความรู ้เรื่ อง อนุพนั ธ์
มาช่วยในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ซึ่ งแต่ละข้อมีคะแนนข้อละ 15 คะแนน โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนแบบ
วิเคราะห์ ทั้งเรื่ อง อัตราสัมพัทธ์ และ ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด

2) แบบทดสอบย่ อยระหว่ างการจัดการเรี ยนรู้


แบบทดสอบย่อยระหว่างการจัดการเรี ยนรู ้ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุ พนั ธ์ เป็ น
แบบทดสอบอัต นัย ที่ ผูว้ ิ จัย ได้ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อใช้ต รวจสอบทักษะการเชื่ อมโยงในการสร้ า งแบบจํา ลองทาง
คณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ งและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุ พนั ธ์ ของ
นักศึ กษาที่ ไ ด้รั บการจัด การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้กระบวนการแก้ปัญ หาตามแนวคิ ด ของโพลยา ซึ่ งประกอบด้วย
แบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่ อง อัตราสัมพัทธ์ และ แบบทดสอบย่อยครั้งที่ 2 เรื่ อง ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด โดยใช้
ความรู ้เรื่ อง อนุพนั ธ์ มาช่วยในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ซึ่ งแต่ละข้อมีคะแนนข้อละ 15 คะแนน โดยมี
เกณฑ์การให้คะแนนแบบวิเคราะห์ ทั้งเรื่ อง อัตราสัมพัทธ์ และค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด

3) แบบสั งเกตพฤติกรรมในการแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่ อง การประยุกต์ อนุพนั ธ์


แบบสังเกตพฤติกรรมในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ เป็ นแบบบันทึกที่ผวู ้ ิจยั สร้าง
ขึ้น เพื่อใช้ในการบันทึ กพฤติ กรรมในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักศึ กษา เรื่ อง การประยุกต์อนุ พนั ธ์
ขณะลงมือแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์

3.3 คุณภาพของเครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยั


3.3.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้นได้รับการประเมินจากผูเ้ ชี่ ยวชาญจํานวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความตรง
ของเนื้ อหา และความเหมาะสมของการจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้ระดับการประเมินของผูเ้ ชี่ ยวชาญเป็ นแบบมาตร
ส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามวิธีของไลเคิร์ท (Likert) แล้วนําคะแนนระดับการประเมินของ

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-8


ผูเ้ ชี่ ยวชาญมาหาคะแนนเฉลี่ยรายบุคคล และคะแนนเฉลี่ยรวม พบว่า แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้น มี
คะแนนเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.40 คะแนน ซึ่ งมีเกณฑ์ความเหมาะสมในการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์
ที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา อยูใ่ นระดับ มาก
3.3.2 คุณภาพของแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
แบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนที่ผวู ้ ิจยั ได้สร้างขึ้นได้รับการประเมินจากผูเ้ ชี่ ยวชาญจํานวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบ
ความถูกต้องและความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ตามรายการ
ประเมินที่ระบุไว้ในแบบประเมินความสอดคล้องของแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยน โดยให้ระดับการประเมิน
ของผูเ้ ชี่ยวชาญ คือ -1, 0, +1 แล้วนําคะแนนที่ได้มาหาค่าดัชนีความสอดคล้องจากสู ตรความตรงเชิ งเนื้ อหา ผล
การวิเคราะห์ พบว่า แบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยน มีค่าความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนกับ
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้เท่ากับ 1 จํานวน 20 ข้อ และมีค่าความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนกับ
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ เฉลี่ยรวมเท่ากับ 1 นัน่ คือ แน่ใจว่าแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนสอดคล้องกับจุดประสงค์
การเรี ยนรู ้

4 ผลการศึกษา
ผูว้ ิ จัย ได้ท าํ การเก็บรวบรวมข้อมู ลแล้วนํา มาวิ เ คราะห์ ท้ งั เชิ งปริ มาณและเชิ งคุ ณ ภาพ โดยนํา เสนอผลการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้

4.1 การหาประสิ ทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้


ประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ (E /E ) ที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้ นหาได้จากประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการ
1 2

เรี ยนรู ้ระหว่างการจัดการเรี ยนรู ้ซ่ ึ งอยูใ่ นรู ปค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนจากการทําแบบทดสอบย่อย ครั้งที่ 1 เรื่ อง
อัตราสัมพัทธ์ และ แบบทดสอบย่อยครั้งที่ 2 เรื่ อง ค่าสู งสุ ดและค่าตํ่าสุ ด(E ) และประสิ ทธิ ภาพของแผนการ
1

จัดการเรี ยนรู ้หลังจากการจัดการเรี ยนรู ้ซ่ ึ งอยูใ่ นรู ปค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนจากการทําแบบทดสอบหลังเรี ยน


เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ (E ) โดยผลการวิเคราะห์แสดงดังตารางที่ 2
2

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์หาประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้

จํานวน คะแนน คะแนน ประสิ ทธิภาพ (E)


รายการ
นักศึกษา เต็ม รวม E1 (%) E2 (%)

ระหว่ างการจัดการเรียนรู้
แบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 30 15 202.5

แบบทดสอบย่อยครั้งที่ 2 30 15 357.5 62.22

รวม 30 560

หลังการจัดการเรียนรู้
แบบทดสอบหลังเรี ยน 30 30 669.5 74.39

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-9


จากตารางที่ 2 พบว่า ประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ระหว่างการจัดการเรี ยนรู ้ (E ) คิ ดเป็ นร้อยละ
1

62.22 ส่ วนประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้หลังจากการจัดการเรี ยนรู ้ (E ) คิ ดเป็ นร้อยละ 74.39 จะเห็น
2

ว่าประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้สูงกว่าเกณฑ์ (60/60) ที่ต้ งั ไว้

4.2 ทักษะการเชื่ อมโยงในการสร้ างแบบจําลองทางคณิตศาสตร์ และทักษะการแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์


ในการวิเคราะห์คะแนนจากแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนของนักศึ กษา เรื่ อง การประยุกต์อนุ พนั ธ์ ที่ได้รับการ
จัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยา ผูว้ ิจยั ได้นาํ ผลคะแนนแบบทดสอบก่อน-
หลังเรี ยนของนักศึกษามาทําการวิเคราะห์โดยใช้การทดสอบสมมติฐานการวิจยั ด้วยสถิติ T-test มีลาํ ดับขั้นตอน
การวิเคราะห์ดงั นี้
4.2.1 การทดสอบการแจกแจงปกติของแบบทดสอบก่ อน-หลังเรียน
สําหรับการวิเคราะห์คะแนนจากแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนโดยใช้การทดสอบสมมติ ฐานการวิจยั ด้วยสถิ ติ
T-test ข้อมูลที่ นาํ มาวิเคราะห์จะต้องเป็ นข้อมูลที่ มีการแจกแจงปกติ ดังนั้นผูว้ ิจยั จึ งได้นาํ คะแนนแบบทดสอบ
ก่อนเรี ยน และ แบบทดสอบหลังเรี ยนมาทําการทดสอบการแจกแจงปกติ ของข้อมูลด้วยโปรแกรมสําเร็ จรู ป
MINITAB ภายใต้สมมติ ฐานที่ ว่าผลคะแนนแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนของนักศึ กษากลุ่มตัวอย่างมีการแจก
แจงปกติ ผลการทดสอบพบว่า P-Value เท่ากับ 0.02 และ 0.011 ซึ่ งมากกว่าระดับนัยสําคัญ (α = 0.01) จึ ง
สามารถสรุ ปได้ว่า คะแนนแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนของนักศึ กษากลุ่มตัวอย่างมีการแจกแจงปกติ ดังนั้นจึ ง
สามารถนําคะแนนแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนมาทําการวิเคราะห์ดว้ ยการทดสอบสมมติฐานการวิจยั ด้วยสถิติ
T-test ได้

4.2.2 การทดสอบสมมติฐาน
ในการทดสอบสมมติ ฐานการวิจยั ที่ ว่า นักศึ กษาที่ ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตาม
แนวคิดของโพลยา มีทกั ษะการเชื่ อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ งเพิ่มขึ้น
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ
ที่ระดับ 0.01 ผูว้ ิจยั ได้ทดสอบสมมติฐานการวิจยั ด้วยโปรแกรมสําเร็ จรู ป SPSS โดยใช้คาํ สั่ง Paired Sample
T-test ภายใต้สมมติฐานทางสถิติ ที่วา่ H : 𝜇1 = 𝜇2 , H : 𝜇1 < 𝜇2
0 1

โดยที่ 𝜇1 แทน คะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาก่อนเรี ยน


𝜇2 แทน คะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาหลังเรี ยน
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจยั ในแต่ละด้าน แสดงดังตารางที่ 3 และ ตารางที่ 4

ตารางที่ 3 ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจยั ด้านทักษะการเชื่อมโยงในการสร้างแบบจําลองทาง


คณิ ตศาสตร์จากปัญหาในชีวิตจริ ง

จํานวน คะแนน Sig.


ผลการทดสอบ 𝝁𝟏 𝝁𝟐 �
𝑿 S.D. t
(n) เต็ม (2 tailed)

คะแนนหลังเรี ยน -
30 10 1.97 8.28 6.32 2.36 14.65 0.000
คะแนนก่อนเรี ยน

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-10


ตารางที่ 4 ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจยั ด้านทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์

จํานวน คะแนน Sig.


ผลการทดสอบ 𝝁𝟏 𝝁𝟐 �
𝑿 S.D. t
(n) เต็ม (2 tailed)

คะแนนหลังเรี ยน -
30 30 2 22.32 2.08 4.32 26.40 0.000
คะแนนก่อนเรี ยน

จากตารางที่ 3 และตารางที่ 4 พบว่า ผลการวิเคราะห์คะแนนแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนของนักศึกษา เรื่ อง การ


ประยุกต์อนุพนั ธ์ ที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา แสดงให้เห็นว่า
นักศึ กษามีทกั ษะการเชื่ อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ ง และทักษะการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

4.3 พฤติกรรมในการแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์


ในการศึ กษาพฤติ กรรมการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์อนุ พนั ธ์ ของนักศึ กษามหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยา
เพื่อสังเกตการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ และวิเคราะห์ผลการเขี ยนของนักศึ กษาในแต่ละคาบของการจัดการ
เรี ยนรู ้แล้วนํามาพัฒนาการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ท้ งั ทางด้านทักษะการเชื่อมโยงในการสร้างแบบจําลองทาง
คณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ งและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ โดยมีแบบสังเกตพฤติ กรรมการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
สํา หรั บ พฤติ ก รรมการแก้ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อง การประยุ ก ต์อ นุ พ ันธ์ ของนัก ศึ ก ษามหาวิ ทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ผูว้ ิจยั พิจารณาความสามารถและนําเสนอผลการวิเคราะห์ทางด้าน 1) การทํา
ความเข้า ใจปั ญหาทางคณิ ต ศาสตร์ 2) การเลื อกใช้กลยุทธ์ ใ นการแก้ปั ญหาทางคณิ ต ศาสตร์ 3) การสร้ า ง
แบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ ง และ 4) การค้นหาคําตอบที่ ถูกต้องพร้ อมทั้งคําอธิ บายที่
ชัดเจน ของนักศึกษาที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 30 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้
4.3.1 ด้ านการทําความเข้ าใจปัญหาทางคณิตศาสตร์
นักศึ กษามีพฤติ กรรมการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ดา้ นการทําความเข้าใจปั ญหาทางคณิ ตศาสตร์ 2 ลักษณะ
ได้แก่
1) นักศึกษาให้ ความสํ าคัญในการทําความเข้ าใจปัญหาทางคณิตศาสตร์ มากขึน ้
ในช่ วงแรกของการจัดการเรี ยนรู ้ นักศึ กษาส่ วนใหญ่ให้ความสําคัญในการอ่านทําความเข้าใจและวิเคราะห์
สถานการณ์ ปั ญ หาน้อ ยมากหรื อพออ่ า นจบแล้ว ไม่ ท ํา การคิ ด ต่ อ ว่ า สถานการณ์ เ ป็ นอย่ า งไร โดยไม่ ใ ห้
ความสําคัญกับการทําความเข้าใจข้อมูลและเงื่อนไขที่สําคัญจากสถานการณ์ปัญหาก่อนลงมือแก้ปัญหา ทําให้
ไม่สามารถแก้ปัญหาได้สําเร็ จตามที่ สถานการณ์ปัญหาต้องการ ในช่ วงต่อมานักศึ กษาเริ่ มเข้าใจกระบวนการ
จัดการเรี ยนรู ้มากขึ้น มีประสบการณ์ในการทําความเข้าใจปั ญหาและแก้ปัญหามากขึ้น นักศึกษาส่ วนใหญ่จึงให้
ความสําคัญในการทําความเข้าใจปั ญหามากขึ้น โดยอ่านสถานการณ์ปัญหาด้วยความตั้งใจและวิเคราะห์ปัญหา
เพื่ อ ค้น หาสิ่ ง ที่ ส ถานการณ์ ปั ญ หาต้อ งการให้ห า สิ่ ง ที่ ส ถานการณ์ ก ํา หนดมาให้แ ละเงื่ อนไขต่ า ง ๆ ของ
สถานการณ์ปัญหา พร้อมทั้งระบุสญ ั ลักษณ์แทนข้อความจากสถานการณ์ปัญหานั้น

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-11


2) นักศึกษาแสดงร่ องรอยการขีดเขียนมากขึน
้ ในขณะทําความเข้ าใจปัญหาทางคณิตศาสตร์
ในช่ วงแรกของการจัดการเรี ยนรู ้ นักศึ กษาจํานวนน้อยที่ ขีดเส้นใต้หรื อขี ดล้อมรอบข้อความในสถานการณ์
ปั ญหาขณะทําความเข้าใจปั ญหา ซึ่ งเป็ นข้อความที่ เป็ นสาระสําคัญและไม่เป็ นสาระสําคัญของสถานการณ์
ปัญหา เมื่อนักศึกษาได้ทาํ การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์มากขึ้นในช่วงต่อมาทําให้นกั ศึกษาเห็นความสําคัญของ
การทําความเข้าใจปัญหาจึงส่ งผลทําให้นกั ศึกษามีการแสดงร่ องรอยของการขีดเขียนจากสถานการณ์ปัญหามาก
ขึ้นในขณะที่นกั ศึกษาทําความเข้าใจปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ก่อนที่จะทําการลงมือแก้ปัญหาในขั้นตอนต่อไป
4.3.2 ด้ านการเลือกใช้ กลยุทธ์ ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
กลยุทธ์ที่นกั ศึกษาใช้ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์มากที่สุด คือ การเขียนสมการ รองลงมา คือ การเขียนภาพ
หรื อแผนภาพ, การแบ่งเป็ นปั ญหาย่อย, การคาดเดาและตรวจสอบ และ การค้นหาแบบรู ป ตามลําดับ กลยุทธ์ที่
นักศึ กษาใช้ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ นอ้ ยที่สุด คื อ การสร้างตาราง นอกจากนั้น จากการวิเคราะห์งาน
เขียนของนักศึกษาจากการทําแบบทดสอบหลังเรี ยน เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ พบว่า กลยุทธ์ที่นกั ศึกษาใช้ใน
การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์มากที่สุด คือ การเขียนสมการ รองลงมา คือ การเขียนภาพหรื อแผนภาพ และการ
ค้นหาแบบรู ป ตามลําดับ และกลยุทธ์ในการแก้ปัญหาที่มีลกั ษณะเด่นชัด คือ นักศึกษาสามารถกําหนดตัวแปร
และสร้างสมการจากสถานการณ์ของปั ญหาได้เหมาะสมมากขึ้น นอกจากนี้ นกั ศึกษายังสามารถเลือกใช้กลยุทธ์
อื่ น ๆ มาช่ ว ยในการสร้ า งสมการความสั มพัน ธ์ จ ากสถานการณ์ ปั ญหาตามเงื่ อ นไขได้ถู กต้อ งมากขึ้ น ดัง
รายละเอียดในหัวข้อถัดไป
4.3.3 ด้ านการสร้ างแบบจําลองทางคณิตศาสตร์ จากปัญหาในชีวติ จริง
ในช่ วงแรก ไม่มีนกั ศึ กษาคนใดที่ สามารถระบุตวั แปรและสมการความสัมพันธ์ตามเงื่ อนไขของสถานการณ์
ปั ญหาได้เลย ในช่วงต่อมาการทําใบกิ จกรรมแต่ละใบกิจกรรม นักศึกษาส่ วนใหญ่ก็เริ่ มสามารถระบุตวั แปรที่
นําไปสู่ การหาคําตอบได้ว่าตัวแปรนั้นใช้แทนอะไร และความสัมพันธ์ของตัวแปรนั้นเป็ นอย่างไร ตลอดจน
สามารถสร้างสมการความสัมพันธ์ตามเงื่อนไขจากสถานการณ์ปัญหาได้เหมาะสมมากขึ้น แต่ก็มีนกั ศึกษาบาง
คนที่ ย ัง กํา หนดตัว แปรได้เ พี ย งบางส่ ว น และสร้ า งสมการความสั ม พัน ธ์ ไ ด้ถู ก ต้อ ง หรื อสร้ า งสมการ
ความสัมพันธ์ได้ถูกต้องแต่ไม่มีการกําหนดตัวแปรนั้นว่าใช้แทนอะไร และมีนกั ศึกษาเพียงไม่กี่คนที่จะกําหนด
แต่ตวั แปรจากสถานการณ์ปัญหาโดยไม่สามารถที่จะสร้างสมการความสัมพันธ์น้ นั ออกมาได้
4.3.4 ด้ านการค้ นหาคําตอบทีถ่ ูกต้ องพร้ อมทั้งคําอธิบายทีช่ ัดเจน
นักศึกษามีพฤติกรรมการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ดา้ นการค้นหาคําตอบที่ถูกต้องพร้อมทั้งคําอธิ บายที่ชดั เจน 2
ลักษณะ ได้แก่
1) นักศึกษาเขียนคําอธิบายกระบวนการหาคําตอบได้ ชัดเจนมากขึน ้
ในแต่ละช่ วงของการจัดการเรี ยนรู ้นักศึ กษาส่ วนใหญ่เริ่ มเขี ยนคําอธิ บายกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อได้มาซึ่ ง
คําตอบ พร้อมแสดงเงื่อนไขของสถานการณ์ปัญหาและผลที่ได้จากการวิเคราะห์เงื่อนไขเหล่านั้นว่ามีอะไรบ้าง
ได้ถูกต้อง แต่กม็ ีนกั ศึกษาบางคนที่ยงั มีการเขียนกระบวนการแก้ปัญหาที่ผิดหลักการทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นบางจุด
หรื อบางกรณี แต่กส็ ามารถพอที่จะสื่ อให้เข้าใจได้ ส่ วนในช่วงของการทดสอบย่อย โดยการทดสอบย่อยครั้งที่ 1
ไม่มีนกั ศึ กษาคนใดที่ แสดงกระบวนการแก้ปัญหาและแนวคิ ดได้ถูกต้องชัดเจนอาจจะเป็ นเพราะสถานการณ์
ปัญหามีความยากในระดับหนึ่งที่นกั ศึกษาต้องใช้ความรู ้พ้ืนฐานมาช่วยในการแก้ปัญหา แต่ก็มีนกั ศึกษาจํานวน
ไม่นอ้ ยที่ สามารถแสดงกระบวนการแก้ปัญหาและแนวคิ ดออกมาพอที่ จะสื่ อให้เข้าใจได้ และในการทดสอบ
ย่อยครั้งที่ 2 นักศึกษาสามารถที่จะเขียนอธิ บายกระบวนการแก้ปัญหาและแนวคิดได้ถูกต้องมากขึ้นเพื่อนําไปสู่
การค้นหาคําตอบ และในช่ วงสุ ดท้ายเป็ นการทดสอบหลังเรี ยน เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ มีขอ้ สอบจํานวน 2
ข้อ ซึ่ งทั้ง 2 ข้อนี้ นักศึ กษาส่ วนใหญ่สามารถที่ จะเขี ยนอธิ บายแสดงกระบวนการแก้ปัญหาและแนวคิ ดเพื่ อ
นําไปสู่ การค้นหาคําตอบได้มากขึ้น พร้อมทั้งพยายามอธิ บายและวิเคราะห์เงื่อนไขเหล่านั้นว่ามาได้อย่างไรหรื อ

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-12


เพราะเหตุใด แม้วา่ คําอธิ บายบางส่ วนจะยังไม่ชดั เจนหรื อเขียนผิดหลักการทางคณิ ตศาสตร์ แต่ก็สามารถพอที่จะ
สื่ อให้เข้าใจได้
2) นักศึกษาค้ นหาคําตอบที่ถูกต้ องของสถานการณ์ ปัญหามีจาํ นวนมากขึน้
ในช่วงแรกไม่มีนกั ศึกษาคนใดที่สามารถค้นหาคําตอบที่ถูกต้องออกมาได้ แต่พอได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้
กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา นักศึกษาสามารถค้นหาคําตอบได้ถูกต้องมากขึ้นถึงแม้จะค้นหา
คํา ตอบออกมาได้เ พี ยงบางส่ วนก็ต าม และเมื่ อนักศึ กษาได้ทาํ การฝึ กฝนและเพิ่ มเติ มประสบการณ์ ในการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์มากขึ้นก็ทาํ ให้นกั ศึกษาจํานวนมากสามารถที่จะค้นหาคําตอบได้ถูกต้องครบถ้วน

5 สรุ ปผลการวิจยั และอภิปรายผลการวิจยั


การวิจยั ครั้งนี้เป็ นการพัฒนาการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรี ยนในรายวิชา MTH101
MATHEMATICS I เรื่ อง การประยุกต์อนุ พน ั ธ์ ที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตาม
แนวคิ ดของโพลยา ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึ กษา 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุ รี โดยเป็ น
นักศึกษาอาสาสมัครจํานวน 30 คน ผูว้ ิจยั ขอนําเสนอการสรุ ปผลการวิจยั เป็ นลําดับขั้นตอนดังนี้
1) จากการศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของแผนการจัด การเรี ยนรู ้ เรื่ อง การประยุ ก ต์ อ นุ พ ัน ธ์ โดยใช้
กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา มีประสิ ทธิ ภาพ 62.22/74.39 จึงสรุ ปได้ว่า แผนการจัดการเรี ยนรู ้
เรื่ อง การประยุกต์อนุพนั ธ์ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยาที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้นมีประสิ ทธิ ภาพ
สู งกว่าเกณฑ์ที่กาํ หนด (60/60) เป็ นไปตามสมมติฐานที่ ต้ งั ไว้ ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะแผนการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง
การประยุกต์อนุ พนั ธ์ ที่ ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยา ที่ ผูว้ ิจยั
สร้างขึ้นสามารถพัฒนาการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักศึกษาได้ นอกจากนี้ แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ผวู ้ ิจยั
สร้ า งขึ้ น มี ล าํ ดับ การจัด การเรี ย นรู ้ เ ริ่ ม จากการให้นัก ศึ ก ษาได้ท ํา การทดลองสั ม ผัส กับ ปั ญ หาจริ ง ๆ จาก
สถานการณ์จาํ ลองก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหาในแต่ละใบกิ จกรรมเพื่อเป็ นการสร้างแรงจูงใจ/แรงกระตุน้ ในการ
แก้ปัญหาทําให้นกั ศึ กษาอยากจะลงมือแก้ปัญหาเพื่อให้ได้มาซึ่ งคําตอบและทําให้นกั ศึกษาได้เข้าใจถึงการนํา
ความรู ้ที่ได้เรี ยนมาทําการแก้ปัญหาจากสถานการณ์ปัญหาในชี วิตจริ ง จากนั้นในใบกิ จกรรมแต่ละใบกิจกรรม
นักศึ กษาจะได้เรี ยนรู ้ ข้ นั ตอนการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยาพร้อมทั้งได้
ฝึ กฝนและเรี ยนรู ้ ข้ นั ตอนในการแสดงวิธีทาํ หรื อแนวคิ ดในการค้นหาคําตอบที่ ถูกต้องพร้ อมทั้งคําอธิ บายที่
ชัดเจนจนนักศึ กษาสามารถที่ จะแสดงวิธีทาํ ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ออกมาเป็ นขั้นเป็ นตอนได้อย่าง
ถูกต้อง
2) จากการศึกษาทักษะการเชื่ อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ งของ
นักศึ กษาที่ ได้รั บการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญ หาตามแนวคิ ด ของโพลยา พบว่า นักศึ กษามี
ความสามารถในการเลือกใช้กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาด้านการเขียนสมการ และสามารถใช้กลยุทธ์ดา้ นอื่น ๆ มา
ช่ วยในการเขี ยนสมการจนสามารถสร้ างสมการทางคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ งได้ ส่ งผลให้คะแนน
แบบทดสอบก่ อ น-หลัง เรี ย นของนัก ศึ ก ษา เรื่ อง การประยุ ก ต์อ นุ พ ัน ธ์ ที่ ไ ด้รั บ การจัด การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้
กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยาด้านทักษะการเชื่ อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์
จากปัญหาในชีวิตจริ งเพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
3) จากการศึ ก ษาทัก ษะการแก้ปัญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ของนักศึ กษาที่ ได้รับ การจัด การเรี ย นรู ้ โดยใช้
กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ด ของโพลยา มี นักศึ กษาจํานวนมากกว่า ร้ อยละ 60 ของจํา นวนนักศึ กษา
ทั้งหมดมีทกั ษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ทั้งนี้ อาจเนื่ องมาจากการจัดการเรี ยนรู ้ทางคณิ ตศาสตร์ ที่ผูว้ ิจยั
สร้ า งขึ้ น ได้ส ร้ า งตามแนวคิ ด ของการจัด การเรี ย นรู ้ ท างคณิ ต ศาสตร์ ที่ เ สริ มสร้ า งทักษะการแก้ปัญ หาทาง
คณิ ต ศาสตร์ ข องนัก ศึ ก ษา ซึ่ งเป็ นการจัด การเรี ยนรู ้ ที่ นัก ศึ ก ษาได้เ รี ยนรู ้ ท้ ัง กระบวนการแก้ปั ญ หาทาง
คณิ ต ศาสตร์ แ ละกลยุ ท ธ์ ใ นการแก้ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ได้ฝึ กฝนประสบการณ์ ใ นการแก้ปั ญ หาทาง
คณิ ตศาสตร์จนเกิดทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตลอดจนได้มีส่วนร่ วมในการแก้ปัญหาเป็ นกลุ่มพร้อม

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-13


ทั้งได้อภิปรายและนําเสนอผลการแก้ปัญหานั้น ส่ งผลให้คะแนนแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยนของนักศึกษา เรื่ อง
การประยุกต์อนุพนั ธ์ ที่ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยาด้านทักษะ
การแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
4) จากการเปรี ยบเที ย บแบบทดสอบของนักศึ กษาก่ อนและหลังได้รับการจัดการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การ
ประยุกต์อนุพนั ธ์ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา ผูว้ ิจยั ได้ทาํ การวิเคราะห์ผลคะแนนของ
นักศึกษาจากแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยน จํานวน 2 ข้อ (ก่อนเรี ยน 2 ข้อ และหลังเรี ยน 2 ข้อ) แล้วนําผลคะแนน
มาเปรี ยบเทียบทักษะในแต่ละด้านทั้งทางด้านทักษะการเชื่ อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จาก
ปัญหาในชีวิตจริ ง และทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ พบว่า ในแบบทดสอบก่อนเรี ยน มีนกั ศึกษาจํานวน
น้อยมากที่ได้พยายามวิเคราะห์ปัญหาเพื่อค้นหาสิ่ งที่สถานการณ์ปัญหาต้องการให้หาและสุ ดท้ายก็ไม่สามารถ
ดําเนินการแก้ปัญหาต่อได้จนสําเร็ จ ส่ วนในแบบทดสอบหลังเรี ยน นักศึกษาเกือบทุกคนที่สามารถระบุตวั แปร
พร้ อมกับสมการแสดงความสัมพันธ์ตามเงื่ อนไขในโจทย์หรื อแนวคิ ดที่ เกี่ ยวข้องกับสถานการณ์ปัญหาแล้ว
นํามาแสดงกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่ งคําตอบของปั ญหาได้ถูกต้อง แต่ก็อาจจะมี
นักศึกษาบางส่ วนที่สามารถระบุตวั แปรพร้อมกับสมการแสดงความสัมพันธ์ตามเงื่อนไขในโจทย์หรื อแนวคิดที่
เกี่ ยวข้องกับสถานการณ์ปัญหาแล้วนํามาแสดงกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่ งคําตอบ
ของปัญหาพอสื่ อให้เข้าใจได้ หรื อนักศึกษาบางคนอาจจะไม่ดาํ เนินการแก้ปัญหาต่อหรื อดําเนิ นการแก้ปัญหาไม่
สําเร็ จ ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ รุ่ งฟ้ า จันท์จารุ ภรณ์ และ ชญาภา ใจโปร่ ง และจากผลการเปรี ยบเที ยบ
ข้างต้นแสดงให้เห็ นว่า นักศึ กษาแต่ ละคนมี พฒ ั นาการในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การประยุกต์
อนุ พนั ธ์ ที่ ได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิ ดของโพลยาทั้งทางด้านทักษะการ
เชื่อมโยงในการสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์จากปัญหาในชีวิตจริ งและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์
นัน่ คือนักศึกษาสามารถเขียนขั้นตอนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ จากสถานการณ์ของปั ญหาออกมาได้อย่าง
เป็ นขั้นเป็ นตอนโดยเริ่ มจากการระบุ ตวั แปรพร้อมกับสมการแสดงความสัมพันธ์ตามเงื่ อนไขในโจทย์หรื อ
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัญหาแล้วนํามาแสดงกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่ ง
คําตอบของปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

6 ข้ อเสนอแนะจากการทําวิจยั
1) ควรเพิ่มเติ มกิ จกรรมที่ ส่งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนพิจารณาความสัมพันธ์ของตัวแปร/ปั จจัยต่ าง ๆ ที่ มีความ
หลากหลาย เช่น ปัญหาที่มีความสัมพันธ์ท่ีใช้สมบัติทางตรี โกณมิติ
2) ควรเพิ่ มเติ มความหลากหลายของลักษณะปั ญหา เพื่ อที่ จะสามารถสังเกตพฤติ กรรมการแก้ปัญหา
การเลือกใช้กลยุทธ์ของผูเ้ รี ยนในปัญหาที่แตกต่างกัน
3) ผูส้ อนควรมีบทบาทในการกระตุน้ สําหรับการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของผูเ้ รี ยนในแต่ละด้านทั้ง
ทางด้านการทําความเข้าใจปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ด้านการเลือกใช้กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ด้าน
การสร้างแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาในชี วิตจริ ง และด้านการค้นหาคําตอบได้อย่างถูกต้องพร้อมทั้ง
คําอธิ บายที่ชดั เจน

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณภาควิชาคณิ ตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า


ธนบุรี ที่มอบทุนการศึกษาในการทํางานวิจยั ระดับปริ ญญาโท

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-14


References
[1] สํานักงานคณะกรรมการการศึ กษาแห่ งชาติ , พระราชบัญญัติการศึ กษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542, กรุ งเทพฯ:
Seven Printing Group, 2542.
[2] S. Krulik, Problem Solving in School Mathematics: Yearbook of the National Council of
Teachers of Mathematics, Reston, Virginia, National Council of Teachers of Mathematics, 1980.
[3] สถาบัน ส่ ง เสริ มการสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี , ทัก ษะและกระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ ,
กรุ งเทพมหานคร, โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2555.
[4] G. Polya, How to Solve It, Princeton, New Jersey: Princeton University Press, 1957.
[5] Billstein, et al., กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา, ใน ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ , สถาบันส่ งเสริ ม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุ งเทพฯ, 3-คิว มีเดีย, หน้า 11-36, 1997.
[6] R. Charles and F. Lester, Teaching problem solving, What, why and how, Palo Alto, CA, Dale
Seymour Pub, 1982.
[7] K. K. R. Hensberry and T. Jacobbe, The effects of Polya’s heuristic and diary writing on
children’s problem solving, Mathematics Education Research Group of Australasia, Inc, pp. 59-
85, Springer, 2012.
[8] Rungfa Janjaruporn, The Development of a Problem-Solving Instructional Program to Develop
Preservice Teachers’ Competence in Solving Mathematical Problems and Their Beliefs Related
to Problem Solving, Dissertation, Ed.D. (Mathematics Education), Bangkok: Graduate School,
Srinakharinwirot University, Photocopied, 2005.
[9] ชญาภา ใจโปร่ ง, กิ จกรรมการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ ที่เลือกใช้กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาที่ หลากหลาย
เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความสามารถในการแก้ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อ ง ฟั ง ก์ชัน สํา หรั บ นัก เรี ย นชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4, ปริ ญญานิ พนธ์ กศ.ม. (คณิ ตศาสตร์ ), กรุ งเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ
นทรวิโรฒ, ถ่ายเอกสาร, 2554

Proceedings of AMM 2017 EDM-10-15

You might also like