You are on page 1of 27

วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์

ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

ผลการใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีท
่ ม
ี่ ต ่ ผลสัมฤทธิ ์
ี อ
ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หา
ของนักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
THE EFFECTIVENESS OF THE FOUR NOBLE
TRUTHS INSTRUCTIONAL PACKAGE TOWARDS
LEARNING ACHIEVEMENT AND PROBLEM-
SOLVING THINKING ABILITY OF GRADE 4
STUDENTS
อรอนงค์ ศรีชยั สุวรรณ1* และกิตติชยั สุธาสิโนบล1
On-a-nong Srichaisuwan and Kittichai Suthasinobon

บทคัดย่อ
ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ 1 )
พั ฒ น า ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่ 2 )
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนกลุม ่ สาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพ
ล ศึ ก ษ า ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
ก่ อ น แ ล ะ ห ลั ง ก า ร ใ ช้ ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่ แ ล ะ 3 )
เปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาของนักเรียนชัน ้ ประถมศึ
ก ษ า ปี ที่ 4 ก่ อ น แ ล ะ ห ลั ง ก า ร ใ ช้ ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ ในการวิจยั เป็ นนักเรียนชัน ้ ประถมศึกษาปี ที่
4 โรงเรี ย นเซนต์ โ ยเซฟคอนเวนต์ เขตบางรัก กรุ ง เทพมหานคร
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2557 จานวน 1 ห้องเรียน มีนก ั เรีย นรวม
53 คน ได้ ม าโดย วิ ธี ก ารสุ่ ม ก ลุ่ ม ตัว อย่ า งแ บ บ ก ลุ่ ม
โดยใช้ห้องเรียนเป็ นหน่ วยในการสุ่ม ใช้เวลาในการสอน 12
คาบ ใช้ แ บบแผน ก ารท ดลองแบบ ก ลุ่ ม เดี ย วสอบก่ อ นสอบหลัง
สถิติที่ใ ช้ ใ นการวิเ คราะห์ ข้อ มู ล คื อ ค่า เฉลี่ย ค่า เบี่ย งเบนมาตรฐาน
และการทดสอบทีแบบไม่อส ิ ระ
ผลการวิจยั พบว่า
1.ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่ ที่ ส ร้ า ง ขึ้ น มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
81.42/86.85

37
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

2.นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4


ทีไ่ ด้รบั การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีม ่ ีผลสัมฤทธิท ์ าง
ก า ร เ รี ย น ห ลั ง ก า ร ท ด ล อ ง สู ง ก ว่ า ก่ อ น ก า ร ท ด ล อ ง
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตท ิ รี่ ะดับ .01
3.นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้ โ ด ย ใ ช้ ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
มีความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอ
ง อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตท ิ รี่ ะดับ .01

์ างการเรียน,
คาสาคัญ: ชุดการสอนแบบอริยสัจสี,่ ผลสัมฤทธิท
ความสามารถในการคิดแก้ปญ
ั หา

____________________________________
1
สาขาวิชาวิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู ้ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
*
ผูน
้ ิพนธ์ประสานงาน Email: onnm15@hotmail.com
ABSTRACT
The purposes of this research were: 1) to improve the
Four Noble Truths Instructional Package, 2) to compare the
learning achievement of health and physical education of
grade 4 students before and after the use of the Four Noble
Truths Instructional Package, and 3) to compare the
problem-solving thinking ability of grade 4 students
before and after the use of the Four Noble Truths
Instructional Package. The sample of this research
included 53 students from Saint Joseph Convent School,
Bangrak, Bangkok, who were studying in grade 4 during the
second semester in 2014, obtained by cluster random
sampling. The research took place over 12 class hours and
used One Group Pretest - Posttest Design. The statistics
used for data analysis were mean, standard deviation, and
t-test for dependent.
The findings were as follows:
1.The Four Noble Truths Instructional Package has
the effectiveness value of 81.42/86.85.
38
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

2.The learning achievement of grade 4 students after


learning the Four Noble Truths Instructional Package was
higher than that before learning at the .01 level of
significance.
3.The learning achievement of grade 4 students in
terms of problem-solving thinking ability after learning the
Four Noble Truths Instructional Package was higher than
that before learning at the .01 level of significance.

Keywords: The Four Noble Truths Instructional Package,


Learning Achievement, Problem-solving Thinking
Ability

บทนา
ในสภาพปัจจุบน ั ประเทศไทยกาลังมีการเปลีย่ นแปลงด้านต่าง ๆ
มากมาย เช่น การติดต่อสือ ่ สาร การคมนาคม การแพทย์
ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น ต้ น ส า เ ห ตุ ห นึ่ ง ข อ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
ที่ เ กิ ด ขึ้ น ก็ คื อ ผ ล ข อ ง ก า ร พั ฒ น า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ เ จ ริ ญ ขึ้ น อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
ชีวต ิ แต่ละบุคคลจึงต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทีก ่ าลังเปลีย่ นแป
ล ง ไ ป
ในขณะเดียวกันก็ตอ ้ งประสบกับปัญหานานาชนิดและต้องพยายามแก้ปั
ญ ห า เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ อ ยู่ ร อ ด ใ น สั ง ค ม ไ ด้ อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข
การพัฒ นาสัง คมไทยท่ า มกลางความเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว
ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง ค น จึ ง เ ป็ น สิ่ ง ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด
ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ที่ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ท่ า นั้ น
จึ ง จะเอื้ อ ต่ อ การพัฒ นาศัก ยภาพ ความสามารถของค นที่ จ ะเรี ย นรู ้
และพัฒ นาตนเองได้อ ย่า งต่อ เนื่อ งตลอดชี วิต (นารีรต ั น์ ฟัก สมบู รณ์ ,
2 5 4 1 ) จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า
การศึกษาเป็ นส่วนสาคัญในการพัฒนาประเทศให้มีเศรษฐกิจทีก ่ า้ วหน้า
แ ล ะ มี ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง
แนวทางสาคัญของการกาหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขอ
งประเทศไทยจะต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
ก า ร ศึ ก ษ า ( จ ตุ พ ล ย ง ศ ร , 2 5 5 4 )
ซึ่งสอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ และจุดมุง่ หมายของหลักสูตรแกนกลางการศึก
ษ า ขั้น พื้ น ฐ า น พุ ท ธ ศัก ร า ช 2 5 5 1 ที่ มุ่ ง พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น ทุ ก ค น

39
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

ซึ่ ง เป็ นก าลัง ของชาติ ให้ เ ป็ นมนุ ษ ย์ ที่ มี ค วามสมดุ ล ทั้ง ด้ า นร่ า งกาย
ค ว า ม รู ้ ร ว ม ไ ป ถึ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด แ ล ะ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า
( ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร , 2 5 5 1 ก )
อันเป็ นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาด้านจิตใจและเป็ นพื้นฐานในการจัด
การศึกษาเพือ ่ การพัฒนาความเป็ น มนุษย์ทส ี่ มบูรณ์ (ฉันทนา ภาคบงกช
แ ล ะ อุ ษ า ศ รี จิ น ด า รั ต น์ , 2 5 5 2 ) จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า
การศึกษาเป็ นกระบวนการเรียนรูเ้ พื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและ
สังคม ตามวัตถุประสงค์ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
(พ.ศ. 2545-2559) (ส านัก งานคณะกรรมการการศึก ษาแห่ง ชาติ ,
2545)
การพัฒนาความสามารถในการคิดของผูเ้ รียนเป็ นสิง่ จาเป็ นซึง่ ต
ร ง กับ ห ลัก ก า ร ส ร้ า ง การเรี ย นรู ้ สู่ ศ ตวรรษที่ 21 คื อ
การจัดกระบวนการเรียนรูท ้ ีม
่ ุ่งพัฒนาทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญา
ณ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า
เพือ ่ ให้บุคคลสามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างดีขึ้น (วิจารณ์ พานิช,
2 5 5 6 )
ในขณะเดียวกันการศึกษาของไทยกาลังเผชิญกับความท้าทายการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 (Asian Community)
ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
ซึ่ ง เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า
ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ดั ง ก ล่ า ว
จึงกาหนดให้มีนโยบายและเป้ าหมายแนวการจัดการเรียนรูเ้ พือ ่ ให้ผู้เรีย
นระดับ ประถมศึ ก ษามี ค วามชัด เจนทั้ง ด้ า นความรู ้ ทัก ษะพื้ น ฐาน
ในการคิด วิเ คราะห์ อย่า งมี เ หตุ ผ ลและมี วิธี คิด อย่า งถู ก ต้อ ง เป็ นต้น
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551ก) สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ
ฉ บั บ ที่ 1 1 ( พ . ศ . 2 5 5 5 - 2 5 5 9 )
ค ว า ม จ า เ ป็ น เ ร่ ง ด่ ว น ใ น ก า ร ป ฏิ รู ป ก า ร ศึ ก ษ า คื อ
การฝึ กฝนให้ผเู้ รียนทุกระดับมีทกั ษะพื้นฐานในการคิดและกระบวนการ
คิ ด แ บ บ ต่ า ง ๆ เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น จ า ไ ด้
ส า ม า ร ถ น า เ อ า ทั ก ษ ะ เ ห ล่ า นี้ ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร จั ด ท า ข้ อ มู ล
น า เ ส น อ อ อ ก ม า เ ป็ น ค ว า ม รู ้ ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ ก า ร เ รี ย น แ บ บ
ส ร้ า ง ค ว า ม รู ้ แ ล ะ ก า ร จัด ก า ร เ รี ย น รู ้ แ บ บเ น้ น ผู้ เ รี ย น เ ป็ น ส าคัญ
จึ ง จ ะ เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ อ ย่ า ง จ ริ ง จัง ( ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร , 2 5 5 1 ก )
นอกจากนี้การสอนผูเ้ รียนในเรือ ่ งของการคิดนั้นสอดคล้องกับพระราชบั
ญญัติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พุ ท ธศัก ราช 2542 และที่ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม

40
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

(ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2545 (พระราชบัญ ญัติก ารศึก ษาแห่ง ชาติ 2542,
2 5 5 2 )
มีใจความทีแ ่ สดงถึงความสาคัญของการคิดและระบุถึงการพัฒนากระบ
วนการคิด ของผู้เ รี ย น มาตรา 24 ข้อ (2) ฝึ กทัก ษะกระบวนการคิด
ก า ร จั ด ก า ร ก า ร เ ผ ชิ ญ ส ถ า น ก า ร ณ์
และการประยุกต์ความรูม ้ าใช้เพื่อป้ องกันและแก้ไขปัญหา และมาตรา
2 8 ว ร ร ค ส อ ง ค ว า ม ว่ า
“สาระของหลักสูตรทัง้ ทีเ่ ป็ นวิชาการและวิชาชีพต้องมุง่ พัฒนาคนให้มีคว
า ม ส ม ดุ ล ทั้ง ด้ า น ค ว า ม รู ้ ค ว า ม คิ ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ค ว า ม ดี ง า ม
แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม ”
การสอนให้ ผู้ เ รี ย นมี ค วามสามารถในการคิ ด นั้น มี ห ลายวิ ธี ด้ ว ยกัน
วิ ธี ก า ร ห นึ่ ง คื อ วิ ธี คิ ด แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
ห รื อ คิ ด แ บ บ แ ก้ ปั ญ ห า นั้ น ถื อ ว่ า เ ป็ น วิ ธี ส อ น แ ม่ บ ท คื อ
เป็ นวิธีแก้ปญ ั หาทีอ ่ งค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าใช้ในการแก้ปญ ั หาอัน
ยิ่ ง ใ ห ญ่ ใ น ชี วิ ต ก ล่ า ว คื อ ก า ร ดั บ ทุ ก ข์
เ ป็ น ขั้ น ต อ น ข อ ง ก า ร คิ ด อ ย่ า ง มี ร ะ บ บ ห รื อ พู ด อี ก นั ย ห นึ่ ง คื อ
เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ข อ ง ก า ร ใ ช้ ค ว า ม คิ ด ห รื อ ก า ร ใ ช้ ปั ญ ญ า
( พ ร ะ ม ห า ป ร ะ เ ส ริ ฐ พ ร ม ล า , 2 5 5 4 )
วิธีการสอนแบบอริยสัจสีเ่ ป็ นการประยุกต์ปรุงแต่งเพือ ่ ให้เหมาะสมทีน ่ าไ
ป ใ ช้ ใ น โ ร ง เ รี ย น มี ขั้ น ต อ น ดั ง นี้ 1 ) ทุ ก ข์ คื อ
ขั้น การก าหนดปั ญ หา 2) สมุ ท ยั คื อ ขั้น ตั้ง สมมติ ฐ านคิ ด วิ เ คราะห์
ห า ส า เ ห ตุ ข อ ง ปั ญ ห า 3 ) นิ โ ร ธ คื อ
ขัน้ คิดหาแนวทางในการแก้ปญ ั หาด้วยวิธีการค้นคว้า และ 4) มรรค คือ
ขั้น ด าเ นิ นก ารแก้ ปั ญ หาตามแนวท าง (สาโรช บัว ศรี , 2528 )
ซึ่ ง ขั้น ต อ น ข้ า ง ต้ น เ ป็ น วิ ธี ก า ร ส อ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น คิ ด เ ป็ น ก ล่ า ว คื อ
เป็ นการพัฒ นาผู้ เ รี ย นให้ ส ามารถน าความรู ้ค วามจ า ความเข้ า ใจ
แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ที่ ส ะ ส ม ไ ว้
ออกมาใช้แก้ปญ ั หาได้อย่างสร้างสรรค์และสามารถแก้ปญ ั หาทีเ่ ป็ นอยูใ่ น
สถานการณ์ ที่แ ตกต่า งกัน ได้อ ย่า งมี ป ระสิท ธิภ าพ (สุ ม น อมรวิว ฒ ั น์ ,
2530)
ในขณะเดียวกันการพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาขอ
งเด็ ก ไทยก็ เ ป็ นสิ่งจาเป็ น จะเห็ นได้จากผลสารวจของกรมสุ ข ภาพจิต
ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข ( 2 5 4 3 ) พ บ ว่ า ค ว า ม ฉ ล า ด
ทางอารมณ์ ข องเด็ ก นัก เรีย นไทย อายุ 6-11 ปี โดยในปี พ.ศ. 2554
มี ค ะแนนเฉลี่ย ระดับ ประเทศ อยู่ระดับ ต่ากว่าเกณฑ์ป กติ คือ
มีคา่ คะแนนอยูท ่ ี่ 45.12 จากค่าคะแนนปกติ 50-100 มีจุดอ่อน 3 ด้าน

41
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

คื อ ดี เ ก่ ง สุ ข ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง อ า ร ม ณ์
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ แ ล ะ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า
ซึ่ ง ความส าคัญ ของการแก้ ปัญ หานี้ บงกชรัต น์ สมานสิ น ธุ์ (2551)
ไ ด้ อ ธิ บ า ย ไ ว้ ว่ า มี ส า ม ป ร ะ ก า ร คื อ ป ร ะ ก า ร แ ร ก
ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เ ป็ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ขั้ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ม นุ ษ ย์
ซึ่ ง ม นุ ษ ย์ ต้ อ ง พ บ กับ ปั ญ ห า แ ล ะ อุ ป ส ร ร ค มาก มาย
ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทาให้สภาพแวดล้อม
แ ล ะ สั ง ค ม เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป
ม นุ ษ ย์ ต้ อ ง ใ ช้ ค ว า ม ส าม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า อยู่ ต ล อ ด เวลา
เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ป รั บ ตั ว อ ยู่ ใ น สั ง ค ม ไ ด้ ป ร ะ ก า ร ที่ ส อ ง
ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ค้ น พ บ ค ว า ม รู ้ ใ ห ม่
ซึ่ ง เ ป็ น ค ว า ม พ ย า ย า ม ที่ จ ะ แ ก้ ปั ญ ห า
จะก่อให้เกิดการพัฒนากระบวนการทางความคิดเป็ นประสบการณ์ ใหม่
เมื่ อ ผสมผสานกับ ประสบการณ์ เ ดิ ม จะก่ อ ให้ เ กิ ด สาระความรู ้ใ หม่
ทั้ ง ใ น เ ชิ ง เ นื้ อ ห า แ ล ะ วิ ช า ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ก า ร ที่ ส า ม
การแก้ปญ ั หาเป็ นความสามารถทีต ่ อ
้ งปลูกฝังให้เกิดขึน ้ ในตัวผูเ้ รียนทีม
่ ุ่ง
เ น้ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น รู ้ จั ก คิ ด อ ย่ า ง มี เ ห ตุ ผ ล
แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด อ อ ก ม า เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ รั ด กุ ม
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา เป็ นความฉลาดด้านหนึ่ งของมนุ ษย์
ห ม า ย ถึ ง ก า ร มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ อ า ช น ะ ฝ่ า ฟั น อุ ป ส ร ร ค
ค ว า ม อ ด ท น ต่ อ ค ว า ม ย า ก ล า บ า ก โ ด ย ไ ม่ ท้ อ แ ท้
เป็ นทักษะชีวต ิ ทีจ่ าเป็ นอย่างยิง่ ในสังคมยุคปัจจุบน ั ทีผ่ สู้ อนพึงนามาฝึ กทั
ก ษ ะ ใ ห้ กั บ นั ก เ รี ย น
เ พื่ อ ที่ จ ะ ท า ใ ห้ นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ เ อ า ตั ว ร อ ด อ ยู่ ใ น สั ง ค ม
แ ล ะ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ชี วิ ต ไ ด้ อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข
ซึ่ ง ผู้ ส อ น จ ะ ต้ อ ง จั ด รู ป แ บ บ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
เพือ ่ พัฒนาทักษะการคิด ให้ผูเ้ รียนคิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปญ ั หาเป็ น (สุมน
อมรวิ ว ฒ ั น์ , 2530) เกี่ย วกับ การคิด แก้ ปัญ หานี้ วิ ภ าพรรณ พิ น ลา
(2554) ที่ ไ ด้ ศึ ก ษาผลสัม ฤทธิ ์ท างการเรี ย นสัง คมศึ ก ษา ศาสนา
และวัฒนธรรมและความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาของนักเรียนชัน ้ มัธ
ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ที่ ไ ด้ รั บ
การจัด การเรี ย นรู ้ แ บบซิ ป ปากับ การจัด การเรี ย นรู ้ แ บบอริ ย สัจ สี่
ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ พ บ ว่ า นั ก เ รี ย น
ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้ แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
มี ค วามสามารถในก ารคิ ด แก้ ปั ญ หาหลัง เรี ย นสู ง ก ว่ า ก่ อ นเ รี ย น

42
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส ม ใ จ มี ส ม วิ ท ย์ ( 2 5 4 8 )
ที่ ไ ด้ ศึ ก ษ า วิ จั ย ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น แ ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ
ในการแก้ปัญ หาทางวิท ยาศาสตร์ ข องนัก เรี ย นชั้น มัธ ยมศึก ษาปี ที่ 1
ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่ ผ ล ก า ร วิ จั ย ส รุ ป ไ ด้ ว่ า
ผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยสอนแบบอริยสัจสี่
หลัง เรี ย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี น ัย ส าคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .01
และความสามารถในการแก้ ปั ญ หาทางวิ ท ยาศาสตร์ ข องนั ก เรี ย น
โดยสอนแบบอริ ย สัจ 4 หลัง เรี ย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่า งมี น ยั ส าคัญ
ทางสถิตท ิ ีร่ ะดับ .01 นอกจากนี้ สุภาวรรณ ด่านสกุล (2539) กล่าวว่า
ก า ร น า ชุ ด กิ จ ร ร ม ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้
การให้นก ั เรียนรูจ้ กั ค้นคว้าความรูต ้ ามขัน
้ ตอนทางวิทยาศาสตร์จะช่ วยเ
พิ่ม ความสามารถในด้า นความคิด ของบุ ค คลที่ใช้ใ นการคิด แก้ปัญ หา
ซึ่ ง ชุ ด การเรี ย นท าให้ ผ ลสัม ฤทธิ ์ ท างการเรี ย นของผู้ เ รี ย นสู ง ขึ้ น
ผู้ เ รี ย นมี ค วามสนุ ก สนานในการเรี ย นจากชุ ด การเรี ย นแบบต่ า ง ๆ
ผู้ เ รี ย น ส า ม า ร ถ เ รี ย น รู ้ ด้ ว ย ต น เ อ ง
เพิ่ ม ความสามารถด้ า นความคิ ด สร้ า งสรรค์ เชาวน์ ปั ญ ญ า และ
ก า ร ป รั บ ตั ว ท า ง สั ง ค ม มี ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร ส อ น
และผูเ้ รียนสามารถแก้ปญ ั หาการเรียนช้าของผูเ้ รียนได้มากขึ้น (ศุภกิจ
ประชุมกาเยาะมาต (2552) อีกทัง้ สาโรช บัวศรี (2528) ได้อธิบายว่า
วิ ธี ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
เป็ นวิ ธี เ ดี ย วกับ ก า รแก้ ปั ญ ห าเป็ น ขั้น ตอ น ก า รคิ ด อ ย่ า งมี ร ะ บ บ
และเป็ นกระบวนการใช้ความคิดแก้ปญ ั หาอย่างมีเหตุผลหรือเรียกอีกอย่
า ง ห นึ่ ง ว่ า วิ ธี ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ดั ง นั้ น ผู้ ส อ น
ซึ่ ง มี บ ท บ า ท ส า คั ญ แ ล ะ ใ ก ล้ ชิ ด กั บ นั ก เ รี ย น ม า ก ที่ สุ ด
รองจากพ่อแม่ผป ู้ กครองจึงมีความจาเป็ นต้องเชือ ่ มโยงวิธีการเรียนรูใ้ นเ
นื้ อ ห า วิ ช า กั บ ส ภ า พ ปั ญ ห า แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ จ ริ ง
โดยเน้นกระบวนการคิดอย่างเป็ นระบบและมีเหตุผลด้วยขัน ้ ตอนการสอ
น คิ ด แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
เพือ ่ ใช้เป็ นพื้นฐานในการพัฒนาความรูแ ้ ละความสามารถในการคิดแก้
ปัญหาให้เกิดขึน ้ ในตัวผูเ้ รียน
การศึกษาเป็ นเครือ ่ งมือทีส
่ าคัญสาหรับการพัฒนาคนให้มีคณ ุ ภา
พ ก า ร จ ะ ใ ห้ ค น มี คุ ณ ภ า พ จ ะ ต้ อ ง ใ ห้ ค น มี ค ว า ม รู ้ ค ว า ม คิ ด
แ ล ะ ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ อ ย่ า ง มี เ ห ตุ ผ ล
ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ไ ด้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ดั ง ก ล่ า ว
จึงได้กาหนดให้ผเู้ รียนทุกคนในระดับการศึกษาขัน ้ พื้นฐานจาเป็ นต้องเรี
ยนรู ้ ทัง้ 8 กลุม ่ สาระการเรียนรู ้ กลุม ่ สาระการเรียนรูท ้ ส ่ หนึ่งคือ
ี่ าคัญกลุม

43
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ สุ ข ศึ ก ษ า แ ล ะ พ ล ศึ ก ษ า
ซึ่งมีความมุง่ หมายในการพัฒนามนุ ษย์ทีส ่ มบูรณ์ ทง้ ั ทางร่างกาย ทางจิต
ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ ท า ง ปั ญ ญ า ห รื อ จิ ต วิ ญ ญ า ณ สุ ข ภ า พ
หรื อ สุ ข ภาวะจึ ง เป็ นเรื่ อ งส าคัญ เพราะเกี่ ย วโยงกับ ทุ ก มิ ติ ข องชี วิ ต
( ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร , 2 5 5 1 ข )
ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ ดั ง ก ล่ า ว จึ ง เ ป็ น ก ล ไ ก ส่ ว น ส า คั ญ
ใ น ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น พั ฒ น า ก า ร ศึ ก ษ า ทั้ ง ร ะ บ บ
โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้ ใ น ส า ร ะ ที่ 5
ความปลอดภัยในชีวต ิ มาตรฐาน พ 5.1 ป้ องกันและหลีกเลีย่ งปัจจัยเสีย่ ง
พ ฤ ติ ก ร ร ม เ สี่ ย ง ต่ อ สุ ข ภ า พ อุ บั ติ เ ห ตุ ก า ร ใ ช้ ย า ส า ร เ ส พ ติ ด
แ ล ะ ค ว า ม รุ น แ ร ง ที่ ก า ห น ด ไ ว้ นั้ น
เพื่อ ผู้เ รี ย นจะได้เ รี ย นรู ้ก ารป้ องกัน ตนเองจากพฤติก รรมเสี่ย งต่า ง ๆ
ทั้ ง ค ว า ม เ สี่ ย ง ต่ อ สุ ข ภ า พ อุ บั ติ เ ห ตุ ค ว า ม รุ น แ ร ง
อันตรายจากการใช้ยาและสารเสพติดรวมถึงแนวทางในการสร้างเสริมค
ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ชี วิ ต ( ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร , 2 5 5 1 ข )
นอกจากนี้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ยังมุ่งพัฒนาผู้เ รีย น ให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการเรีย นรู ้
ก า ร พัฒ น า ผู้ เ รี ย น ใ ห้ บ ร ร ลุ ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู ้ ที่ ก า ห น ด นั้ น
จะช่วยให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ประการหนึ่งทีส ่ าคัญคือ
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า
ซึ่ ง เ ป็ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ อุ ป ส ร ร ค ต่ า ง ๆ
ที่ เ ผ ชิ ญ ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง เ ห ม า ะ ส ม บ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ห ลั ก เ ห ตุ ผ ล
คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ ข้ อ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ ในสังคม
แสวงหาความรู ้ ประยุก ต์ ค วามรูม ้ าใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปัญหา
แ ล ะ
มีการตัดสินใจทีม ่ ีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบทีเ่ กิดขึน ้ ต่อตนเอง
สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ( ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร , 2 5 5 1 ก )
การก าหนดสมรรถนะส าคัญ ของผู้เ รี ย นดัง กล่า ว เป็ นเรื่อ งที่ส าคัญ ยิ่ง
เนื่ อ งจากท าให้ รู ้ ว่ า เด็ ก ควรได้ ร บ ั การส่ ง เสริ ม ในเรื่ อ งใด โรงเรี ย น
ครอบครัวและชุมชน ควรมีบทบาทและหน้าทีต ่ อ
่ การพัฒนาเด็กอย่างไร
จึ ง จ ะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ ด็ ก ไ ท ย มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ต า ม ที่ สั ง ค ม ค า ด ห วั ง
นอกจากนี้ ยงั ใช้เป็ นข้อมูลพื้นฐานประกอบในการพัฒนามาตรฐานด้าน
ผู้ เ รี ย น ใ น ก า ร พั ฒ น า ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น ต่ อ ไ ป
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551ค)

44
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

ด้ ว ย เ ห ตุ ผ ล ที่ ก ล่ า ว ม า ข้ า ง ต้ น
ส่งผลให้ผวู้ จิ ยั มีความสนใจศึกษาแนวทางในการพัฒนาความสามารถข
อ ง ผู้ เ รี ย น ทั้ ง ใ น ด้ า น ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น
แ ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า ข อ ง นั ก เ รี ย น
โ ด ย ใ ช้ ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนกลุม ่ สาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึ
ก ษ า ใ น ส า ร ะ ที่ 5 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ชี วิ ต ม า ต ร ฐ า น พ 5 . 1
ป้ องกัน และหลี ก เลี่ย งปัจ จัย เสี่ย งพฤติก รรมเสี่ย งต่อ สุ ข ภาพ อุ บ ต
ั ิเ หตุ
การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง

วัตถุประสงค์การวิจยั
1.เ พื่ อ พั ฒ น า ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2.เ พื่ อ ห า ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
โ ด ย พิ จ า ร ณ า จ า ก ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น
และความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หา

สมมติฐานของการวิจยั
1. ชุดการสอนแบบอริยสัจสีท ่ ีส ้ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
่ ร้างขึน
80/80
2 . นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
ทีไ่ ด้รบ
ั การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีม ์ า
่ ีผลสัมฤทธิท
งการเรียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง
3 . นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
ทีไ่ ด้รบั การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสี่มีความสามาร
ถในการคิดแก้ปญ ั หาหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง

วิธีดาเนินการวิจยั
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.ก่ อ น ด า เ นิ น ก า ร วิ จั ย
ผูว้ จิ ยั นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนและแบบทดสอบวัดควา
ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า ม า ใ ห้ ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง ท า
และนาคะแนนทีไ่ ด้จากแบบทดสอบมาบันทึกผลเป็ นคะแนนก่อนการทด
ลอง

45
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

2.ในการดาเนินการวิจยั ใช้เวลาในการทดลอง 3 สัปดาห์ ๆ ละ


2 วั น ๆ ล ะ 2 ค า บ ๆ ล ะ 5 0 น า ที ร ว ม 1 2 ค า บ
ผูว้ จิ ยั ทาหน้าทีด
่ าเนินการสอนโดยใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีใ่ นการดา
เนินการทดลองด้วยตนเอง
3.เ มื่ อ ก า ร ท ด ล อ ง เ ส ร็ จ สิ้ น ล ง
ผูว้ จิ ยั นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนและแบบทดสอบวัดควา
มสามารถในการคิด แก้ปัญ หา มาให้น ก ั เรี ย นกลุ่ม ตัว อย่า งท าอี ก ครั้ง
และนาคะแนนจากทีไ่ ด้จากแบบทดสอบไปวิเคราะห์คา่ สถิติ

เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั


เครือ
่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั มีดงั นี้
1.ชุดการสอนแบบอริยสัจสี่
2.แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท ์ างการเรียน
3.แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หา

การสร้างเครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั


1.ชุดการสอนแบบอริยสัจสี่ จานวน 6 ชุด ดังนี้
1.1 ศึ ก ษาหลัก สู ต รแก นกลางการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน
พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 5 1
แ ล ะ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น เ ซ น ต์ โ ย เ ซ ฟ ค อ น เ ว น ต์
คูม
่ ือครูสุขศึกษาและพลศึกษา ชัน ้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
1 . 2
วิเคราะห์สาระการเรียนรูข ้ องกลุ่มสาระการเรียนรูส ้ ุขศึกษาและ
พ ล ศึ ก ษ า ตั ว ชี้ วั ด แ ล ะ เ นื้ อ ห า ใ น ห นั ง สื อ เ รี ย น
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน ้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551 สาระที่
5 ความปลอดภัยในชีวต ิ มาตรฐาน พ 5.1 ตัวชี้วดั ป.4/1, ป.4/2, และ
ป.4/3
1.3 ศึ ก ษ า ห ลั ก ก า ร ส ร้ า ง ชุ ด ก า ร ส อ น
จากหนังสือและเอกสารต่าง ๆ ตลอดจนงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับอริยสัจสี่

1.4 สร้ า งชุ ด การสอนแบบอริ ย สัจ สี่ ประกอบด้ ว ย 6


ชุ ด ก า ร ส อ น คื อ ชุ ด ที่ 1 ห ลั ก ก า ร ใ ช้ ย า ชุ ด ที่ 2
ความปลอดภัย จากการใช้ย า ชุ ด ที่ 3 ผลกระทบของการใช้ย า ชุ ด ที่ 4
ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ ผ ล ต่ อ ก า ร ใ ช้ ส า ร เ ส พ ติ ด ชุ ด ที่ 5

46
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

ผลกระทบของการใช้ ส ารเสพติด ชุ ด ที่ 6 การหลี ก เลี่ย งสารเสพติ ด


โดยแต่ล ะชุ ด มี ห ลัก การสร้า งที่ป รับ ปรุ ง จากรู ป แบบของ ศกลวรรณ
นภาพร (2554) ดังนี้
1) คูม ่ ือการจัดการเรียนรู ้ การใช้คม ู่ ือประกอบด้วยประเด็น
ต่ อ ไ ป นี้ 1 . 1 ) ชื่ อ ชุ ด ชั้ น ที่ ส อ น แ ล ะ เ ว ล า ที่ ส อ น 1 . 2 )
มาตรฐานการเรี ย นรู ้แ ละตัว ชี้ ว ด ั ของระดับ ชั้น ปี 1.3) สาระส าคัญ
แ ล ะ ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ 1 . 4 ) จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู ้
ก าหนดมาจากมาตรฐานการเรี ย นรู ้แ ละตัว ชี้ ว ด ั 1.5)
สมรรถนะส าคัญ ของผู้ เ รี ย นและคุ ณ ลัก ษณะอัน พึ ง ประสงค์ 1.6)
กิจกรรมการจัดการเรียนรู ้ ตามขัน ้ ตอนการสอนแบบอริยสัจสี่
1 . 7 ) สื่ อ แ ล ะ แ ห ล่ ง ก า ร เ รี ย น รู ้
จ ะ ก า ห น ด ห นั ง สื อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น แ ล ะ ชุ ด ก า ร ส อ น 1 . 8 )
ก า ร วั ด แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
ตารางรวมคะแนนแบบทดสอบท้ายชุดการสอนและเกณฑ์ของคะแนนร
วมแบบทดสอบท้ายชุดการสอน 1.9) บันทึกหลังการสอน และ 1.10)
เฉลยแบบทดสอบท้ายชุดการสอน
2) ชุ ด ก า ร ส อ น ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย 2 . 1 )
ค า แ น ะ น า ใ น ก า ร เ รี ย น ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่ 2 . 2 )
กรอบเนื้ อ หาการจัด การเรี ย นรู ้ 2.3) จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ 2.4)
ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่ จ า น ว น 6 ชุ ด แ ล ะ 2 . 5 )
แบบทดสอบท้ายชุดการสอน
1.5 การพัฒนาชุดการสอนแบบอริยสัจสี่
1) น า ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
เสนอต่อ อาจารย์ ที่ป รึก ษา และนามาปรับ ปรุง ตามคาแนะน า
แ ล้ ว น า ไ ป ใ ห้ ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ด้ า น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ศึ ก ษ า นิ เ ท ศ ก์
( สุ ข ศึ ก ษ า แ ล ะ พ ล ศึ ก ษ า ) ก า ร ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า
และกลุ่มสาระการเรียนรูส ้ ุขศึกษาและพลศึกษา อย่างน้อย 5 ปี จานวน
5 ท่า น ตรวจสอบความถู ก ต้อ งและความเหมาะสมของชุ ด การสอน
โดยพิจารณาหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับลักษณะพฤ
ติ ก รรม และน าผลการพิ จ ารณาของผู้ เ ชี่ ย วชาญ ทั้ง 5 ท่ า น มาท า
การวิเคราะห์เพือ ่ หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Consistency:
IOC) เท่ากับ 0.80 จานวน 2 ข้อ และ 1.00 จานวน 15 ข้อ
2 )
นาชุดการสอนแบบอริยสัจสีท ่ ีไ่ ด้รบ
ั การปรับปรุงแก้ไขแล้วไปท
ดลองใช้ (Try Out) กับ นัก เรี ย นชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4

47
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

โรงเรี ย นเซนต์ โ ยเซฟคอนเวนต์ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ก ลุ่ ม ตัว อย่ า ง 1


ห้องเรียน จานวน 53 คน
3 )
นาชุดการสอนแบบอริยสัจสีท ่ ีไ่ ด้ไปปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
แ ล ะ น า ไ ป ท ด ล อ ง ใ ช้ กั บ นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ ทีเ่ ป็ นกลุม ่ ตัวอย่าง 1 ห้องเรียน จานวน
53 คน รวม 12 คาบ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน 80/80
8 0 ตั ว แ ร ก ห ม า ย ถึ ง
คะแนนเฉลีย่ ของนักเรียนทัง้ หมดทีไ่ ด้จากการทาชุดการสอนแบบ
อริยสัจสี่ คิดเป็ นร้อยละ 80 ของคะแนนทัง้ หมด
8 0 ตั ว ห ลั ง ห ม า ย ถึ ง
คะแนนเฉลีย่ ของนักเรียนทัง้ หมดทีไ่ ด้จากการทาแบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิท ์ างการเรียน คิดเป็ นร้อยละ 80 ของคะแนนทัง้ หมด

4) นาผลการตรวจให้คะแนนระหว่างเรียนและหลังเรียน
ไปค านวณหาประสิทธิภาพของชุ ด การสอนแบบอริย สัจ สี่ โดยใช้สู ต ร
E1/E2 (เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต, 2528)
2.แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนมีขน ้ ั ตอน ดังนี้
2 . 1
ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการวัดและประเมินผลกลุ่
มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา
2.2 วิ เ ค ร า ะ ห์ ตั ว ชี้ วั ด แ ล ะ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู ้
ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ สุ ข ศึ ก ษ า แ ล ะ พ ล ศึ ก ษ า
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2.3 ส ร้ า ง ต า ร า ง วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ ส อ บ ใ ห้ ต ร ง กั บ ตัว ชี้ วั ด
และจุดประสงค์การเรียนรู ้
2 . 4
นาตารางวิเคราะห์ขอ ้ สอบเสนอคณะกรรมการควบคุมปริญญานิ
พนธ์พจิ ารณา
2.5 ส ร้ า ง แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น
เ ป็ น แ บ บ ท ด ส อ บ แ บ บ ป ร นั ย ช นิ ด เ ลื อ ก ต อ บ 4 ตั ว เ ลื อ ก
ให้สอดคล้องกับตารางวิเคราะห์ขอ ้ สอบ มากกว่าทีต ่ อ ้ งการจริง จานวน
80 ข้อ
2.6 น า แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น
ไ ป ใ ห้ ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ อ ย่ า ง น้ อ ย 5 ปี จ า น ว น 5 ท่ า น

48
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

ทีเ่ ป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญชุดเดียวกันกับผูเ้ ชีย่ วชาญทีต ่ รวจประเมินประสิทธิภาพ


ข อ ง ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่ ต ร ว จ ส อ บ
โดยพิจารณาหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับลักษณะพฤติ
ก ร ร ม แ ล ะ น า ผ ล ก า ร พิ จ า ร ณ า ข อ ง ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ทั้ ง 5 ท่ า น
ม า ท า ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ พื่ อ ห า ค่ า ดัช นี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง ( Index of
Consistency: IOC) ผลการตรวจสอบความคิด เห็ น ของผู้เ ชี่ย วชาญ
เท่ากับ 1.00 จานวน 49 ข้อ 0.80 จานวน 22 ข้อ 0.60 จานวน 7 ข้อ
และ 0.40 จานวน 2 ข้อ
2 . 7
นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนทีป ่ รับปรุงแก้ไขตามคาแนะ
น า ข อ ง ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ จ า น ว น 7 8 ข้ อ ไ ป ท ด ล อ ง ใ ช้ ( Try Out)
กับนักเรียนชัน ้ ประถมศึกษาปี ที่ ทีเ่ รียนเรือ ่ งนี้ ผา่ นไปแล้ว จานวน 100
คน
2 . 8
นากระดาษคาตอบทีน ่ กั เรียนตอบมาตรวจให้คะแนนโดยข้อทีต ่ อบถูกให้
คะแนน 1 คะแนน ข้อ ที่ต อบผิด หรื อ ตอบเกิ น 1 ค าตอบ
หรือไม่ตอบให้ 0 คะแนน
2.9เมือ่ ตรวจให้คะแนนแล้วนามาวิเคราะห์ ตามขัน ้ ตอน ดังนี้
2.9.1 วิเคราะห์ขอ
้ สอบรายข้อ คือ หาค่าความยากง่าย
( p) แ ล ะ ค่ า อ า น า จ จ า แ น ก ( r) ข อ ง แ บ บ ท ด ส อ บ เ ป็ น ร า ย ข้ อ
โ ด ย ค า น ว ณ จ า ก สู ต ร ( ว ร ร ณี แ ก ม เ ก ตุ , 2 5 5 1 )
คัด เลื อ กข้ อ สอบที่ มี ค่ า ความยากง่ า ยที่ มี ค่ า อยู่ ร ะหว่ า ง 0.20-0.80
แ ล ะ ค่ า อ า น า จ จ า แ น ก ตั้ ง แ ต่ 0 . 2 0 ขึ้ น ไ ป ซึ่ ง แ บ บ ท ด ส อ บ
ที่ ผู้ วิ จั ย ส ร้ า ง ขึ้ น มี ค่ า ค ว า ม ย า ก ง่ า ย ร ะ ห ว่ า ง 0 . 3 2 - 0 . 8 6
และค่าอานาจจาแนกระหว่าง 0.23-0.78
2.9.2 น าแบบทดสอบวัด ผลสัม ฤทธิ ์ท างการเรี ย น
ที่ คั ด เ ลื อ ก แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง แ ล้ ว จ า น ว น 3 0 ข้ อ
ไ ป ท ด ส อ บ กับ นั ก เ รี ย น ชั้น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 จ า น ว น 5 3 ค น
ที่ ไ ม่ ใ ช่ นั ก เ รี ย น ใ น ข้ อ 2 . 7
เพือ ่ หาค่าความเชือ ่ มั่นของแบบทดสอบโดยใช้สูตร KR-20 ของ คูเดอร์
ริ ช า ร์ ด สั น ( ล้ ว น ส า ย ย ศ แ ล ะ อั ง ค ณ า ส า ย ย ศ , 2 5 3 8 )
โดยมีคา่ ความเชือ ่ มั่นเท่ากับ 0.92
3.แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หา
มีขน ้ ั ตอนดังนี้

49
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

3 . 1
ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการวัดและประเมินผลกลุ่มสาระ
การเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา
3 . 2 วิ เ ค ร า ะ ห์ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู ้
ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ สุ ข ศึ ก ษ า แ ล ะ พ ล ศึ ก ษ า
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
3 . 3 ส ร้ า ง ต า ร า ง วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ ส อ บ ใ ห้ ต ร ง ตั ว ชี้ วั ด
และจุดประสงค์การเรียนรู ้
3 . 4
นาตารางวิเคราะห์ขอ ้ สอบเสนอคณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์พิจ
ารณาความถูกต้องก่อนนาไปให้ผู้เชีย่ วชาญตรวจสอบความถูกต้องและ
ความสอดคล้องของเนื้อหา
3.5 สร้า งแบบทดสอบวัด ความสามารถในการคิด แก้ปัญหา
เ ป็ น แ บ บ ท ด ส อ บ แ บ บ ป ร นั ย ช นิ ด เ ลื อ ก ต อ บ 4 ตั ว เ ลื อ ก
มากกว่าทีต ่ อ้ งการจริง จานวน 80 ข้อ
3.6 น าแบบทดสอบวัด ความสามารถในการคิ ด แก้ ปั ญ หา
ไ ป ใ ห้ ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ อ ย่ า ง น้ อ ย 5 ปี จ า น ว น 5 ท่ า น
ทีเ่ ป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญชุดเดียวกันกับผูเ้ ชีย่ วชาญทีต ่ รวจประเมินแบบทดสอบ
วัด ผลสัม ฤทธิท ์ างการเรี ย นตรวจสอบลัก ษณะการใช้ ค าถาม ตัว เลื อ ก
ความสอดคล้องกับพฤติกรรมที่ต้องการวัดความถูกต้องทางด้านภาษา
แ ล ะ ค ว า ม เ ที่ ย ง ต ร ง ด้ า น เ นื้ อ ห า
โดยพิจารณาหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับลักษณะพฤ
ติ ก รรม และน าผลการพิ จ ารณาของผู้ เ ชี่ ย วชาญทั้ง 5 ท่ า น มาท า
การวิเ คราะห์ เ พื่อ หาค่า ดัช นี ค วามสอดคล้อ งพบว่า มี ค่า เท่า กับ 1.00
จานวน 56 ข้อ 0.80 จานวน 19 ข้อ 0.60 จานวน 3 ข้อ และ
0 . 4 0 จ า น ว น 2 ข้ อ
หลังจากนัน ้ ผูว้ จิ ยั นาข้อเสนอแนะนาเพิม ่ เติมทีไ่ ด้ไปปรับปรุงแก้ไขแบบ
ทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาให้มีความเหมาะสม
3 . 7
นาแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาทีป
่ รับปรุงแก้ไขตา
ม ค า แ น ะ น า ข อ ง ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ จ า น ว น 7 8 ข้ อ
ไปท ดลองใช้ ก ับ นั ก เรี ย นชั้น ประถ มศึ ก ษาปี ที่ 5 ที่ เ รี ย นเรื่ อ งนี้
ผ่านไปแล้ว จานวน 100 คน
3.8
นากระดาษคาตอบทีน ่ กั เรียนตอบมาตรวจให้คะแนนโดยข้อทีต ่ อบถูกให้

50
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

คะแนน 1 คะแนน ข้อทีต ่ อบผิดหรือตอบเกิน 1 คาตอบ


หรือไม่ตอบให้ 0 คะแนน
3.9 เมือ ่ ตรวจให้คะแนนแล้วนามาวิเคราะห์ ตามขัน ้ ตอน
ดังนี้
3.9.1 วิเคราะห์ขอ ้ สอบรายข้อ คือ หาค่าความยากง่าย
( p) แ ล ะ ค่ า อ า น า จ จ า แ น ก ( r) ข อ ง แ บ บ ท ด ส อ บ เ ป็ น ร า ย ข้ อ
โ ด ย ค า น ว ณ จ า ก สู ต ร ( ว ร ร ณี แ ก ม เ ก ตุ , 2 5 5 1 )
คัด เลื อ กข้ อ สอบที่ มี ค่ า ความยากง่ า ยที่ มี ค่ า อยู่ ร ะหว่ า ง 0.20 -0.80
แ ล ะ ค่ า อ า น า จ จ า แ น ก ตั้ ง แ ต่ 0 . 2 0 ขึ้ น ไ ป ซึ่ ง แ บ บ ท ด ส อ บ
ที่ ผู้ วิ จั ย ส ร้ า ง ขึ้ น มี ค่ า ค ว า ม ย า ก ง่ า ย ร ะ ห ว่ า ง 0 . 3 2 - 0 . 8 2
และค่าอานาจจาแนกระหว่าง 0.23-0.63
3 . 9 . 2
น า แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า
ที่ คั ด เ ลื อ ก แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง แ ล้ ว จ า น ว น 3 0 ข้ อ
ไ ป ท ด ส อ บ กับ นั ก เ รี ย น ชั้น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 จ า น ว น 5 3 ค น
ที่ ไ ม่ ใ ช่ นั ก เ รี ย น ใ น ข้ อ 3 . 7
เพือ ่ หาค่าความเชือ ่ มั่นของแบบทดสอบโดยใช้สูตร KR-20 ของ คูเดอร์
ริ ช าร์ ด สัน (ล้ ว น สายยศ และอัง คณา สายยศ, 2538)
โ ด ย แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า
ทัง้ ฉบับมีคา่ ความเชือ ่ มั่นเท่ากับ 0.89

การวิเคราะห์ขอ ้ มูล
1.ห า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
โดยท าการวิ เ คราะห์ ป ระสิ ท ธิ ภ าพตามเกณฑ์ ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 80/80
ใช้สูตร E1/E2
2.เ ป รี ย บ เ ที ย บ แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น
ก่ อ น ก า ร ใ ช้ ชุ ด ก า ร ส อ น
แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่ แ ล ะ ห ลั ง ก า ร ใ ช้ ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
โดยใช้สถิตท ิ ดสอบ t-test for Dependent
3.เปรียบเทียบแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หา
ก่อนการใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีแ ่ ละหลังการใช้ชุดการสอนแบบอริ
ยสัจสี่ โดยใช้สถิตท ิ ดสอบ t-test for Dependent

ผลการวิจยั

51
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

1 .
ผลการวิเคราะห์การหาประสิทธิภาพของชุดการสอนแบบอริยสัจสีข ่ องนั
กเรี ย น ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 ตามเกณฑ์ 80/80
ปรากฏผลในตารางที่ 1

ต า ร า ง ที่ 1
ผลการวิเคราะห์การหาประสิทธิภาพของชุดการสอนแบบอริยสั
จสีข
่ องนักเรียน ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4 ตามเกณฑ์
80/80

n A X B F E1/E2
53 60 2,589 30 1,381 81.42/86.85

จ า ก ต า ร า ง ที่ 1 พ บ ว่ า
ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สัจ สี่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ท่ า กับ 81.42/86.85
ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์ทก ี่ าหนดไว้จงึ เป็ นไปตามสมมติฐาน 80/80
2.
ผลการวิเคราะห์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนของนักเ
รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
โดยนาคะแนนความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนและหลังการใช้ชุดการ
สอนแบบอริยสัจสี่ มาเปรียบเทียบ โดยใช้ t-test Dependent
ปรากฏผลในตารางที่ 2 ดังนี้

ตารางที่ 2
์ างการเรียนของนัก
ผลการวิเคราะห์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท
เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
ก่อนและหลังการใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสี่

n  S.D D D
2 df t
Pretest 53 14.83 3.20
593 7,361 52 21.79**
Posttest 53 26.06 1.87
**มีนยั สาคัญทางสถิตท
ิ รี่ ะดับ .01

52
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

จ า ก ต า ร า ง ที่ 2 พ บ ว่ า
การใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีส ่ ูงกว่าก่อนการใช้ชุดการสอนแบบอริยสั
จสีอ ิ รี่ ะดับ .01 ซึง่ เป็ นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2
่ ย่างมีนยั สาคัญทางสถิตท

3 .
ผลการวิเคราะห์แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปญ ั ห
า ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
โดยนาคะแนนความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนและหลังการใช้ชุดการ
ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่ ม า เ ป รี ย บ เ ที ย บ โ ด ย ใ ช้ t-test Dependent
ปรากฏผลในตารางที่ 3 ดังนี้

ต า ร า ง ที่ 3
ผลการวิเคราะห์แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปญ ั
หาของนัก เรี ย น ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4
ก่อนและหลังการใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสี่

n  S.D D D
2 df t
Pretest 53 13.81 2.23
536 6,042 52 21.30**
Posttest 53 23.92 2.75
**มีนยั สาคัญทางสถิตท
ิ รี่ ะดับ .01

จ า ก ต า ร า ง ที่ 3 พ บ ว่ า
หลังการใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีส ่ ูงกว่าก่อนการใช้ชุดการสอนแบบ
อ ริ ย สั จ สี่ อ ย่ า ง มี นั ย ส า คั ญ ท า ง ส ถิ ติ ที่ ร ะ ดั บ . 0 1
ซึง่ เป็ นไปตามสมมติฐานข้อที่ 3

อภิปรายผลการวิจยั
1 .
การพัฒนาชุดการสอนแบบอริยสัจสีข ่ องนักเรียนชัน ้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
มี ป ระสิท ธิภ าพตามเกณฑ์ 80/80 ซึ่ ง สอดคล้อ งกับ สมมติฐ านข้อ ที่ 1
ซึ่ ง พ บ ว่ า มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ท่ า กั บ 8 1 . 4 2 แ ล ะ 8 6 . 8 5
ต า ม ล า ดั บ ซึ่ ง ห ม า ย ถึ ง
ชุดการสอนมีคุณภาพเป็ นไปตามเกณฑ์ทีก ่ าหนดไว้ทง้ ั นี้เป็ นผลเนื่องมา
จาก

53
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

1.1 ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น
และแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาทีผ ้ มีค่
่ วู้ จิ ยั สร้างขึน
า ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น สู ง เ นื่ อ ง จ า ก ไ ด้ ผ่ า น ขั้ น ต อ น
ก า ร ส ร้ า ง อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
มีการศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
แ ล ะ ศึ ก ษ า ง า น วิ จั ย ที่ เ กี่ ย ว กั บ ชุ ด ก า ร ส อ น
งานวิ จ ยั การสอนคิ ด แบบอริ ย สัจ สี่ งานวิ จ ยั ผลสัม ฤทธิ ์ท างการเรี ย น
แ ล ะ ง า น วิ จั ย ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า
รวมถึงผ่านการตรวจสอบของอาจารย์ทป ี่ รึกษาและผูเ้ ชีย่ วชาญอย่างน้อย
5 ปี จ า น ว น 5 ท่ า น
จึ ง ส่ ง ผ ล ใ ห้ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ทต ี่ ง้ ั ไว้
1.2 ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
เ ป็ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้ ด้ ว ย สื่ อ ก า ร เ รี ย น รู ้ ที่ ห ล า ก ห ล า ย
มี รู ป ภ า พ ป ร ะ ก อ บ
มี กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ แ บ บ ฝึ ก หั ด ที่ น่ า ส น ใ จ ม า ใ ช้ ใ น ก า ร ท ด ล อ ง
ซึ่งมีความเหมาะสมกับวัยของนักเรียนระดับประถมศึกษาโดยเฉพาะนัก
เ รี ย น ร ะ ดั บ ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 เ นื่ อ ง จ า ก มี สื่ อ
การเรี ย นรูท ้ ี่น่า สนใจในการเรีย นรูข ้ องนัก เรีย น เกิด ความสนุ ก สนาน
การให้ น ก ั เรี ย นทุ ก คนมี ส่ ว นร่ ว มในการปฏิบ ต ั ิกิ จ กรรมด้ ว ยตนเอง
และแสดงความคิ ด เห็ น ช่ ว ยให้ น ัก เรี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ ไ ด้ ดี ที่ สุ ด
สอดคล้องกับงานวิจยั ของ ศุภกิจ ประชุมกาเยาะมาต (2552) ได้กล่าวว่า
ผู้ เ รี ย น จ ะ มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ
ต า ม ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง แ ต่ ล ะ บุ ค ค ล น อ ก จ า ก นี้
ยั ง ท ร า บ ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม นั้ น ๆ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
ทาให้ไม่น่าเบื่อหน่ ายในการเรีย นและผู้เรีย นยังสามารถกลับ ไปศึก ษา
เ รื่ อ ง ที่ ต น เ อ ง ไ ม่ เ ข้ า ใ จ ใ ห ม่ ไ ด้
อีกทัง้ ชุดการสอนยังช่วยเพิม ่ ประสิทธิภาพในการเรียนรูถ ้ งึ แม้ครูจะขาด
ความช านาญ สอดคล้อ งกับ งานวิ จ ยั ของ พระครู ป ลัด บุ ญ ยัง ทุ ลฺ ล โภ
(สุนทรวิภาต) (2554) ได้กล่าวว่า ขัน ้ ต่าง ๆ ของอริยสัจ 4 และขัน ้ ต่าง
ๆ ของวิ ธี ก ารแห่ ง ปั ญ ญา นั้ น ค ล้ า ย ค ลึ ง กัน เต็ มที่ จะก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า
แบบเดียวกันก็ไม่ผด ิ คือ ต่างก็เป็ นวิธีการหาเหตุผลและแก้ปญ ั หานั่นเอง
ดั ง นั้ น นั บ ว่ า เ ป็ น สิ่ ง ม หั ศ จ ร ร ย์ ไ ม่ ใ ช่ น้ อ ย
ทีโ่ ลกตะวันออกและโลกตะวันตก ค้นพบวิธีการออกมาได้อย่างเดียวกัน

54
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

โดยทีไ่ ม่ได้ทราบซึง่ กันและกันเลย ต่างคนต่างคิดออกมา แต่สงั เกตได้วา่


พระพุ ท ธองค์ ไ ด้ ท รงใช้ วิ ธี ก ารนี้ ม า 2549 ปี มาแล้ ว อี ก ทั้ง พิ จิ ต ร
อุ ต ต ะ โ ป น ( 2 5 5 0 )
ได้ทาการวิจยั เพือ ่ ศึกษาผลการเรียนรูโ้ ดยใช้ปญ ั หาเป็ นฐานจากการสร้า
ง ชุ ด การเรี ย นการสอนโดยใช้ ปั ญ หาเป็ นฐาน พบว่ า
นัก เรี ย นมี ผ ลการเรี ย นรู ้ผ่ า นเกณฑ์ เ ป็ นจ านวนมากกว่ า ร้อ ยละ 60
ขึน ้ ไปของจานวนนักเรียนทัง้ หมดทีร่ ะดับนัยสาคัญ .01 และ วิไลลักษณ์
มี ทิ ศ ( 2 5 5 1 )
ได้ทาการศึกษาการสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึ กทักษะการคิด
ค า น ว ณ ด้ า น ก า ร คู ณ ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3
ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว่ า 1 )
แบบฝึ กทักษะการคิดคานวณด้านการคูณของนักเรียนชัน ้ ประถมศึกษา
ปี ที่ 3 มี ป ระสิท ธิภ าพ 87.74/83.47 และ 2) ทัก ษะการคิด ค านวณ
ด้ า น ก า ร คู ณ ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3
ห ลั ง ก า ร ใ ช้ แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด ค า น ว ณ
ด้ า น ก า ร คู ณ สู ง ก ว่ า ก่ อ น ก า ร ใ ช้ แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด ค า น ว ณ
ด้านการคูณ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตท ิ รี่ ะดับ .01
2.ผลสัม ฤทธิท ์ างการเรี ย นของนัก เรี ย นชั้นประถมศึก ษาปี ที่ 4
ห ลั ง ก า ร ใ ช้ ชุ ด ก า ร ส อ น
แบบอริยสัจสีส ่ ูงกว่าก่อนการใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีอ ่ ย่างมีนยั สาคั
ญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเป็ นไปตามสมมติฐานข้อ ที่ 2
จ า ก ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว่ า
ผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนหลังการใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีส ่ ูงกว่าก่อน
การใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีท ่ ง้ ั นี้เป็ นผลเนื่องมาจาก
2 . 1
ชุดการสอนแบบอริยสัจสีม ่ ีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมกับ
ผู้ เ รี ย น เ พ ร า ะ
ชุ ด การสอนแบบอริ ย สัจ สี่ป ระกอบด้ว ยรู ป ภาพประกอบแบบฝึ กหัด
ช่ ว ย ดึ ง ดู ด ค ว า ม ส น ใ จ ข อ ง ผู้ เ รี ย น
ร ว ม ถึ ง ค า ถ า ม ที่ ช่ ว ย พั ฒ น า ผ ล ก า ร เ รี ย น ใ ห้ สู ง ขึ้ น
มีขน ้ ั ตอนการสอนแบบอริยสัจสี่ทเี่ ป็ นระบบ ใช้ภาษาเข้าใจง่าย น่ าสนใจ
การเรียนการสอนจะเน้นการเรียนรูแ ้ ละการคิดแก้ปญ ั หาด้วยตนเองโดย
ใช้สือ ่ การเรียนรูท ้ ห
ี่ ลากหลาย เช่น เครือ ่ งฉายสไลด์ คลิปวิดโี อ
ห นั ง สื อ พิ ม พ์ แ ล ะ ก า ร แ ส ด ง บ ท บ า ท ส ม มุ ติ
นั ก เ รี ย น เ ป็ น ผู้ ฝึ ก กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น กิ จ ก ร ร ม
นักเรียนสามารถเข้าใจปัญหาและแก้ปญ ั หาได้จริงในคาถามและสถานก

55
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

า ร ณ์ ต่ า ง ๆ
ที่ ค รู ก าหนดให้ น ัก เรี ย นได้ แ ลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น กับ กลุ่ ม เพื่ อ น
ซึ่งสื่อ การเรี ยนรู ด ้ งั กล่าว ช่วยกระตุ้นให้นก ั เรี ย นเกิดความสนุ ก สนาน
มีความสนใจ และไม่รส ู้ ก
ึ เบือ
่ หน่ ายในการเรียน
2 . 2
ชุดการสอนแบบอริยสัจสี่เป็ นวิธีการจัดการเรียนรูต ้ ามขัน
้ ตอน
ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
มี ก ารประยุ ก ต์ ป รุ ง แต่ ง เพื่ อ ให้ เ หมาะสมที่ น าไปใช้ ใ นโรงเรี ย น
โดย เฉพาะส าหรับ นั ก เรี ย น ชั้น ประถ มศึ ก ษาปี ที่ 4
ซึ่งมีขน ้ ั ตอนการจัดการเรียนรู ้ ดังนี้ 1) ทุกข์ คือ ขัน ้ การกาหนดปัญหา
2) สมุ ท ยั คื อ ขั้น ตั้ง สมมติฐ าน (หาสาเหตุ ข องปัญ หา) 3) นิ โ รธ คื อ
ขัน ้ หาแนวทางในการแก้ปัญหา ด้วยวิธีการค้นคว้า และ 4) มรรค คือ
ขั้น ด าเนิ น ก ารแก้ ปั ญ หาตามแนวท าง (สาโรช บัว ศรี , 2528 )
ก า ร ส อ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น คิ ด เ ป็ น คื อ
ก า ร พัฒ น า ผู้ เ รี ย น ใ ห้ ส า ม า ร ถ น า ค ว า ม รู ้ ค ว า ม จ า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ
และประสบการณ์ ที่ส ะสมไว้ ออกมาใช้แ ก้ปัญ หาได้อ ย่า งสร้า งสรรค์
แ ล ะ ส า ม า ร ถ แ ก้ ปั ญ ห า ที่ เ ป็ น อ ยู่
ในสถานการณ์ ทีแ ่ ตกต่างกันได้อ ย่างมีประสิทธิภาพ (สุมน อมรวิวฒ ั น์ ,
2530) การคิด แก้ ปัญ หานี้ วิ ภ าพรรณ พิ น ลา (2554)
ทีไ่ ด้ศก ึ ษาผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
และความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้
แบบซิ ป ปากับ การจัด การเรี ย นรู ้แ บบอริย สัจสี่ ผลการวิเคราะห์ พ บว่ า
นั ก เ รี ย น ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้ แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
มีความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึง่ สาโรช
บั ว ศ รี ( 2 5 2 8 ) ไ ด้ ย้ า ว่ า วิ ธี ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
เป็ นวิ ธี เ ดี ย วกับ การแก้ ปั ญ หาเป็ นขั้น ตอนการคิ ด อย่ า งมี ร ะบบ
แ ล ะ เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ ช้ ค ว า ม คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า อ ย่ า ง มี เ ห ตุ ผ ล
ห รื อ เ รี ย ก อี ก อ ย่ า ง ห นึ่ ง ว่ า วิ ธี ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ดั ง นั้ น
ผูส้ อนซึ่งมีบทบาทสาคัญและใกล้ชิดกับนักเรียนมากทีส ่ ุดรองจากพ่อแม่
ผูป
้ กครองมีความจาเป็ นต้องเชือ ่ มโยงวิธีการเรียนรูใ้ นเนื้อหาวิชากับสภา
พ ปั ญ ห า แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ จ ริ ง
โดยเน้นกระบวนการคิดอย่างเป็ นระบบและมีเหตุผลด้วยขัน ้ ตอนการสอ
น คิ ด แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
เพือ ่ ใช้เป็ นพื้นฐานในการพัฒนาความรูแ ้ ละความสามารถในการคิดแก้

56
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

ปั ญ หาให้ เ กิ ด ขึ้ น ในตัว ผู้ เ รี ย น จากเหตุ ผ ลดัง กล่ า วสนับ สนุ น ได้ ว่ า
นั ก เ รี ย น ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ส อ น ด้ ว ย ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
มี ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น
หลังเรียนโดยใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีส ่ ูงกว่าก่อนเรียน
3 .
การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาของนักเรียนชั้
น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
หลังการใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีส ่ ูง กว่าก่อนการใช้ชุดการสอนแบบ
อ ริ ย สั จ สี่ อ ย่ า ง มี นั ย ส า คั ญ ท า ง ส ถิ ติ ที่ ร ะ ดั บ . 0 1
ซึ่ ง เ ป็ น ไ ป ต า ม ส ม ม ติ ฐ า น ข้ อ ที่ 3 จ า ก ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว่ า
ความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาหลังการใช้ชุดการสอนแบบอริยสัจสีส ่ ู
ง ก ว่ า ก่ อ น ก า ร ใ ช้ ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
ทั้ ง นี้ เ ป็ น ผ ล เ นื่ อ ง ม า จ า ก ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
เ ป็ น วิ ธี ก า ร ส อ น ต า ม ขั้ น ต อ น ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
เพือ ่ ให้นกั เรียนสามารถลาดับขัน ้ ตอนความสาคัญในการแก้ปญ ั หาได้อย่
า ง เ ป็ น ร ะ บ บ แ ล ะ เ ข้ า ใ จ ง่ า ย มี เ นื้ อ ห า
กิจกรรมและสือ ่ การเรียนรูท้ ีเ่ หมาะสมสาหรับนักเรียนระดับชัน ้ ประถมศึ
กษาปี ที่ 4 มี บ รรยากาศ ในการเรี ย นรู ้อ ย่ า งสนุ ก สนาน
นัก เรีย นทุก คนมี ส่ว นร่วมในการคิด แสดงความคิด เห็ นที่ห ลากหลาย
ซึ่งท าให้นก ั เรี ย นได้ข้อ สรุ ป แนวทางการแก้ปัญ หาที่เ หมาะสมร่ว มกัน
นั ก เ รี ย น ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ด้ ว ย ต น เ อ ง
โดยมี ค รู เ ป็ นผู้ ค อยให้ ค าแนะน า ช่ ว ยเหลื อ และชี้ แ นะ แนวทางให้
รวมถึ ง มี ก ารตั้ง ค าถาม ที่ เ ป็ นสถานการณ์ หรื อ ปั ญ หา
ช่ว ยพัฒ นาการคิด แก้ปัญ หาของผู้เ รี ย น ท าให้ผู้เ รี ย นมี ผ ลการเรี ย นรู ้
ที่สู งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ วุ ฒิไกร โพธิน ์ าฝาย (2551) คือ
คุ ณ ค่ า ข อ ง ชุ ด ก า ร ส อ น ช่ ว ย เ ร้ า ค ว า ม ส น ใ จ
ผู้ เ รี ย นที่ เ รี ย นโดยใช้ ชุ ด การสอน จะประกอบกิ จ กรรมด้ ว ยตนเอง
ซึ่ ง จ ะ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ท า ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ส น ใ จ ต่ อ ก า ร เ รี ย น ต ล อ ด เ ว ล า
อีกทัง้ การสอนให้ผเู้ รียนมีความสามารถในการคิดนัน ้ มีหลายวิธีดว้ ยกัน
วิ ธี ก ารหนึ่ ง คื อ วิ ธี คิ ด แบบอริ ย สัจ สี่ หรื อ คิ ด แบบแก้ ปัญ หานั้น ถื อ ว่า
เ ป็ น วิ ธี ส อ น แ ม่ บ ท คื อ
เป็ นวิธีแก้ปญ ั หาทีอ่ งค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าใช้ในการแก้ปญ ั หาอัน
ยิ่ ง ใ ห ญ่ ใ น ชี วิ ต ก ล่ า ว คื อ ก า ร ดั บ ทุ ก ข์
เป็ นขัน ้ ตอนของการคิดอย่างมีระบบหรือพูดอีกนัยหนึ่งคือเป็ นกระบวน
การของ การใช้ความคิดหรือการใช้ปญ ั ญา (พระมหาประเสริฐ
พรมลา, 2554) สอดคล้องกับงานวิจยั ของ สมใจ มีสมวิทย์

57
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

(2548) ทีไ่ ด้ทาการศึกษาวิจยั ผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนและความสามารถ


ในการแก้ปัญ หาทางวิท ยาศาสตร์ ข องนัก เรี ย นชั้น มัธ ยมศึก ษาปี ที่ 1
ไ ด้ รั บ ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ 4 ผ ล ก า ร วิ จั ย ส รุ ป ไ ด้ ว่ า
ผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยสอนแบบอริยสัจ 4
หลัง เรี ย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย น อย่ า งมี น ัย ส าคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .01
และความสามารถ ในการแก้ ปั ญ หาทางวิ ท ยาศาสตร์ ข องนัก เรี ย น
โดยสอนแบบอริ ย สัจ 4 หลัง เรี ย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่า งมี น ยั ส าคัญ
ทางสถิตท ิ รี่ ะดับ .01

สรุปผลการวิจยั
1.
ชุดการสอนแบบอริยสัจสีท ่ ส
ี่ ร้างขึน ้ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มา
ตรฐาน 81.42/86.85
2.
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนกลุม ่ สาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึก
ษ า ส า ห รั บ นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
ที่ได้รบ ั การสอนด้วยชุ ดการสอนแบบอริยสัจสี่ หลังเรียน ( X = 26.60,
S.D. 1 . 8 7 ) สู ง ก ว่ า ก่ อ น เ รี ย น ( X = 14.90, S.D. 3.20)
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตท ิ รี่ ะดับ .01
3.
ความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาทางกลุม ่ สาระการเรียนรูส้ ุขศึก
ษ า แ ล ะ พ ล ศึ ก ษ า ส า ห รั บ นั ก เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4
ทีไ่ ด้รบ
ั การสอนด้วยชุดการสอนแบบอริยสัจสี่ หลังเรียน (X
= 23.92, S.D. 2.80) สู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย น ( X = 13.81, S.D. 2.23)
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .01

ข้อเสนอแนะ
1.ค รู ผู้ ส อ น ใ น วิ ช า ต่ า ง ๆ
ควรใช้ ชุ ด การสอนแบบอริ ย สัจ สี่ไ ปทดลองใช้ ก บ ั นัก เรี ย นในระดับ
ชั้ น ต่ า ง ๆ เ พ ร า ะ ก า ร ส อ น ด้ ว ย ชุ ด ก า ร ส อ น แ บ บ อ ริ ย สั จ สี่
เป็ นการจัดการเรียนรูต ้ ามขัน ้ ตอนการสอนคิดแบบอริยสัจสีท ่ ีช
่ ว่ ยพัฒนา
ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า ใ ห้ กั บ นั ก เ รี ย น
เ ป็ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ น ั ก เ รี ย น รู ้ จ ัก คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
สามารถนาวิธีการแก้ปญ ั หาแบบอริยสัจสี่ มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปญ ั หา
ไ ด้ จ ริ ง ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น

58
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

และสามารถเลื อ กวิธี ก ารแก้ปัญ หาที่เ หมาะสมให้ก บ ั ตนเองได้อ ย่างดี


เนื่องจากสภาพปัจจุบน ั ประเทศไทยกาลังมีการเปลีย่ นแปลงด้านต่าง ๆ
ม า ก ม า ย
ชีวติ ของแต่ละบุคคลจึงต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทีก ่ าลังเปลีย่
น แ ป ล ง ไ ป ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ก็ ต้ อ ง ป ร ะ ส บ กั บ ปั ญ ห า
น า น า ช นิ ด แ ล ะ ต้ อ ง พ ย า ย า ม แ ก้ ปั ญ ห า อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า
ดั ง นั้ น เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ อ ยู่ ร อ ด ใ น สั ง ค ม ไ ด้ อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข
ผู้ ส อ น ซึ่ ง มี บ ท บ า ท ส า คั ญ
จึงควรส่งเสริมนักเรียนให้ฝึกการแก้คด ิ แก้ปญ ั หาอย่างเป็ นระบบ
2.การจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ด้ ว ยชุ ด การสอนแบบอริ ย สัจ สี่
จ ะ ต้ อ ง ใ ช้ เ ว ล า ต่ อ เ นื่ อ ง
หากสามารถจัด ตารางเรี ย นที่มี ค าบการเรี ย นการสอนต่อ เนื่ อ งกัน ได้
จะทาให้เกิดประสิทธิภาพมากขึน ้ ชุดการสอนทีม ่ ีประสิทธิภาพ
ควรจัด อย่ า งน้ อ ย 1-2 คาบ หรื อ จัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ใ ห้ เ สร็ จ สิ้ น
ภายใน 1 คาบ ให้ครบตามขัน ้ ตอนการสอนแบบอริยสัจสี่
3.ใ น ก า ร จั ด ท า สื่ อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
ค ว ร เ ลื อ ก ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ วั ย ข อ ง ผู้ เ รี ย น มี ค ว า ม น่ า ส น ใ จ
แ ล ะ ใ ช้ วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ที่ ห ล า ก ห ล า ย
ส า ม า ร ถ ห า ไ ด้ ใ น ท้ อ ง ถิ่ น ทั น ส มั ย แ ล ะ เ ป็ น ปั จ จุ บั น
ซึ่งจะช่วยทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนรูบ ้ รรลุวตั ถุประสงค์มากยิ่งขึน ้

เอกสารอ้างอิง
กรมสุขภาพจิต, กระทรวงสาธารณสุข. (2543).
คูม
่ ือความฉลาดทางอารมณ์ . กรุงเทพฯ:
ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551ก).
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศ
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551ข).
ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรูแ
้ กนกลาง กลุม่ สาระสุขศึกษา
และพลศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน

59
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

2551. กรุงเทพฯ:
ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551ค).
แนวปฏิบตั ก ิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรูต ้ ามหลักสูตรแกนก
ลางการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:
ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย.
จตุพล ยงศร. (2554).
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศในประชาคม
อาเซียน
โดยวิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงสหวิทยาการของจอร์ช
เบอร์เรเดย์. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช.
24(1): 43-58.
ฉันทนา ภาคบงกช และอุษา ศรีจน ิ ดารัตน์ . (2552).
ปัจจัยเชิงสาเหตุดา้ นการจัดการศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาแ
ละสภาพแวดล้อมทางครอบครัวและโรงเรียนทีม ่ ีตอ่ ความสุขใจแ
ละพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนระดับประถมศึกษา:
การศึกษาต่อเนื่องหลายระยะ. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นารีรตั น์ ฟักสมบูรณ์ . (2541).
การใช้ชุดส่งเสริมศักยภาพทางวิทยาศาสตร์ในการพัฒนาความส
ามารถในการคิดแก้ปญ ั หาวิทยาศาสตร์
และบุคลิกภาพนักวิทยาศาสตร์
ของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1.
ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
วิชาเอกการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บงกชรัตน์ สมานสินธุ์. (2551).
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบอริยสัจ 4 ทีม ่ ีตอ่ ความสามารถ
ในการแก้ปญ ั หาและทักษะการเชือ ่ มโยงทางคณิตศาสตร์ของนัก
เรียนชัน
้ มัธยมศึกษา ปี ที่ 5.
ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พระครูปลัดบุญยัง ทุลฺลโภ (สุนทรวิภาต). (2554).
การบริหารงานวิชาการตามหลักอริยสัจ ๔
ของบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนประถมศึกษา

60
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

อาเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี.
ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาประเสริฐ พรมลา. (2554).
การศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาและ
ความรับผิดชอบต่อการเรียนวิชาภาษไทย
ของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
ทีไ่ ด้รบั การสอนแบบอริยสัจ 4 กับการสอนตามคูม ่ ือครู.
ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาววิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พระราชบัญญัตก ิ ารศึกษาแห่งชาติ 2542. (2552).
พระราชบัญญัตก ิ ารศึกษาแห่งชาติ 2542.กรุงเทพฯ:
สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
พิจต
ิ ร อุตตะโปน. (2550).
ชุดการเรียนการสอนโดยใช้ปญ ั หาเป็ นฐาน
เรือ่ งการวิเคราะห์ขอ ้ มูลเบื้องต้น ระดับชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3.
ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาคณิตศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538).
เทคนิคการวิจยั ทางการศึกษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ:
สุวีรยิ าสาส์น.
วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวท ิ ยาการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์ .
กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิจยั และจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
วิจารณ์ พานิช. (2556). การสร้างการเรียนรูส้ ูศ ่ ตวรรษที่ 21.
กรุงเทพฯ: ส.เจริญการพิมพ์.
วิภาพรรณ พินลา. (2554).
การศึกษาผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนสังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรมและความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หาของนักเรีย
นชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ทีไ่ ด้รบ
ั การจัด การเรียนรูแ ้ บบซิปปา
กับการจัดการเรียนรูแ ้ บบอริยสัจสี่. ปริญญานิพนธ์
การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

61
Valaya Alongkorn Review
Vol. 5 No. 1 January-June 2015

วิไลลักษณ์ มีทศ ิ . (2551).


การสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึ กทักษะการคิดคานวณ
ด้านการคูณของนักเรียนชัน ้ ประถมศึกษาปี ที่ 3.
ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วุฒไิ กร โพธิน ์ าฝาย. (2551). การพัฒนาชุดการเรียน
หลักสูตรระยะสัน ้ วิชางานตัง้ ศูนย์ ถ่วงล้อรถยนต์
โดยจัดการเรียนรูแ ้ บบศูนย์การเรียนของวิทยาลัยชุมชน
กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศกลวรรณ นภาพร. (2554).
การพัฒนาชุดกิจกรรมเสริมทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
สาหรับนักเรียนชัน ้ ประถมศึกษาปี ที่ 6.
ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศุภกิจ ประชุมกาเยาะมาต. (2552).
การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปญ ั หา
ทางคณิตศาสตร์
และความฉลาดทางอารมณ์ ของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
ทีไ่ ด้รบ ั การสอนโดยใช้ชุดการเรียนแบบเรียนเป็ นคู่ (Learning
Cell)
ทีเ่ น้นการแก้ปญ ั หากับการสอนตามปกติ.
ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สมใจ มีสมวิทย์. (2548).
การศึกษาผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนและความสามารถในการแก้ปั
ญหา ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ทีไ่ ด้รบั การสอนแบบอริยสัจสัจ 4.
สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาววิชาการมัธยมศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

62
วารสารวไลยอลงกรณ์ ปริทศั น์
ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

สาโรช บัวศรี. (2528). การศึกษาค้นคว้าทางปรัชญาการศึกษา.


กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545).
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545-2559): ฉบับสรุป.
กรุงเทพฯ: สานักนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สุภาวรรณ ด่านสกุล. (2539).
การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปญ ั หา และ
การพึง่ ตนเองของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
ทีไ่ ด้รบั การสอนโดยใช้ชุดกิจกรรม
ตามวิธีทางวิทยาศาสตร์กบ ั การสอนตามคูม ่ ือการจัดกิจกรรม.
ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาววิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุมน อมรวิวฒ ั น์. (2530).
การสอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ. กรุงเทพฯ:
โอ.เอส.พริน ้ ติง้ .เฮ้าส์.
เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต. (2528). เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

63

You might also like