You are on page 1of 11

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรือ
่ ง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มทั รี

โดย
นายชินภัทร แซ่กงั ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๓ เลขที่ ๑๒
นางสาวภัคธีมา ศิวเวทพิกุล ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๓ เลขที่ ๑๔
นายพีรวิทย์ สุขพานิช ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๓ เลขที่ ๑๖
นายธนกร เตชะดิลก ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๓ เลขที่ ๑๘

เสนอ
อ.พนมศักดิ ์ มนูญปรัชญาภรณ์

ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน


(Project Based Learning)
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรมระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕
คานา

รายงานเล่ ม นี้ เ ป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของวิ ช าภาษาไทยชั้น มัธ ยมศี ก ษาปี ที่ ๕
จัดทาขึน้ มาเพือ ่ ให้ผอู้ า่ นเข้าใจเรือ
่ ง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มทั รี ได้มากขึน ้
โ ด ย ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ว ร ร ณ ค ดั ง ก ล่ า ว ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย ด้ า น เ นื้ อ ห า
และกลวิธีในการแต่ง การใช้ภาษา และด้านคุณค่าของวรรณคดี
โ ด ย ผู้ จั ด ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ว่ า
ร า ย ง า น ฉ บั บ นี้ จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ผู้ อ่ า น ไ ม่ ม า ก ก็ น้ อ ย
หากมีขอ ้ ผิดพลาดประการใด ทางผูจ้ ดั ทาจึงขออภัยมา ณ ทีน ่ ี้
ผูจ้ ดั ทา
สารบัญ

คานา ก.
สารบัญ
ข.
๑. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดดีและวรรณกรรม
๑.๑ เนื้อเรือ
่ ง

๑.๒ โครงเรือ ่ ง

๑.๓ ตัวละคร

๑.๔ ฉากท้องเรือ ่ ง ๒
๑.๕ บทเจรจาหรือราพึงพัน

๑.๖ แก่นเรือ ่ งหรือสารัตถะของเรือ
่ ง

๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคีและวรรณกรรม
๒.๑ การสรรคา

๒.๒ การเรียบเรียงคา

๒.๓ การพิจารณาการใช้โวหารในวรรณคดีและวรรณกรรม

๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุม
้ ค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
๓.๑ คุณค่าทางการใช้ภาษา

๓.๒ คุณค่าทางศีลธรรม

๓.๓ คุณค่าทางวัฒนธรรม

บรรณานุกรม

๑. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
๑.๑ เนื้อเรือ ่ ง
ใ น คื น ก่ อ น รุ่ ง เ ช้ า ที่ พ ร ะ น า ง มั ท รี จ ะ เ ส ด็ จ อ อ ก จ า ก อ า ศ ร ม
เข้ า ป่ าไปเก็ บ ผลไม้ เ ป็ นอาหารของพระเวสสัน ดรและพระกุ ม ารทั้ง สอง
พ ร ะ น า ง ท ร ง ฝั น ร้ า ย แ ล ะ ทู ล ข อ ใ ห้ พ ร ะ เ ว ส สั น ด ร ท า น า ย ฝั น ใ ห้
แ ม้ พ ร ะ เ ว ส สั น ด ร จ ะ ท ร ง เ ส ก ล บ เ ก ลื่ อ น แ ล ะ ไ ม่ ท า น า ย ฝั น
แ ต่ พ ร ะ น า ง ก็ ยั ง ไ ม่ ส บ า ย พ ร ะ ทั ย
ก่อนเข้าป่ าพระนางทรงฝากพระโอรสและพระธิดาแก่พระเวสสันดรให้บรรดาเ
ทพยดาทัง้ หลายต่างก็ปริวต ิ กว่าพระนางจะทรงทุกข์โศกหากกลับออกจากป่ าเร็
วและทราบเรื่อ ง ก็ ค งจะทรงติด ตามไปทวงพระกุ ม ารทั้ง สองคื น จากชู ช ก
อั น จ ะ เ ป็ น เ ห ตุ ใ ห้ พ ร ะ เ ว ส สั น ด ร ท ร ง บ า เ พ็ ญ ท า น บ า ร มี ไ ม่ ส า เ ร็ จ
พระอิ น ทร์ จึ ง สั่ง เทพบริ ว าร ๓ องค์ ใ ห้ แ ปลงกายเป็ นพญาไกรสรราชสี ห์
พ ญ า เ สื อ โ ค ร่ ง แ ล ะ พ ญ า เ สื อ เ ห ลื อ ง ไ ป ส กั ด กั้ น พ ร ะ น า ง มั ท รี ไ ว้
ไ ม่ ใ ห้ ก ลั บ ไ ป ยั ง อ า ศ ร ม ไ ด้ ต่ อ เ มื่ อ เ ว ล า ล่ ว ง เ ล ย ไ ป แ ล้ ว
จึงหลีกทางให้พระนางเสด็จกลับอาศรม
ฝ่ า ย พ ร ะ น า ง มั ท รี
เมือ่ เสด็จเข้าป่ าก็ทรงพบว่าธรรมชาติผด ิ ปกติไปจากทีเ่ คยพบเห็นทีท ่ ีเ่ คยมีผลไ
ม้ ก ลั บ ก ล า ย เ ป็ น ด อ ก ไ ม้ ที่ ที่ เ ค ย มี ด อ ก ไ ม้ ก ลั บ ก ล า ย เ ป็ น มี ผ ล ไ ม้
ทั้ ง ท้ อ ง ฟ้ า ก็ มื ด มิ ด มั ว ม น เ ห็ น ข อ บ ฟ้ า แ ด ง เ ป็ น สี เ ลื อ ด
ท า ใ ห้ พ ร ะ น า ง ป ร ะ ห วั่ น พ รั่ น พ ร ะ ทั ย ยิ่ ง ไ ม้ ค า น พ ลั ด ต ก จ า ก ป่ า
และขอเกีย่ วผลไม้เลือ ่ นหลุดจากมืออย่างทีไ่ ม่เคยเป็ นมาก่อนก็ยงิ่ ไม่สบายพระ
ทั ย พ ร ะ น า ง ท ร ง เ ก็ บ ผ ล ไ ม้ ใ ส่ ก ร ะ เ ช้ า เ พื่ อ จ ะ ไ ด้ รี บ ก ลั บ อ า ศ ร ม
แ ต่ ร ะ ห ว่ า ง ท า ง ก ลั บ ท ร ง พ บ สั ต ว์ ป่ า ทั้ ง ส า ม
พ ร ะ น า ง ท ร ง อ้ อ น ว อ น ข อ ท า ง จ า ก สั ต ว์ ป่ า นั้ น เ ป็ น เ ว ล า น า น
ต่ อ เ มื่ อ พ ร ะ จั น ท ร์ ขึ้ น แ ล้ ว สั ต ว์ ทั้ ง ส า ม จึ ง เ ปิ ด ท า ง ใ ห้ ต า ม ค า ข อ
พระนางทรงวิง่ กลับมายังอาศรมก็ไม่พบพระกุมารทัง้ สองทีเ่ คยออกมาต้อนรับเ
ป็ นประจา ท าให้พ ระนางหวาดหวั่นพระทัย ยิ่งนัก เมื่อ ทูลถามพระเวสสันดร
พระองค์ก็ไม่ยอมตรัสด้วย พระนางกลัดกลุม ้ พระทัยและทรงร้องไห้คร่าครวญ
พ ร ะ เ ว ส สั น ด ร ท ร ง เ ห็ น พ ร ะ น า ง เ ศ ร้ า โ ศ ก เ ป็ น อั น ม า ก
จึงหาวิธีตดั ความทุกข์โศกโดยทรงแกล้งกล่าวหาพระนางว่าคิดนอกใจไปคบชา
ย อื่ น จึ ง ไ ด้ ก ลั บ ม า ถึ ง อ า ศ ร ม ใ น เ ว ล า ค่ า คื น
ทาให้พระนางมัทรีเสียพระทัยและทรงคร่า ครวญหาลูกด้วยความวิปโยคจนสิ้น
ส ติ ไ ป เ มื่ อ ฟื้ น ขึ้ น แ ล ะ พ ร ะ เ ว ส สั น ด ร ต รั ส เ ล่ า ค ว า ม จ ริ ง ว่ า
ไ ด้ พ ร ะ ร า ช ท า น พ ร ะ กุ ม า ร ทั้ ง ส อ ง ใ ห้ แ ก่ ชู ช ก ไ ป แ ล้ ว
พระนางจึงทรงค่อยหายโศกเศร้าและอนุโมทนาในการบาเพ็ญทานบารมีของพ
ระเวสสันดร

๑.๒ โครงเรือ ่ ง
ม ห า เ ว ส สั น ด ร ช า ด ก เ ป็ น นิ ท า น
เป็ นชาดกเรื่ อ งสุ ด ท้ า ยของพระพุ ท ธเจ้ า ที่ เ ป็ นมนุ ษย์ ซึ่ ง ประพัน ธ์ โ ดย
เ จ้ า พ ร ะ ย า พ ร ะ ค ลัง ซึ่ ง มี ข อ บ เ ข ต ก า ห น ด เ นื้ อ ห า ไ ว้ เ พี ย ง กัณ ฑ์ มั ท รี
เ นื้ อ ห า ส า คัญ เ ป็ น ห ลัก ข อ ง เ รื่ อ ง ม ห า เ ว ส สัน ด ร ช า ด ก กัณ ฑ์ มัท รี คื อ
ความรักทีข ่ องแม่ทม ี่ ีตอ
่ ลูก และการให้ทานของพระเวสสันดร

๑.๓ ตัวละคร
๑. พระเวสสันดร
พ ร ะ เ ว ส สั น ด ร เ ป็ น ช า ติ สุ ด ท้ า ย ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า
ก่ อ น ที่ จ ะ ต รั ส รู ้ เ ป็ น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า
เป็ นตัวละครทีม ่ ีบทบาทสาคัญอยูใ่ นวรรณคดีเรือ ่ งร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
มี อุ ป นิ สั ย แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ ส า คั ญ คื อ
ก า ร บ ริ จ า ค ท า น พ ร ะ ร า ช กุ ม า เ ว ส สั น ด ร ท ร ง บ ริ จ า ค ท า น ตั้ ง แ ต่ เ กิ ด
พระองค์ยงั มีความเมตตา มีความมานะอดทนต่อความยากลาบากต่างๆ

๒. พระนางมัทรี
พ ร ะ น า ง มั ท รี เ ป็ น พ ร ะ ร า ช ธิ ด า แ ห่ ง ก ษั ต ริ ย์ มั ท ร า ช
อ ภิ เ ษ ก ส ม ร ส กั บ พ ร ะ เ ว ส สั น ด ร
มี พ ร ะ โ อ ร ส ชื่ อ พ ร ะ ช า ลี แ ล ะ มี พ ร ะ ธิ ด า ชื่ อ พ ร ะ กั ณ ห า
พระนางมัทรีเป็ นแบบฉบับของนางในวรรณคดีทเี่ พียบพร้อมไปด้วยคุณสมบัติ
ต่ า งๆทั้ง การเป็ นแม่ ที่ ป ระเสริ ฐ ของลู ก และการเป็ นภรรยาที่ ดี ข องสามี
คือมีความอ่อนน้อม นอบน้อม และอดทน มีคุณธรรมสาคัญคือ ซือ ่ ตรง จงรัก
และหนักแน่ นต่อสามี
๓. พระชาลี
พ ร ะ ช า ลี
เป็ นพระราชโอรสของพระเวสสันดรกับพระนางมัทรีเป็ นพระเชษฐาของพระกั
ณ ห า
พระนัดดาของพระเจ้ากรุงสญชัยและพระนางผุสดีเมือ ่ เวลาประสูตพ ิ ระประยูร
ญาติ ไ ด้ ท รงน าตาข่ า ยทองมารองรับ จึ ง ได้ ร บ ั พระราชทานนามว่ า ชาลี
แปลว่าผูม ้ ีตาข่าย
๔. พระกัณหา
พระกัณ หา เป็ นพระธิ ด าของพระเวสสัน ดรและพระนางมัท รี
เ ป็ น พ ร ะ นั ด ด า ข อ ง พ ร ะ เ จ้ า ก รุ ง ส ญ ชั ย แ ล ะ พ ร ะ น า ง ผุ ส ดี
แ ล ะ เ ป็ น พ ร ะ ก นิ ษ ฐ า ข อ ง พ ร ะ ช า ลี
พระกัณหาเป็ นผูห ้ นึ่งทีท
่ าให้พระเวสสันดรได้บาเพ็ญบุตรทานบารมีซ่ึงเป็ นทา
นอันยิง่ ใหญ่ทม ี่ นุษย์ทง้ ั หลายไม่สามารถทาได้
๕. ชูชก
ชู ช ก
เป็ นผูเ้ กิดในตระกูลพราหมณ์ โภวาทิกชาติซึ่งเป็ นพราหมณ์ พวกทีถ ่ ือตนว่ามีกา
เนิ ดสู ง ก ว่ า ผู้ อื่ น มัก ใช้ ค าว่ า “โภ ”แปลว่ า “ผู้ เ จริ ญ ” เป็ นค าร้ อ งเรี ย ก
แม้ชูชกจะเกิดในตระกูลพราหมณ์ ทีถ ่ ือตนว่ามีกาเนิดสูงกว่าผูอ
้ ืน
่ แต่ชูชกก็ยาก
จ น เ ข็ ญ ใ จ ยิ่ ง ต้ อ ง เ ที่ ย ว ข อ ท า น เ ข า เ ลี้ ย ง ชี พ
ชู ช ก มี บ้ า น อ ยู่ ใ น ห มู่ บ้ า น ทุ น น วิ ฐ ติ ด กั บ เ มื อ ง ก ลิ ง ค ร า ษ ฎ ร์
มีรูปร่างหน้าตาน่ าเกลียด

๑.๔ ฉากท้องเรือ ่ ง
ในเรื่อ งมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ม ท ั รี มี ก ารกล่าวถึงฉากต่าง ๆ เช่น
ฉ า ก ใ น ป่ า ฉ า ก ใ น เ ข า ว ง ก ต ซึ่ ง มี ก า ร ใ ช้ ภ า พ พ จ น์ ต่ า ง ๆ
มาประกอบเพือ ่ ให้ผอ ้
ู้ า่ นเห็นภาพได้งา่ ยยิง่ ขึน

๑.๕ บทเจรจาหรือราพึงราพัน
“ . . . น นุ ม ทฺ ทิ ดู ก ร น า ง น า ฏ พ ร ะ น้ อ ง รั ก ภ ทฺ เ ท
เจ้ า ผู้ มี พ ก ั ผุ ผ่ อ งเสทื อ นหนึ่ ง เอาน้ า ทองเข้ า มาทาบทับ ประเทื อ งผิ ว
ั ตร์ อ น
ร า ว ก ะ ว่ า จ ะ ล อ ย ลิ่ ว เ ลื่ อ น ล ง จ า ก ฟ้ า
ใครได้เห็นเป็ นขวัญตาเต็มหลงละลายทุกข์ปลุกเปลื้องอารมณ์ ชายให้เชยชืน ่ จะ
นั่ ง น อ น เ ดิ น ยื น ก็ ต้ อ ง อ ย่ า ง ว ร า โ ร ห า
พร้อ มด้ว ยเบญจางคจริ ต รู ป จ าเริ ญ โฉมประโลมโลกล่ อ แหลมวิ ไ ลลัก ษณ์
ร า ช ปุ ตฺ ตี ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย เ ชื้ อ ศั ก ดิ ์ ส ม มุ ติิ ว ง ศ์ พ ง ศ์ ก ษั ต ร า
เ อ อ ก็ เ มื่ อ เ ช้ า เ จ้ า จ ะ เ ข้ า ป่ า น่ า ส ง ส า ร ป า น ป ร ะ ห นึ่ ง ว่ า จ ะ ไ ป มิ ไ ด้
ท า ร้ อ ง ไ ห้ ฝ า ก ลู ก มิ รู ้ แ ล้ ว ค รั้ น ค ล า ด แ ค ล้ ว เ ค ลื่ อ น ค ล้ อ ย สู่ ด ง
ป า น ป ร ะ ห นึ่ ง ว่ า จ ะ ห ล ง ลื ม ลู ก ส ล ะ ผั ว ต่ อ มื ด มั ว จึ่ ง ก ลั บ ม า
ท า เ ป็ น บี บ น้ า ต า ตี อ ก ว่ า ลู ก ห า ย ใ ค ร จ ะ ไ ม่ รู ้ แ ย บ ค า ย ค ว า ม คิ ด ห ญิ ง
ถ้ า แ ม้ น เ จ้ า อ า ลั ย อ ยู่ ด้ ว ย ลู ก จ ริ ง ๆ เ ห มื อ น ว า จ า
ก็ จ ะรี บ กลับ เข้า มาแต่วี่ว น ั ไม่ท น ั รอน เออนี่ เ จ้า เที่ย วพเนจรนอนตามสุ ข ใจ
ช ม น ก ช ม ไ ม้ ใ น ไ พ ร วั น ส า ร พั น ที่ จ ะ มี
ทั้ ง ฤ า ษี สิ ท ธิ ์ วิ ท ย า ธ ร ค น ธ ร ร พ์ เ ท พ า รั ก ษ์ ผู้ มี พั ก ต ร์ อั น เ จ ริ ญ
เ ห็ น แ ล้ ว ก็ น่ า เ พ ลิ ด เ พ ลิ น ไ ม่ เ มิ น ไ ด้
ห รื อ เ จ้ า ป ะ ผ ล ไ ม้ ป ร ะ ห ล า ด ร ส ส ด สุ ก ท ร า ม เ ส ว ย ไ ม่ เ ค ย กิ น
เจ้าฉวยชิมชอบลิน ้ ก็หลงฉันอยูจ่ งึ่ ช้า…”

พระเวสสันดรทรงเริม ่ ด้วยการทรงชมความงามและกิรยิ ามารยาทของพ


่ จะทรงตัดพ้อว่าพระนางทรงใช้ความงามและความกิริิ ยามารยา
ระนางมัทรีเพือ
ท ยั่วย วนชายอื่ น ยิ่ ง ก ว่ า นั้ น ก ารเสด็ จ กลับ มาถึ ง อาศรมในยามมื ด ค่ า
ก็ช่างต่างจากความอาลัยของพระนางในตอนเช้าที่ไม่ทรงอยากจากลูกเข้าป่ า
บทตัดพ้อว่าพระนางมัทรีไม่จริงพระทัยและแสดงออกมาอย่างมีมารยาท

๑.๖ แก่นเรือ่ งหรือสารัตถะของเรือ


่ ง
เ พื่ อ ใ ช้ เ ท ศ น์ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ฟั ง
ม ห า เ ว ส สั น ด ร ช า ด ก แ ต่ ง ขึ้ น เ พื่ อ ใ ช้ เ ท ศ น์ ม ห า ช า ติ
เนื่องจากร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกเป็ นชาดกเรือ ่ งใหญ่ทสี่ ุด เป็ นชาติทพี่ ระโ
พธิสตั ว์เสวยพระชาติเป็ นพระเวสสันดรซึ่งเป็ นพระชาติสุดท้ายก่อนจะประสูตเิ
ป็ น เ จ้ า ช า ย สิ ท ธั ต ถ ะ
แล้วเสด็จออกผนวชกระทั่งได้ตรัสรูเ้ ป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็ นเรือ ่ งราวใน
พระชาติที่เ ป็ นพระเวสสัน ดรได้ท รงบ าเพ็ ญ ทศบารมี ครบทั้ง ๑๐ ประการ
โดนเฉพาะอย่างยิง่ ทานบารมี ซึง่ ทรงบริจาคบุตรทารทาน คือ บริจาคพระชาลี
พระกัณ หา และพระนางมัท รี จึ ง เป็ นชาติ ที่ ส าคัญ และยิ่ ง ใหญ่ เรี ย กว่ า
“มหาชาติ” หรือ “มหาเวสสันดรชาดก”

๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดี และวรรณกรรม
๒.๑ การสรรคา
ลัก ษณะเด่น ของวรรณศิ ล ป์ ในเรื่อ งมหาเวสสัน ดรชาดก กัณ ฑ์ ม ท
ั รี
อ ยู่ ที่ ก า ร เ ล่ น เ สี ย ง สั ม ผั ส พ ยั ญ ช น ะ สั ม ผั ส ส ร ะ
และการเล่นคาซา้ ซึง่ มีอยูอ
่ ย่างแพรวพราวตลอดทัง้ กัณฑ์
❖ การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ
มักเกิดจากการใช้พยัญชนะเสียงเดียวกันติดๆ กันหลายคา เช่น
“ก็กลับกลายเป็ นดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร”
“ ส ะ ดุ้ ง พ ร ะ ทั ย ไ ห ว ห ว า ด ว ะ ห วี ด วิ่ ง ว น แ ว ะ เ ข้ า ข้ า ง ท า ง
พระทรวงนางสั่นระรัวริกเต้นดั่งตีปลา”
“ พ ร ะ อ ง ค์ เ ห็ น พิ รุ ธ ร่ อ ง ร อ ย ร้ า ว ร า น ที่ ต ร ง ไ ห น
ทอดพระเนตรสังเกตไว้แต่ปางก่อนจึงเคืองค่อนด้วยคาหยาบยอกใจเจ็ บ
จิตเหลือกาลัง”
“พระพายราเพยพัดมาฉิวเฉื่อย เรไรระรีเ่ รือ ่ ยร้องอยูห ่ ริง่ ๆ”

❖ การเล่นเสียงสระ
“ น า ง ก็ ถึ ง วิ สั ญ ญี ส ล บ ล ง ต ร ง ห น้ า ฉ า น
ปานประหนึ่งว่าพุม ่ ฉัตรทองอันต้องสายอัสนี ฟาขาดระเนนเอนแล้วก็ลม
้ ลงตรง
หน้าพระทีน
่ ่ งั เจ้านัน
้ แล”

❖ สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ
“แม่ยงั กลับหลังมาโลมลูบจูบกระหม่อมจอมเกล้าทัง้ สองรา”
“เจ้าเคยเคียงเรียงหมอนนอนแนบข้างทุกราตรี”
“ โ อ้ แ ม่ อุ้ ม ท้ อ ง ป ร ะ ค อ ง เ คี ย ง เ ลี้ ย ง เ จ้ า ม า ก็ ห ม า ย มั้ ย
สาคัญว่าจะได้อยูเ่ ป็ นเพือ่ นยาก”

❖ การเล่นคาซา้
“ . . . ค ว ร จ ะ ส ง ส า ร เ อ่ ย ด้ ว ย ต้ น ห ว้ า ใ ห ญ่ ใ ก ล้ อ า ร า ม
งามด้วยกิ่งก้านประกวดดกัน ใบชอุ่มประชุมช่อเป็ นฉัตรทอง แสงพระจันทร์
ดัน
้ ส่องต้องน้าค้างทีข ่ งั ให้ไหลลงหย้อย เหมือนหนึ่งน้าพลอยพร้อยๆอยูพ ่ รายๆ
… พระพายราเพยพัดมาฉิวเฉื่อย เรไรระรีเ่ รือ ่ ยร้องอยูห่ ริง่ ๆ”

๒.๒ การเรียบเรียงคา
❖ เรียงข้อความทีบ ่ รรจุสารสาคัญไว้ทา้ ยสุด
“ . . . พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ข้ า
ประหลาดใจกระหม่อมฉันอันสองกุมารไปอยูไ่ หนไม่แจ้งเหตุหรือพากันไปเที่
ย ว ลั บ พ ร ะ เ น ต ร น อ ก ต า แ ห น่ ง
สิงห์สตั ว์ทรี่ า้ ยแรงคะนองฤทธิม ์ าพานพบขบกัดตัดชีวต ิ พระลูกข้าพาไปกินเป็ น
อ า ห า ร ถึ ง ก ร ะ นั้ น ก็ จ ะ พ บ พ า น ซึ่ ง ก เ ล ว ร ะ ร่ า ง
มิเลือดก็เนื้อจะเหลืออยูบ ่ า้ งสักสิง่ อัน แต่พอแม่ได้รส
ู ้ าคัญว่าเป็ นหรือตาย…”
❖ เรียบเรียงประโยคให้เนื้ อหาเข้มข้นขึน ้ ไปตามลาดับแต่คลายความเข้มข้
นลงในช่วง หรือประโยคสุดท้ายอย่างฉับพลัน
“ . . . ด้ ว ย ตั ว ม า น อ น อ ยู่ บ น ตั ก พ ร ะ ร า ช ส า มี มิ บั ง ค ว ร
จึ ง อุ ฏ ฐ า ก า ร โ ด ย ด่ ว น เ ลื่ อ น พ ร ะ อ ง ค์ ล ง จ า ก ตั ก พ ร ะ ร า ช ส า มี
พ ร ะ มั ท รี จึ ง ทู ล ถ า ม ว่ า พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ข้ า
พ ร ะ ลู ก รั ก ทั้ ง ส อ ง ร า ไ ป อ ยู่ ไ ห น น ะ ฝ่ า พ ร ะ บ า ท
ท้ า ว เ ธ อ จึ่ ง ต รั ส ป ร ะ ภ า ษ ว่ า ดู ก ร เ จ้ า มั ท รี
อันสองกุมารนี้พีใ่ ห้เป็ นทานแก่พราหมณ์ แต่วน ั วานนี้แล้ว…”

๒.๓ การพิจารณาการใช้โวหารในวรรณคดีและวรรณกรรม
❖ พรรณนาโวหาร หรือการใช้คาให้เกิดจินตนาการ
“...เหตุไฉนไม้ทีม ่ ีผลเป็ นพุม ่ พวงก็กลับกลายเป็ นดอกดวงเดียรดาษอนา
ถ เ น ต ร แ ถ ว โ น้ น ก็ แ ก้ ว เ ก ด พิ กุ ล แ ก ม กั บ ก า ห ล ง
ถัดนั่นก็สายหยุดประยงค์และยมโดย พระพายพัดก็รว่ งโรยรายดอกลงมูนมอง
แ ม่ ยั ง ไ ด้ เ ก็ บ เ อ า ด อ ก ม า ร้ อ ย ก ร อ ง ไ ป ฝ า ก ลู ก เ มื่ อ วั น ว า น
ก็ เ พี้ ย น ผิ ด พิ ส ด า ร เ ป็ น พ ว ง ผ ล ผิ ด กั ง ว ล แ ต่ ก่ อ น ม า
ทั้ ง แ ป ด ทิ ศ ก็ มื ด มิ มั ว ม น ทุ ก ห น แ ห่ ง
ทัง้ ขอบฟ้ าก็ดาดแดงเป็ นสายเลือดไม่เว้นวายหายเหือดเป็ นลางร้ายไปรอบข้ าง
พระนัย นเนตรก็ พ ร่า งๆ อยู่พ รายพร้อ ย ในจิต ใจของแม่ย งั น้ อ ยอยู่นิ ด เดีย ว
ทัง้ อินทรีย์ก็เสียวๆ สั่นระรัวริก แสรกคานบันดาลพลิกพลัลงจากพระอังสา…”
ผูเ้ ขียนพรรณนาขณะทีน ่ างมัทรีเข้าไปเก็บผลไม้ในป่ าได้เจอแต่สงิ่ ประห
ล า ด ไ ป จึ ง คิ ด ว่ า เ ป็ น ล า ง ร้ า ย จึ ง คิ ด ลู ก น้ อ ย
บทความข้างต้นพรรณนาให้ผอ ู้ า่ นคิดตามและเห็นภาพมากขึน ้

❖ การเปรียบเทียบสิง่ หนึ่งเหมือนกับอีกสิง่ หนึ่ง


“ส่วนสมเด็จพระมัทรีศรีสุนทรบวรราชธิามหาสมมุตวิ งศ์วิสุทธิสืบสันดา
น ม า ท ร ง พ ร ะ พั ก ต ร์ ผิ ว ผ่ อ ง ดุ จ เ นื้ อ ท อ ง ไ ม่ เ ที ย ม สี
มีพระเกียรติยศอันโอฬารลา้ เลิศวิไลลักษณ์ ยอดกษัตริย์…”
บทความข้างต้นกล่าวว่า พระนางมัทรีทเี่ ป็ นราชธิดามหาสมมุตวิ งศ์วส ิ ุทธิ
ไ ด้ สื บ เ ชื้ อ ส า ย มี เ กี ย ร ติ ย ศ ใ ห ญ่ โ ต อั น ล้ า เ ลิ ศ เ ห มื อ น ก ษั ต ริ ย์
มีความศรัทธาปราบปลื้มเคารพนับถือและมีการเปรียบใบหน้าของนางมัทรีทผ ี่ ุ
ดผ่อง สีเหมือนเนื้อทอง

❖ การเปรียบเทียบสิง่ หนึ่งเป็ นอีกสิง่ หนึ่ง


“...ทัง้ ขอบฟ้ าก็ดาดแดงเป็ นสายเลือดไม่เว้นวายหายเหือดเป็ นลางร้ายไ
ปรอบข้าง…”
๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์ หรือคุม ้ ค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
๓.๑ คุณค่าทางการใช้ภาษา
❖ ใช้ถอ ้ ยคาไพเราะ มีการเล่นคา เล่นสัมผัสอักษร มีการใช้โวหารภาพพจน์
แ ล ะ ก า ร พ ร ร ณ น า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม รู ้ สึ ก ที่ ล ะ เ อี ย ด อ่ อ น
รวมทัง้ เกิดจินตภาพชัดเจน
❖ เนื้อหาของกัณฑ์มทั รีแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกบ ั
อ า ร ม ณ์ ค ว า ม รู ้ สึ ก ข อ ง ตั ว ล ะ ค ร ไ ด้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น
จะเห็นได้จากตอนทีเ่ กิดเรือ ่ งร้ายแก่พระนางมัทรีขณะที่หาอาหารอยู่ใน
ป่ า

๓.๒ คุณค่าทางคุณธรรม
❖ ให้แง่คด ิ เกีย่ วกับบทบาทหน้าทีข ่ องผูห้ ญิงในฐานะทีเ่ ป็ นแม่และเป็ นภรร
ยาทีด ่ ี ซึง่ เป็ นสิง่ สาคัญเหนือสิง่ อืน
่ ใด
❖ ม ห า เ ว ส สั น ด ร ช า ด ก กั ณ ฑ์ มั ท รี
สะท้อนแนวคิดสาคัญเกีย่ วกับความรักของแม่ทม ี่ ีตอ่ ลูกอย่างสุดชีวต ิ
❖ ข้อ คิด คติธ รรม ที่ส ามารถน าไปใช้ ใ นชี วิ ต ประจ าวัน ของทุ ก คนได้
เกีย่ วกับการเป็ นคูส ่ ามีภรรยาทีด ่ ี การเสียสละ เป็ นคุณธรรมทีน ่ ่ ายกย่อง
และการบริจาคทาน เป็ นการกระทาทีส ่ มควรได้รบ ั การอนุโมทนา
๓.๓ คุณค่าทางวัฒนธรรม
❖ เ รื่ อ ง พ ร ะ ม ห า เ ว ส สั น ด ร ช า ด ก
เ ป็ น ว ร ร ณ ก ร ร ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ น ส มั ย รั ต น โ ก สิ น ท ร์ ต อ น ต้ น
จึ ง เ ป็ น ภ า พ ส ะ ท้ อ น ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข น บ ธ ร ร ม เ นี ย ม
และค่า นิ ย มของคนในยุ ค นั้น ๆ ได้ดี ว่า มี ก ารซื้ อ ขายบุ ค คลเป็ นทาส
นิยมการบริจาคทานเพือ ่ หวังบรรลุนิพพาน มีความเชือ ่ เรือ
่ งลางบอกเหตุ
เ ชื่ อ เ รื่ อ ง อ า น า จ ข อ ง เ ท พ ย ด า ฟ้ า ดิ น ต่ า ง ๆ น อ ก จ า ก นี้
ยังแสดงภาพชีวต ิ ในชนบทเกีย่ วกับการละเล่นและการเล่นซ่อนหาของเด็
กๆ
บรรณานุกรม

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร , ก ร ะ ท ร ว ง .
หนังสือเรียนรายวิชาภาษาไทยชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ วรรณคดีวจิ กั ษ์
พิมพ์ครัง้ ที่ ๔. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สกสค, ๒๕๕๖. ๑๓๑ หน้า

มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มทั รี (ออนไลน์ ) เข้าเมือ


่ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒
สืบค้นได้จาก
https://sites.google.com/site/wannakadeem5/mha -
wessandr-chadk-kanth-math-ri

วิเ คราะห์ วิจารณ์ มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ม ท


ั รี (ออนไลน์ ) เข้าถึงเมื่อวันที่
๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒
สื บ ค้ น ไ ด้ จ า ก
http://kriengkraiknowledge.blogspot.com/2013/07/blog-
post_13.html

You might also like