You are on page 1of 10

การพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองเครือ

ข่ายเด็กไทยฟั นดี
ดูวยกระบวนการสุนทรีย
ปรัศนี
ที่จังหวัดแพร่และ
สิงห์บุรี
ที่ปรึกษาโครงการ

1
ท.พ.สมนึ ก ชาญด้วยกิจ ที่
ปรึกษากรมอนามัย
ท.พ.อุทัยวรรณ กาญจนกามล ผ้้
อำานวยการสถาบันเสริมสร้างพลังชุมชน
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ส่วนกลาง นางผุสดี จันทร์บาง, ทพญ.วราภรณ์ จิระพงษา,
ทพญ.ปิ ยะดา ประเสริฐสม
จังหวัด สำานั กงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ สำานั กงาน
สาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี
บทนำ า
การดำาเนิ นงานส่งเสริมกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน
เป็ นกระบวนการหนึ่ งที่มุ่งเน้ นให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากดี
เนื่ องจากข้อจำากัดของมีโรงเรียนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่ง จำานวนคร้ท่ีมี
น้ อย ดังนั ้นต้องมีการเปลี่ยนแนวคิด วิธีการทำางานที่ ต้องให้เกิดการมี
ส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องมากขึ้น และผ้้ปกครองก็เป็ นกลุ่ม
เป้ าหมายสำาคัญอีกกลุ่มหนึ่ ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของสุขภาพซึ่งเป็ น
เรื่องที่ต้องได้รับการด้แลอย่างต่อเนื่ องทัง้ ที่โรงเรียนและที่บ้าน
จากการศึกษา วิจัยและพัฒนาร้ปแบบกระบวนการควบคุมการบริโภค
ขนมและอาหารว่างที่มีอันตรายต่อทันตสุขภาพโดยใช้เครือข่ายโรงเรียน
และชุมชน ซึ่งเป็ นการจัดกระบวนการแก้ปัญหาแบบ Whole school
approach ที่มีพ้ืนฐานจากแนวคิดที่ทุกคนเป็ นเจ้าของโรงเรียน สุขภาพ
ของเด็กนั กเรียนเป็ นสิ่งที่ทุกคนต้องร่วมกันรับผิดชอบ ซึ่งการหาแนวทาง
และพัฒนากระบวนการทำางานร่วมกัน ในระยะเวลาสัน ้ ๆที่ผ่านมา พบว่า
สามารถดำาเนิ นการให้คร้และนั กเรียนเข้าใจประเด็นสุขภาพช่องปากและ
เกิดการบ้รณาการในกลุ่มสาระการเรียนร้้ของโรงเรียน และโรงเรียนบาง
แห่งสามารถทำางานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเรื่องที่ให้การ
สนั บสนุนต่อกิจกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาพของนั กเรียนมากขึ้น
อย่างไรก็ตาม ความร่วมมือจากชุมชนนี้คงเป็ นจุดเริ่มต้นที่ร่วมกัน
กำาหนดสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กบ ั เด็ก โดยมีเป้ าหมายเพื่อให้เกิดพฤติกรรม

2
สุขภาพซึ่งเป็ นปั จจัยภายในตัวเด็ก ดังนั ้นองค์กรครอบครัวจึงเป็ นกุญแจ
สำาคัญที่จะทำาให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ยัง่ ยืน
แต่จากการดำาเนิ นงานที่ผ่านมาพบว่าผ้้ปกครองส่วนใหญ่ยังมีทัศนคติ
พึ่งพาให้โรงเรียนเป็ นผ้้จัดการเด็กเป็ นหลัก แม้ว่าในการปฏิรป
้ การศึกษาจะ
ได้ระบุให้มก ี รรมการสถานศึกษาโดยมีผป ้ กครองร่วมเป็ นกรรมการใน
ฐานะ “ผ้ป ้ กครองเครือข่าย” โดยมีวัตถุประสงค์ให้เกิดการทำางานร่วมกัน
ระหว่าง บ้าน-โรงเรียน หากแต่บทบาทของผ้้ปกครองเครือข่ายต่อการ
ทำางานร่วมกับโรงเรียนยังไม่มีความชัดเจน ส่วนใหญ่จะเป็ นการเข้าประชุม
เพื่อรับร้้การทำางานของโรงเรียน หรือร่วมบริจาคให้ตามที่โรงเรียนร้องขอ
เท่านั ้น ทำาให้ขาดความต่อเนื่ องในการด้แลพฤติกรรมการบริโภคของ
เด็กที่บา้ น ในปี 2550 ซึ่งมีแนวคิดที่จะพัฒนาแนวทางการทำางานร่วมกัน
ระหว่างบ้าน โรงเรียน ชุมชน ในการด้แลสุขภาพเด็ก ผ่านการเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งของชุมชนด้วยการ ด้วยการพัฒนาศักยภาพและแนวทางการ
ทำางานเครือข่ายผ้้ปกครอง ร่วมกับโรงเรียน โดยอาศัยสินทรัพย์ของชุมชน
เป็ นฐาน

วัตถุประสงค์ ให้ผ้ปกครองเครือข่าย (สมาชิกพหุภาคี)ในฐานะที่เป็ น


กรรมการสถานศึกษาเกิดความร้้ ความเข้าใจ มีความสามารถด้แลสุขภาพ
เด็ก และสามารถกระจายแนวคิดและกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือจากผ้้
ปกครองและชุมชนในการทำางานแบบพหุภาคี และการสร้างชุมชนเข้ม
แข็ง จนเกิดร้ปแบบและแนวทางในการทำางานส่งเสริมสุขภาพนั กเรียนใน
ชุมชนแบบ “ประสานความคิดเนรมิตสุขภาพโรงเรียน” เพื่อขยายส่้
สุขภาพโดยรวมต่อไป
เปู าหมาย เครือข่าย สนั บสนุนการสร้างเสริมสุขภาพเด็กไทย
ในพื้นที่ 2 จังหวัด คือจังหวัดแพร่(15 โรงเรียน) และจังหวัดสิงห์บรุ ี (10
โรงเรียน) โดยคัดเลือกจากพื้ นที่นำาร่องในแต่ละชุมชนที่ท่ีมีความ
พร้อม ในเงื่อนไขต่อไปนี้ คือ

ก.) เห็นด้วยกับแนวคิดการพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ของ

ชุมชนเป็ นฐาน

3
ข.) สามารถประสานงานระหว่าง ภาคีในท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วน

ร่วมในการพัฒนาชุมชนในมิติทาง
วัฒนธรรมชุมชนได้อาทิ องค์การบริหารท้องถิ่นระดับตำาบล
องค์กรชุมชนและหน่วยงาน
ราชการสนั บสนุ นการพัฒนาชุมชนในส่วนภูมิภาค

ค.) มีความเห็นด้วยในแนวทาง การพัฒนาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม

โดยมีภาคประชาชนเป็ นศูนย์
การพัฒนา
ระยะเวลาดำาเนิ นการ กุมภาพันธ์ - ธันวาคม 2550
วิธีดำาเนิ นงาน เป็ นการต่อยอดกิจกรรมจากโรงเรียนที่มีการ
ดำาเนิ นงานส่งเสริมทันตสุขภาพฝั งตัวแล้วในโรงเรียน ด้วย การพัฒนา
ทีมนวัตรกรสังคมโดยใชูขุมพลังและความสามารถของชุมชนเป็ นฐาน
ประกอบด้วยสมาชิกจาก สมาชิกพหุภาคี (Multi-partnership)ได้แก่ ทัน
ตาภิบาล ผู้นำานั กเรียน ครู ผ้บ
ู ริหารโรงเรียน อาสาสมัคร
สาธารณสุขชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัด ที่อย่้ในพื้นที่ ที่
โรงเรียนตัง้ อย่้ จากจังหวัดแพร่ 90 คน จังหวัดสิงห์บุรี 60 คน เพื่อ
สร้างผ้้นำาการเปลี่ยนแปลงไปส่้สังคมใหม่ท่ีดีกว่าเดิม ซึ่งประกอบด้วย ใน
การขับเคลื่อนชุมชน เพื่อการประสานความคิด เนรมิตสุขภาพนั กเรียน
การพัฒนาทีมนวัตรกร ดำาเนิ นการโดยคณะวิทยากรสถาบัน
เสริมสร้างพลังชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ (จัดประชุม : จังหวัดแพร่ 9-11 พ
ค. 50 จังหวัดสิงห์บุรี 28-30 พค. 50) เริ่มจาก
1. กระบวนการ การสร้างผ้้นำาการเปลี่ยนแปลงหรือทีมนวัตรกร
สังคม (Social Innovator Team) โดยเชื่อว่าด้วยจิตสำานึ กดีท่ีมีต่อ
ชุมชนของตนเอง หากได้รบ ั การส่งเสริมศักยภาพ และกำาหนดบทบาท

4
ใหม่ ให้เป็ นผ้้รบ
ั ใช้ชุมชน เพื่ออำานวยความสะดวกให้ชุมชนเกิดการเรียน
ร้้ และจุดประกายให้ตระหนั ก
ถึงการที่คนในชุมชนมีสุขภาพดี ร่วมกันวางแผนการเรียนร้้ เพื่อนำ าเอา
สินทรัพย์ชุมชนทัง้ ในด้านภ้มิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางสังคม ทุนทาง
เศรษฐกิจ และทุนทางวัฒนธรรม มาก่อให้เกิดคุณค่าทางจิตใจ อันจะ
นำ าไปส่้คุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชน เพราะการเปลี่ยนแปลงของ
ชุมชนอย่างยัง่ ยืนนั ้นควรจะเริ่มต้นจากภายในชุมชนเองเสมอ โดยใช้
กระบวนการสุนทรียสนทนา (Appreciative Inquiry) *
2. การปรับทัศนคติ ให้มองโลกในแง่ดี ทัศนคติท่ีถ้กต้องทำาให้การก
ระทำาถ้กต้อง ความคิดเชิงบวกเป็ นดัง่ แม่เหล็กสำาหรับเหนี่ ยวนำ าผลลัพธ์
ให้ออกมาในทางที่ดี “ ทุกสิ่งดี อย่้ท่ีในใจ (Attitude is everything) “
และสร้างแนวคิดใน การทำางานแบบประชาธิปไตยอย่างมีส่วนร่วม ให้
เกิดการยอมรับความแตกต่างของแต่ละคน มองว่าสมาชิกทุกคน ต่างก็
มีสติปัญญา ความสามารถและพรสวรรค์ด้วยกัน ภายใต้บริบทที่ต่างกัน
เพื่อ การทำางานแบบภาคี สร้างองค์กรของตนเองและสร้างชุมชนเข้มแข็ง
3. การพัฒนาชุมชน โดยอาศัยสินทรัพย์ของชุมชนเป็ นฐาน (Asset
Based Community Development : ABCD ) ด้วย การฝึ กปฏิบัติการ
ศึกษาชุมชนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อค้นหาขุมพลังชุมชน ที่ดี หรือเคยได้ใช้
ผลที่สุดในชุมชนให้เจอแล้วใช้ส่ิงเหล่านั ้นให้เป็ นประโยชน์ในการทำางาน
ร่วมกับชุมชน โดยการการเข้าถึงชุมชนทางบวก และใช้เครื่องมือ
3.1 ใช้แผนที่ เดินดิน (Walking Map) แผนที่ทางมานุษยวิทยา
หรือแผนที่พ้ดได้ ซึ่งมีประโยชน์ ทำาให้ทราบถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ในชุมชน สถานที่สำาคัญในชุมชน เครือข่ายผ้้ทำากิจกรรมชุมชน และวิสัย
ทัศน์ของชุมชน รวมทัง้ แสดงให้เห็นถึงการมีสว่ นร่วมของชุมชน เพราะ
ต้องอาศัยการปฏิสัมพันธ์กับชุมชน ทำาให้มองเห็นภาพรวมของชุมชนได้ดี
รวดเร็วและได้ข้อม้ลมากในระยะเวลาอันสัน ้ โดยมอบหมายให้ทีมงานใน
แต่ละกลุ่มไปเดินสำารวจสิ่งดีๆ ขุมพลัง และสินทรัพย์ของชุมชน ทัง้ ตัว
บุคคล สมาคม เครือข่าย สถาบัน สินทรัพย์ทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม(Community Asset Survey) แล้วนำ ามาเขียนแผนที่เดินดิน
ของแต่ละชุมชน ทำาให้เราเข้าใจ และอธิบายโลกของชาวบ้านได้ชัดเจนมาก
ขึ้น รวมทัง้ จะเห็นภาพเป็ นองค์รวมและเห็นเป้ าหมายชัดขึ้น

5
3.2 การเปิ ดเวทีชาวบ้านด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนร้้ เพื่อ
การขยายความคิด ระหว่างทีมนวัตกรสังคม กับ องค์กรชุมชน
ประชาคม บ้านวัดโรงเรียน ปราชญ์ท้องถิ่น องค์การบริหารท้องถิ่น
ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และ นำ าเสนอ ข้อม้ลการศึกษาชุมชน
3.3 การวิเคราะห์ข้อม้ลและกำาหนดภาพฝั นของชุมชนที่
อยากเห็น หลังจากนั ้นร่วมกันกำาหนดวิสัยทัศน์และออกแบบโครงการ
โดยใช้ขุมพลังและสินทรัพย์ท่ีมีอย่้ในชุมชนนั ้นเข้ามามีส่วนร่วม พร้อมทัง้
กำาหนดบทบาท ภารกิจ ของพหุภาคีท่ีเกี่ยวข้อง นำ าเสนอผล
3.4 ทีมนวัตรกรสังคมกลับไปดำาเนิ นการในชุมชนของตนตาม
แผนที่วางไว้

*เป็ นกระบวนการของการร่วมคิดร่วมทำาดี ใน 4 ขัน


้ ตอน คือ
1. ร่วมค้นพบสิ่งดีแล้วชื่นชม (Discovery)
2. ร่วมถักทอความฝั นอย่างสมศักดิศ
์ รี (Dream)
3. ร่วมออกแบบทำางานอย่างสุนทรียะ (Design)
และ 4. ร่วมสร้างสรรค์ส่ิงดีให้ชุมชน (Destiny)
4. การถอดบทเรียนการประเมินผลระหว่างการดำาเนิ นและการจัดการ
ความร้้อย่างมีส่วนร่วม ที่จังหวัดแพร่ “ ลานถักทอฝั น ร้อยหัวใจ เสริมพลังใจ
โยงสายใยส่้การเรียนร้“้ (18 – 19 กันยายน 2550) โดยทบทวนความฝั นที่
ให้ไว้ต่อกัน ผ่านมา 4 เดือนแล้ว ให้กลุ่มมองหาแต่ในมิติแห่งความเป็ นเลิศ
ในการสร้างเสริมสุขภาพมากกว่าการหาปั ญหา แต่จะแก้ไขให้ดีเมื่อพบสิ่งผิด
ในมุมมองที่หลากหลายจากการปฏิบัติงานของทีมนวัตรกรสังคมทัง้ หลายที่
ร่วมคิด ทำากันเอง อย่างมีชีวิตชีวา ขันอาสาในบรรยากาศแห่งประชาธิปไตย
ผ่านกระบวนการกลุ่ม (คร้ 2 กลุ่ม นั กเรียน 1 กลุ่ม เจ้าหน้ าที่ 1 กลุ่ม) เพื่อ
สะท้อนผลการดำาเนิ นงาน ด้วยคำาถามที่ท้าทาย 5 ประการคือ

6
1.หลังจากที่ทำางานไประยะหนึ่ งแล้ว เกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรขึ้นบ้าง
มองการเปลี่ยนแปลงที่เกิด
ขึ้น 3 มิติคือ ตนเอง
เปลี่ยนแปลง ผ้้อ่ ืนเปลี่ยนแปลง

นักเรียน: นำจักรรักสุขภำพ
และสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง
พบว่า
กลุ่มเด็กนั กเรียนเกิดการ
เปลี่ยนแปลงตัวเองในเรื่องการ

• เด็กไม่กินหวาน
ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ
กลุ่มคร้ ส่วนใหญ่ ทำาให้ผ้
อื่นเปลี่ยน ส่วนตัวเองเปลี่ยน

• สุขภาพดีมีสุข
นิ ดหน่ อย
กลุ่มเจ้าหน้ าที่ ส่วนใหญ่
ทำาให้ผ้อ่ ืนเปลี่ยนส่วนตัวเองก็
ยังไม่แน่ ว่าเปลี่ยนหรือเปล่า

• ฟันไม่ผุ
ทุกกลุ่มทำาให้ส่ิงแวดล้อมเปลี่ยน
นิ ดหน่ อย
2. มีวิธีการอะไรบ้างหรือทำาอะไรไปแล้วบ้างที่เกิดความสำาเร็จ

• อาหารดีมีประโยชน์
วิธีการที่กลุ่มใช้ในการทำางาน มี
3 ร้แบบคือการใช้ความคิด การ
ใช้กลยุทธ์ และการทำากิจกรรม

• พวกเราชอบออกกำาลังกาย
จะเห็นได้ว่า สิ่งที่ทุกกลุ่มทำาคือ

นักเรียน: นำจักรรักสุขภำพ
การดำาเนิ นงานในร้ปแบบของ
การทำากิจกรรมเป็ นส่วนใหญ่

• สุขาสะอาดบรรยากาศน่าใช้
และ ทุกกลุ่มจะมีการใช้กลยุทธ์
ของการทำางานแบบการมีส่วน
ร่วมของภาคีเครือข่าย

• ทำากิจกรรมต่างๆ
3.ใช้ทุนอะไรไปบ้าง

• ความร่วมมือจากทุกภาคส 7
ทุนในการทำางานที่ใช้ไป
นั ้นจะเห็น ว่า
กลุ่มเด็กนั กเรียนไม่มี
ต้นทุนในการดำาเนิ นงาน
ส่วนกลุ่มคร้ และเจ้าหน้ าที่

นักเรียน: นำจักรรักสุขภำพ
จะใช้ทุนทีใช้ กายใจ
ปั ญญาทัง้ ของตนเองและ
คนอื่นทัง้ หมด

คน เงิน
4.ได้เรียนร้้อะไรไปบ้าง :ผลการนำ าเสนอของแต่ละกลุ่ม องค์ความร้้
ในตัวตนที่แสดงออกมาให้เห็นสอดรับกับแนวคิดเรื่องของการส่งเสริมสุข
ภาพ 5 ด้าน คือ
1. Empowerment มีการเอื้ออำานวยเสริมพลังให้ชุมชนได้ใช้ศักยภาพ

ของ
ของตนเองอย่างเต็มที่
2. Public Participation มีการหนุนช่วยให้ชุมชนได้รวมกลุ่มกันทำา
กิจกรรมและเรียนร้้
3. Develop Personal Skills เสริมความร้้ และทักษะชีวิตให้เด็ก
นั กเรียน เรื่อง การไม่กินหวาน การทำาตนให้สุขภาพดี ฟั นไม่ผุ การ
เลือกอาหาร การใช้สุขา
4. Advocate มีการสร้างกระแสในโรงเรียน

ใจปญั ญำ
5. mediate มีการประสานสัมพันธ์ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการ
ทำางานร่วมกัน

5. จะกลับไปทำางาน ต่อหรือไม่ และจะใช้ความร้้ความสามารถไปใช้เป็ นคุณ

กำย
เอื้อ คุณอำานวย คุณก่อกระแส ได้หรือไม่ ในฐานะผ้้นำาการเปลี่ยนแปลง ใน
อนาคต :ทุกเครือข่ายจะกลับไปทำาในพื้นที่ตนเองต่อแน่ นอน ส่วนการเป็ น
ผ้น
้ ำ าการเปลี่ยนแปลงนั ้นพร้อม แต่ก็คงขึ้นกับจังหวะและโอกาสที่จะมีมาใน

8
ภายภาคหน้ า

หมายเหตุ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 2 ส่วน คือของกพว.และคทสส.


และ กำาลังอย้ในระหว่างดำาเนิ นการถอดบทเรียนเพื่อการสังเคราะห์
ความร้้ในเดือน ตค.- พย.

9
50

10

You might also like